กรณ ไม ม ผอ.กองให ใครเป นผ ประเม นเล อนระด บ

จรรยาบรรณ ในการประกอบวิชาชีพ

ที่ปรึกษาคณะทํางาน นายสมศักดิ์ เลศิ บรรณพงษ นายบญุ ชู ปโกฏปิ ระภา

ประธานคณะทาํ งาน นายเกชา ธีระโกเมน คณะทาํ งาน นายอนชุ ิต เจริญศุภกุล นายตลุ ย มณีวฒั นา นางศนั สนีย สุภาภา

1. คํานาํ คนสวนใหญมักจะมองขามความสําคัญของจรรยาบรรณ หรือไมเขาใจวา

จรรยาบรรณคืออะไร โดยมองเร่ืองของจรรยาบรรณเปนนามธรรม รูแตวาเปนคุณสมบัติ ของผูประกอบวิชาชีพ เชน หมอ ทนายความ บัญชี และวิศวกรที่พึงมี เปนเร่ืองของจริย ธรรมและจิตสํานึกในการประกอบวชิ าชพี ทต่ี งั้ อยบู นพื้นฐานของความถูกตอ ง

อันท่ีจริง จรรยาบรรณเปนส่ิงท่ีจับตองได และเปนรูปธรรม รวมท้ังเปนปจจัย พน้ื ฐานสคู วามสาํ เรจ็ ในการประกอบวชิ าชพี

คุณสมบัติของคนๆหน่ึงประกอบดวยสวนที่เปนพ้ืนฐานของคนๆนั้นซึ่งเปนสวนที่ เปนตวั ตน กบั การกระทาํ ซง่ึ เปน สว นท่แี สดงออกมา

คนมักจะมองสวนท่ีแสดงออกมาเน่ืองจากเปนสวนท่ีมองเห็นไดงาย แตความจริง สวนน้ีเปนสวนที่แปรเปลี่ยนอยูตลอดเวลาและไมแนนอน สวนที่เปนตัวตนท่ีแทจริงคือสวน ภายในที่เปนพื้นฐาน เปรียบเสมือนโครงสรางและฐานราก การท่ีจะเปนวิศวกรท่ีดีท่ีมีอนาคต ก็ตองเร่ิมท่ีการมีพ้ืนฐานท่ีดี ซ่ึงการศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาไดใหพ้ืนฐานในสวนของวิชา การวิศวกรรมมาแลว เม่ือออกมาประกอบวิชาชีพจึงตองมีการเสริมความแข็งแรงดวยพื้นฐาน ในการปฏิบัตวิ ชิ าชีพในแนวทางท่ถี ูกตอ ง ซ่ึงมจี รรยาบรรณเปน ปจจยั สําคญั ที่สุด

สังเกตไดวา วิศวกรที่มีความกาวหนาและประสบความสําเร็จในอาชีพทุกคนจะมี คุณสมบตั ิทางดานจรรยาบรรณทีด่ ีเปน พน้ื ฐานดว ยกนั ทกุ คน

2. ขา คอื วิศวกร คําวา “วิศวกร” มิไดนิยามดวยปริญญาบัตร แตนิยามดวยคุณสมบัติและวิญญาณ

ของความเปนวิศวกร ดังนั้น การท่ีจะเปนวิศวกรท่ีดีมิไดอยูที่เกียรตินิยม หากแตอยูที่ความ มุงม่ันท่ีจะเปน วิศวกรทดี่ ี

“ขาคอื วิศวกร” เปนคําปฏญิ าณของวศิ วกรทุกคน ท่ีไดปฏิญาณไวแลวดังน้ี

“ขาฯ มีความภูมิใจอยางยิ่งกับอาชีพของขาฯ แตทั้งนี้มิใชเพราะความ อหังการ ขาฯ มีพันธกรณีท่ีจะตองปฏิบัติตามโดยดุษณี ซึ่งขาฯ เองก็กระหายใครจะปฏิบัติอยู แลว

ในฐานะที่เปนวิศวกร ขาฯ จะเขาไปมีสวนเก่ียวของเฉพาะในงานที่สุจริตเทา นั้น ผูใดก็ตามท่ีมารับบริการจากขาฯ ไมวาจะเปนผูจาง หรือลูกคาของขาฯก็ตาม เขายอมได รับบริการทดี่ ีทสี่ ุด ดวยความซือ่ ตรงเที่ยงธรรมอยางท่ีสดุ

เมื่อถึงคราวที่จําเปน ขาฯ จะทุมเทความรูและทักษะของขาฯใหกับกิจการที่เปน ประโยชนแ กสาธารณะอยางเต็มกําลัง เพราะใครคนใดมีความสามารถพิเศษดานใด เขาคนนั้น ยอมมีพันธกรณีท่ีจะตองใชความสามารถดานนั้นอยางดี เพื่อประโยชนแกมวลมนุษย ขาฯ ขอ รบั ความทา ทายตามนยั นี้

2

ดวยความมุงม่ันท่ีจะธํารงไวซึ่งเกียรติภูมิแหงงานอาชีพของขาฯ ขาฯ จะ พยายามปกปองผลประโยชนและช่ือเสียงของวิศวกรทุกคนท่ีขาฯรูดีวาสมควรจะไดรับความ ปกปองคุมครอง พรอมกันน้ีขาฯ ก็จะไมหลบเล่ียงภาระหนาท่ีที่จะตองเปดเผยความจริงเก่ียว กับบุคคลใดก็ตามที่ไดกระทําผิดทํานองคลองธรรม ซึ่งก็เปนการแสดงใหเห็นวาเขาไมมีศักด์ิ ศรพี อที่จะอยใู นวงงานอาชีพวิศวกรรมได

ความเจริญกาวหนาของมนุษยไดเร่ิมมีมาต้ังแตสมัยดึกดําบรรพก็เพราะอัจฉริยะ ภาพของบรรพชนในวงงานอาชีพของขาฯ ทานเหลาน้ันไดนําทรัพยากรวัสดุและพลังงานมาก มายในธรรมชาติ ออกมาใชใหเกิดประโยชนแกเพ่ือนมนุษยดวยกัน หลักการทางวิทยาศาสตร และความรูทางเทคโนโลยีท่ีไดมีการพัฒนา และนํามาปฏิบัติตราบเทาทุกวันนี้ ก็ลวนแตเปนผล งานของบรรพชนทั้งหลายเหลาน้ัน ถาปราศจากมรดกตกทอดท่ีเปนประสบการณส่ังสมเหลาน้ี ผลงานจากความเพียรพยายามของขาฯ ก็คงจะตํ่าตอยดอยคุณคาลงไปมาก ขาฯ จึงขออุทิศตน เพ่ือการเผยแพรความรูทางวิศวกรรมโดยเฉพาะอยางย่ิงในการแนะนําสั่งสอน ใหสมาชิกรุน หลังๆ ในวงงานอาชีพของขาฯ ไดเรียนรูถึงศิลปะและขนบธรรมเนียมประเพณีทุกอยางในงาน อาชพี นี้

ขาฯ ขอใหคํามั่นสัญญาตอเพ่ือนรวมอาชีพของขาฯ อยางแข็งขัน เชนเดียวกับที่ ขา ฯ เรียกรองจากพวกเขาวา ขาฯ จะดํารงไวซ่ึงความซ่ือสัตยสุจริต และยุติธรรม ความอดทน และความเคารพตอผูอื่นอีกท้ังการอุทิศตนเพ่ือมาตรฐานและศักด์ิศรีแหงอาชีพวิศวกรรมของ เรา ท้ังน้ีดวยการระลึกอยูเสมอวาความเชี่ยวชาญพิเศษของพวกเราท่ีเปนวิศวกรนั้น มีมา พรอ มกบั พันธกรณีท่จี ะตอ งรับใชมนุษยชาติ ดวยความจริงใจถึงทสี่ ดุ ”

คําปฏิญาณน้ีสื่อความหมายถึงความมุงมั่น ความรักในอาชีพและศักด์ิศรีของ วิศวกร หนาที่และความรับผิดชอบของวิศวกรตอการพัฒนาวิศวกรรม ตอสังคมและประเทศ ชาติโดยรวม

วิศวกรท่ีจะประสบความสําเร็จในวิชาชีพวิศวกรรม จะตองมีความภูมิใจใน ความเปนวิศวกร มีความมุงม่ันและรักในอาชีพอยางแรงกลา เพราะจะเปนแรงผลักดันให วิศวกรคนนั้น ขวนขวายเพ่ือพัฒนาตนเองใหเปนวิศวกรที่ดี วิศวกรทุกคนจะตองตอบตนเอง ใหไดวาเปาหมายในชีวติ ของตนเองคืออะไร เพราะเม่อื ไรทย่ี ังลังเลหรอื ไมแนใจวาจะยึดอาชีพ นี้หรอื ไม กจ็ ะไมม ีทางทจ่ี ะเปน วิศวกรทป่ี ระสบความสําเร็จได

3. ศลี ของวศิ วกร จรรยาบรรณคือ “ศีลของวศิ วกร” จรรยาบรรณคือ “กติกา” รว มกันของสังคมวิศวกรรม ท่ีกําหนดข้ึนเพื่อใชเปนแนว

ทางปฏบิ ตั ิรว มกัน ซง่ึ อยบู นหลกั การของจรยิ ธรรมและความถกู ตอง

3

หากนําไปเทียบกับหลักทางพุทธศาสนา จะพบวาหลักการแหงจริยธรรมและความ ถูกตองน้ันสอดคลองกันเปนอยางยิ่ง แมกระท่ังวิชาการทางดานวิศวกรรมเองก็อยูบนหลักการ ของเหตุและผลเฉกเชน กนั

หลักของ “กฎแหงกรรม” ก็เหมือนกับหลักกิริยาเทากับปฏิกิริยา ซ่ึงเปนทฤษฎี หลักทางดานวิศวกรรม และนําไปสูขอสรุปท่ีวา “บุญกรรมน้ันมีจริง” ซ่ึงเปนขอสรุปท่ีไม ตองการพิสูจนอีกแลว ดังนั้น การสรางสรรคผลงานท่ีดีจะนํามาสูช่ือเสียง และความสําเร็จใน อาชีพ การนําเสนองาน และเล่ือนระดับวิศวกร การสมัครงาน ตองอาศัยผลงาน ผลงานก็คือ กรรมที่ทําไว หากทํากรรมดีก็ยอมไดรับผลท่ีดีตามมา ตัวอยางพอจะเห็นและจับตองได การ สอนงาน การเขียนหนังสือเพ่ือถายทอดวิทยาการ ก็เปนการทําบุญ ถึงแมวาจะจับตองไดยาก แตเชอื่ เถิดวา จะสงผลใหน าํ ไปสคู วามเจริญท้งั ส้ิน

4. คุณคา ของวศิ วกร “คุณคา ของวศิ วกรอยทู ่ไี หน” คําตอบก็คอื “การยอมรบั ทางสงั คม”

ความจรงิ วิศวกรมีเงินเดือนสูงกวาหลายอาชพี อยูแลว หากสามารถสรางการยอม รับและความเช่ือม่ันวาวิศวกรมีความสามารถ มีฝมือไมแพวิศวกรในระดับนานาชาติ เชน วิศวกรไทยท่มี คี วามสามารถไปทาํ งานในตา งประเทศก็สามารถสรางรายไดท ีส่ งู ได

การท่ีคาตัววิศวกรฝรั่งสูงกวาวิศวกรไทย ก็เพราะความเชื่อที่วาวิศวกรฝร่ังเกง มี มาตรฐานการทํางานที่ดี เปนมืออาชีพกวาวิศวกรไทย ความเช่ือน้ีถึงจะไมเปนจริงเสียทีเดียว แตโดยภาพรวมก็ตองยอมรับวาวิศวกรไทยสวนใหญยังไมใชวิศวกรระดับวิศวกรขามชาติ ยัง ไมเปนมืออาชีพ ไมใชนักวางแผนท่ีดี วิศวกรไทยจํานวนมากยังออนเร่ืองการทํางานเปน ระบบ การใชมาตรฐาน การใชภาษา การนําเสนอ การจัดทํารายงาน แมกระทั่งการทําบันทึก งาน

ประสบการณจากการสอบสัมภาษณวิศวกรที่ขอเล่ือนระดับจากภาคีเปนสามัญ วิศวกร พบวา ยังมีปญหาในการเขียนรายงานประวัติผลงาน การพัฒนาประสบการณ ทักษะ ทางดานชา ง และสวนใหญยงั ไมเขาใจการใชมาตรฐาน บางคนไมรูจกั มาตรฐานของวิศวกรรม สถานแหงประเทศไทย ไมร ูจกั มาตรฐานสากล ไมเ คยเปนสมาชกิ สมาคมวิชาชพี

การเปน สมาชกิ สมาคมวิชาชีพคอื การข้ึนทะเบยี นเปนวิศวกรมืออาชพี โดยการ เปนสมาชิกสมาคมวิชาชีพในสายอาชีพท่ีตรงกับอาชีพที่ปฏิบัติ เพื่อใชสมาคมวิชาชีพเปน ศูนยก ลางของการสมานความรว มมือของผูป ระกอบอาชพี ในสายอาชพี และพฒั นายกระดับ มาตรฐานวิชาชีพใหสูงขึ้น การเปนสมาชิกสมาคมวิชาชีพไมใชเปนโดยมีจุดประสงคเพื่อ ตองการผลประโยชนตอบแทนตางๆ และสวนลดจากสมาคม แตทุกคนมีหนาที่เปนสมาชิก ที่มีหนาที่ในการชวยกันพัฒนาสมาคมใหเขมแข็ง เพื่อใชเปนองคกรในการพัฒนาวิชาชีพ และรักษาประโยชนอนั พึงมีของอาชพี วศิ วกรไทย

4

การทดสอบวิศวกรเพ่ือเลื่อนระดับจากภาคีเปนสามัญวิศวกร จะเนนการทดสอบ ทักษะและประสบการณ ไมเนนการคํานวณทางทฤษฎี เพราะสามัญวิศวกรแตกตางจากภาคี วิศวกรท่ีทักษะและประสบการณ ความรูที่เก่ียวกับการปฏิบัติและมาตรฐาน เพ่ือใหสามารถ เปนผูทําหนาที่ดูแลและควบคุมการปฏิบัติงานของภาคีวิศวกร สวนวุฒิวิศวกรจะตองมีวุฒิ ภาวะในการใหการปรึกษาละการแนะนําในการแกปญหาในแนวทางที่ถูกตอง เปนธรรม และ อยบู นหลกั การของจรรยาบรรณ

ดังนั้น คุณคาของวิศวกรอยูที่การยอมรับทางสังคม อยูที่ความสามารถใน การสรางการยอมรับ และระดบั ของการยอมรับ

5. ขอ บังคับสภาวศิ วกร

ตนแบบของขอ กําหนดจรรยา บรรณนาจะมาจาก พระเจรญิ วิศวกรรม ดงั น้ี

จะเหน็ ไดวา สิ่งทพี่ ระเจริญ วิศวกรรมไดเขียนไวค รอบคลมุ คณุ สมบตั ิอนั พึงมขี องวิศวกรทดี่ ไี วอยาง ครบถว น

ขอบังคับสภาวิศวกร วา ดวยจรรยาบรรณแหงวิชาชีพวิศวกรรม และการประพฤติผิดจรรยาบรรณอันจะนํามาซึ่งความเสื่อมเสียเกียรติศักดิ์แหงวิชาชีพ พ.ศ. ๒๕๔๓ ไดกําหนดจรรยาบรรณแหงวิชาชีพของผูประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม ดังตอไป น้ี

1. ไมกระทําการใดๆ อนั อาจนาํ มาซึ่งความเสื่อมเสียเกียรติศกั ด์ิแหง วชิ าชีพ บทบัญญัติในขอน้ีเปนกฎเกณฑท่ีมีลักษณะกวางเพ่ือใหครอบคลุมพฤติกรรม

หรือลักษณะการประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมของวิศวกรผูไดรับใบอนุญาตใหต้ังอยูบน พนื้ ฐานของความซื่อสัตยส ุจรติ ยดึ ม่นั อยใู นหลักศีลธรรมอันดี มคี วามภาคภมู ใิ จในเกียรติศกั ดิ์ แหง วิชาชีพของตนเอง

5

2. ตอ งปฏบิ ัตงิ านทไี่ ดรับทําอยางถูกตองตามหลกั ปฏบิ ตั ิและวิชาการ บทบัญญัติในขอน้ีมีวัตถุประสงคในการควบคุมใหผูประกอบวิชาชีพวิศวกรรม

ควบคุมท่ีไดรับใบอนุญาตจากสภาวิศวกร ตองรับผิดชอบในผลการปฏิบัติหนาที่ใหถูกตอง ตามหลักปฏิบัติและวิชาการ โดยจะตองศึกษาถึงหลักเกณฑของงานวิศวกรรม และหลัก เกณฑของกฎหมายตางๆ ที่เกี่ยวของกับการประกอบวิชาชีพ เชน กฎหมายควบคุมอาคาร กฎหมายเกีย่ วกบั การควบคุมความปลอดภยั ในการทาํ งานสาขาตางๆ เปน ตน

กรณีศึกษา 1 วิศวกร ด ไดรับใบอนุญาตระดับภาคีวิศวกร สาขาวิศวกรรม โยธา ไดรับจางทําการปรับปรุงและตอเติมอาคารพาณิชย 4 ช้ัน โดยมิไดมีการย่ืนขออนุญาต ดดั แปลงอาคารกบั เจา พนักงานทองถ่ิน ระหวางกอสรา งผวู า จางไดขอแกไ ขเปลยี่ นแปลงงาน เพ่ิมเติมนอกเหนือจากที่ปรากฏในสัญญาดวยวาจา มิไดทําเปนลายลักษณอักษร เชน เพิ่ม งานตอเติมหลังคา และสรางหองน้ําเพิ่มในชั้นบนสุด โดยวิศวกร ด ไดทําการฝงทอขนาด 4 นว้ิ ต้ังแตช้ัน 4 ลงมาจนถึงชั้นลางสุดไวกอ นต้ังแตขณะเรมิ่ ทําการกอ สราง และภายหลังไดทํา การสกัดบรเิ วณพ้ืนผิวคานรอบทอท่ีฝงไวเ พ่ือตอเช่ือมทอ แตผูวาจางเขาใจวา วิศวกร ด ไดทํา การเจาะคานเพื่อจะฝงทอ คณะกรรมการจรรยาบรรณพิจารณาแลว เห็นวาวิศวกร ด ทําการ ออกแบบคํานวณตามขั้นตอน ประกอบกับทําการฝงทอระบายนํ้าขนาด 4 น้ิวไวกอนขณะกอ สราง ถือวาเปนการปฏิบัติงานท่ีถูกตองตามหลักปฏิบัติและวิชาการแลว แตการท่ีวิศวกร ด เขารับทํางานโดยทราบกอนแลววาอาคารดังกลาวไมสามารถย่ืนขออนุญาตแกไขดัดแปลงให ถูกตองตามพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 ได แตก็ยังรับทํางานน้ี ถือวาเปนการ สนับสนุนใหมีการทําผิดกฎหมาย จึงเห็นสมควรใหลงโทษพักใชใบอนุญาตของวิศวกร ด มี กาํ หนดระยะเวลา 6 เดอื น

(คําวินจิ ฉัยคณะกรรมการจรรยาบรรณที่ 9/2548 ลงวนั ท่ี 25 เมษายน 2548)

กรณีศึกษา 2 วิศวกร จ ไดรับใบอนุญาตระดับภาคีวิศวกร สาขาวิศวกรรม โยธา ไดรับควบคุมงานกอสรางอาคารพักอาศัย 5 ช้ัน ระหวางการกอสรางวิศวกร จ ไดตรวจ สอบพบวามีการกอสรางพื้นปดชองเปดบริเวณ Grid line 4-6 ในช้ัน 2 โดยวางพ้ืนสําเร็จรูป และเทคอนกรีตทับหนาปดชองเปดดังกลาว จึงไดมีหนังสือถึงเจาของอาคารใหทําการร้ือถอน พืน้ ในบรเิ วณดงั กลา วออก แตเ จา ของอาคารไมด าํ เนินการ จึงไดท ําหนงั สอื ฉบับท่ี 2 ใหท าํ การ แกไขโดยเร็ว หากเจาของอาคารยังคงเพิกเฉย ขอยกเลิกออกจากการเปนผูควบคุมงาน คณะ กรรมการจรรยาบรรณพิจารณาแลวเห็นวาวิศวกร จ ไดประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมถูก ตองตามหลักปฏบิ ัติและวชิ าการแลว เนื่องจากเมือ่ พบวามีการกอ สรางอาคารผิดไปจากแบบที่ ไดรับอนุญาต ก็ไดมีหนังสือแจงใหเจาของอาคารทําการแกไขใหถูกตองถึง 2 คร้ัง และขอยก เลกิ ออกจากการเปนผูควบคุมงาน แตเน่อื งจากตามพระราชบัญญัตคิ วบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 กําหนดไววาหากผูควบคุมงานมีความประสงคจะบอกเลิกการเปนผูควบคุมงาน ใหมีหนังสือ

6

แจงใหเจาพนักงานทองถิ่นทราบ จึงเห็นสมควรใหตักเตือนวิศวกร จ ใหใชความระมัดระวังใน การประกอบวชิ าชพี วิศวกรรมควบคมุ ใหค รบถว นถูกตองตามกฎหมาย

(คําวนิ ิจฉยั คณะกรรมการจรรยาบรรณท่ี 6/2548 ลงวนั ท่ี 28 กมุ ภาพันธ 2548)

กรณีศึกษา 3 วิศวกร ส ไดรับใบอนุญาตระดับภาคีวิศวกร สาขาวิศวกรรม โยธา ไดรบั งานออกแบบคํานวณอาคารพักอาศัยสองชั้น จํานวน 29 หลงั ในโครงการหมูบาน น โดยมีนาย บ ซ่ึงมใิ ชวิศวกรเปนผูควบคุมงาน ตอ มาเจา ของกรรมสทิ ธิบ์ านหลังหนึ่งไดตรวจ สอบพบวาการกอสรางมิไดเปนไปตามแบบแปลนที่ไดรับอนุญาต จึงไดรองเรียนไปยังเจา พนักงานทองถ่ิน ปรากฏวาวิศวกร ส ไดทําการรวมมือกับบริษัทเจาของโครงการ ย่ืนเรื่องขอ อนุญาตดัดแปลงอาคารดังกลาวยอนหลัง โดยทําการแกไขแบบและรายการคํานวณใหมให ตรงกับท่ีไดมีการกอสรางจริง คณะกรรมการจรรยาบรรณพิจารณาแลวเห็นวาวิศวกร ส ใน ฐานะผูออกแบบคํานวณ เมื่อทราบเร่ืองการกอสรางไมเปนไปตามแบบแปลนที่ไดรับอนุญาต ควรแจงใหเจาพนักงานทองถิ่นทราบ แตกลับเพิกเฉยไมดําเนินการแตอยางใด ประกอบกับ แบบแปลนและรายการคํานวณไมถูกตองตามหลักปฏิบัติและวิชาการ จึงใหลงโทษพักใชใบ อนุญาตของวิศวกร ส มีกําหนดระยะเวลา 1 ป และทําหนังสือตักเตือนเพื่อใหมีจิตสํานึกและ คุณธรรมในการประกอบวิชาชีพใหม ากกวาเดิม

(คาํ วินจิ ฉยั คณะกรรมการจรรยาบรรณท่ี 14/2548 ลงวนั ท่ี 3 พฤศจกิ ายน 2548)

กรณีศึกษา 4 วศิ วกร ม ไดรับใบอนุญาตระดับสามัญ สาขาวิศวกรรมเหมืองแร ไดทําการควบคุมการทําเหมืองแรในเขตประทานบัตรติดตอกัน 2 แปลง โดยทําการเปดหนา ดนิ และผลติ แร ไปกอ นที่จะไดรับหนงั สอื อนญุ าตแผวถางปา จากกรมปาไม และใบอนุญาตใหมี ใช และขนยา ยวัตถรุ ะเบิดจากกระทรวงมหาดไทย ประกอบกับบอ เหมอื งมีลกั ษณะคอนขางสูง ชัน ไมมีการทําบอเหมืองเปนข้ันบันได คณะกรรมการจรรยาบรรณพิจารณาแลวเห็นวา จาก การไปตรวจสอบพื้นท่ีประทานบัตรของประธานอนุกรรมการไตสวน ปรากฏขอเท็จจริงวามี การลวงล้ําเขาไปเปดเหมืองในเขตประทานบัตรท้ังสองจริงเน่ืองจากเปนแนวเขตติดตอกัน และมีการเปดบอเหมืองในลักษณะท่ีไมปลอดภัย เห็นไดวาวิศวกร ม ไดละเลยไมเอาใจใสเทา ท่ีควรในเรื่องของการรกั ษาแนวเขตเหมืองแร ซ่ึงเปนเง่ือนไขสําคัญในโครงการทําเหมือง และ มีความบกพรองในการปฏิบัติงานใหถูกตองตามหลักวิชาการ จึงใหลงโทษภาคทัณฑวิศวกร ม โดยมกี ําหนดระยะเวลา 3 ป

(คําวนิ ิจฉัยคณะกรรมการจรรยาบรรณท่ี 3/2548 ลงวันที่ 24 มกราคม 2548)

กรณีศึกษา 5 วิศวกร อ ไดรับใบอนุญาตระดับสามัญวิศวกร สาขาวิศวกรรม เคร่ืองกล ไดลงชอ่ื รับรองความปลอดภัยในการใชหมอไอน้ําของโรงงาน บ. แตมีพยานยนื ยัน วามิไดไปทําการตรวจหมอไอนํ้าจริง ซ่ึงวิศวกร อ ไดอธิบายลักษณะของหมอไอน้ํา ข้ันตอน

7

วิธีการ และเคร่ืองมือที่ใชในการตรวจสอบสับสนขัดกันเอง และไมสามารถอธิบายถึงสาเหตุ การระเบิดของหมอไอนํ้า ซึ่งสงผลใหมีผูเสียชีวิตได กรณีน้ีถือวาวิศวกร อ ขาดความรูความ สามารถในการตรวจทดสอบหมอ ไอน้ําใหถูกตองตามหลกั ปฏิบัติและวิชาการ วิศวกร อ จึงถูก ลงโทษพักใชใ บอนุญาตประกอบวิชาชพี วศิ วกรรมควบคุมมกี ําหนดเวลา 5 ป

(คาํ วินิจฉัยคณะกรรมการจรรยาบรรณที่ 1/2546 ลงวนั ที่ 20 กุมภาพันธ 2546)

กรณีศึกษา 6 วิศวกร ส ไดรับใบอนุญาตระดับสามัญวิศวกร สาขาวิศวกรรม เคร่ืองกล ไดรับการวาจางใหทําการตรวจทดสอบหมอไอนํ้าของโรงงานบริษัท ท โดยไดลง ลายมือช่ือรับรองความปลอดภัยในการใชหมอไอนํ้า แตเมื่อเจาหนาที่กรมโรงงานอุตสาห กรรมไดทําการตรวจสอบความถูกตองของการตรวจทดสอบความปลอดภัยในการใชหมอไอ น้ํา พบวาวิศวกร ส ไมไดทําการตรวจทดสอบสภาพหมอไอนํ้าดวยการอัดนํ้า (Hydrostatic Test) จริงตามที่รับรองมาแตอยางใด ซ่ึงวิศวกร ส ไดรับสารภาพกับคณะกรรมการ จรรยาบรรณวา ไมไดท ําการตรวจทดสอบสภาพหมอไอนํ้าดวยการอัดนา้ํ เนือ่ งจากเจาหนาที่ โรงงานไมไดหยุดการใชหมอไอนํ้าและถายเทความรอนไวกอนลวงหนา 24 ชั่วโมง ขณะไป ตรวจหมอไอนํ้าจึงยังคงรอนอยู ทําใหไมสามารถเขาไปตรวจสอบภายในได การกระทําของ วิศวกร ส เปนการปฏิบัติงานท่ีไมถูกตองตามหลักปฏิบัติและวิชาการ แตไดรับการลดโทษกึ่ง หนึ่ง เนื่องจากใหการรับสารภาพอันเปนประโยชนตอการไตสวนจรรยาบรรณ ประกอบกับ หมอไอน้ําดังกลาว ยังไมไดเกิดความเสียหายอันจะกอใหเกิดอันตรายตอสาธารณชนได วศิ วกร ส จึงถูกลงโทษพกั ใชใ บอนุญาตประกอบวิชาชพี วิศวกรรมควบคุม มีกําหนดเวลา 1 ป

(คาํ วินจิ ฉยั คณะกรรมการจรรยาบรรณท่ี 4/2546 ลงวนั ที่ 12 พฤษภาคม 2546)

กรณีศึกษา 7 วิศวกร ข ไดรับใบอนุญาตระดับวุฒิวิศวกร สาขาวิศวกรรมโยธา ไดรับการวาจางใหทําการสํารวจความเสียหายและใหคําแนะนําแกไข อาคารทาวเฮาส 3 ชั้น ซึ่งเกิดการทรุดตัวและแตกราว ในโครงการหน่ึง โดยวิศวกร ข ไดไปทําการสํารวจเฉพาะ อาคารที่ไดรับการวาจาง แตมิไดเขาไปสํารวจอาคารขางเคียง และสภาพแวดลอมของบริเวณ ใกลเคียง ประกอบกับมิไดนําผลการตรวจสอบสภาพช้ันดินซ่ึงอยูในความครอบครองของ บริษัทท่ีวิศวกร ข ทํางานอยูมาใชประกอบการพิจารณาแตกลับนําขอมูลของวิศวกรผูออก แบบอาคารเดิมท่ีเกิดเหตุมาใช ซ่ึงขอมูลการออกแบบเดิมนั้น คาสวนความปลอดภัยไมผาน เกณฑมาตรฐาน ตอมาวิศวกร ข ไดทําหนังสือใหความเห็นวาความเสียหายเกิดจากการตอ เติมอาคารของบานขางเคียงซึ่งมีโครงสรางเชื่อมตอกัน ทําใหเกิดการฉุดรั้งจากการทรุดตัว ของฐานราก การกระทําของวิศวกร ข เปนการปฏิบัติงานที่ไมถูกตองตามหลักปฏิบัติและวิชา การ จึงถูกลงโทษพักใชใบอนุญาตประกอบวิชาชพี วศิ วกรรมควบคุมมีกาํ หนดเวลา 2 ป

(คาํ วนิ ิจฉัยคณะกรรมการจรรยาบรรณท่ี 11/2547 ลงวนั ที่ 22 พฤศจกิ ายน 2547)

8

กรณีศึกษา 8 วิศวกร ม ไดรับใบอนุญาตระดับวุฒิวิศวกร สาขาวิศวกรรมโยธา ไดร ับออกแบบปา ยโฆษณาโดยมีความสงู 22 เมตร ยาว 31.5 เมตร ขนาด 1,024 ตารางเมตร จํานวน 2 ปาย หางกัน 4 เมตร แตในการกอสรางจริงเหลือเพียงหนึ่งปายมีความสูง 47 เมตร ยาว 82 เมตร ขนาด 3854 ตารางเมตร ซึ่งไมเปนไปตามแบบท่ีไดรับอนุญาต โดยมี วศิ วกร ร เปนผคู วบคุมงาน ตอมาปายโฆษณาดังกลาวไดลม ลงทับดาดฟาอาคารขางเคียง เปนเหตุใหมีผูเสียชีวิตและบาดเจ็บ หลายราย จากการตรวจสอบพบวาสาเหตุเกิดจากการกอ สรางท่ีไมเปนไปตามแบบ แตเ มือ่ คณะกรรมการจรรยาบรรณพิจารณาแบบแปลนแลว พบขอ บกพรองรายละเอียดของแบบ (Detail Drawing) ในเร่ืองการเช่ือมโครงสรางตามแบบ ซึ่ง วิศวกร ม ไดออกแบบใหใชวิธีการเชื่อมรอยตอทุกจุดแตมิไดระบุรายละเอียดวิธีการเช่ือมตอ ของเหล็กโครงสรางไวในแบบ และเมื่อสรางจริงกลับใชวิธีการใสสลักเกลียว อันเปนความ ประมาทเลินเลอท่ีไมตรวจสอบแบบใหถูกตองกอนลงลายมือชื่อ จึงใหทําหนังสือตักเตือน วิศวกร ม ใหใชความระมัดระวังในการประกอบวิชาชีพใหมากขึ้นกวาเดิม สวนวิศวกร ร ผูคุม งาน ไดขอเท็จจริงวาไมไ ดม ีสวนเก่ียวของกับการควบคุมงานกอสรา งปายโฆษณา เนื่องจากมี ผลการตรวจสอบลายมือชื่อจากกองพิสูจนหลักฐาน สํานักงานตํารวจแหงชาติ วามีการปลอม ลายมอื ชือ่ ของวิศวกร ร จรงิ จึงใหยกขอกลา วหาวิศวกร ร

(คาํ วินิจฉยั คณะกรรมการจรรยาบรรณท่ี 8/2546 ลงวนั ที่ 14 สิงหาคม 2546)

3. ตองประกอบวิชาชพี วศิ วกรรมควบคมุ ดวยความซ่ือสตั ยส ุจริต บทบัญญัติในขอนี้มีวัตถุประสงคเพ่ือใหผูประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม ตอง

ประกอบวิชาชีพดวยความซ่ือสัตยสุจริต เพื่อเปนการสงเสริมมิใหเกิดความเสียหายแกผูอื่น หากเปนกรณีที่มิใชเร่ืองเกี่ยวกับการประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม แตผูประกอบวิชาชีพ ไดกระทําการใดๆ อยางไมซ่ือสัตยสุจริตตอผูอ่ืน และไตสวนแลวเห็นวามีความผิดจรงิ อาจลง โทษโดยไมใชบทบัญญัตินี้ แตไปใชบทบัญญัติตามขอ 1 คือกระทําการใดๆอันอาจนํามาซึ่ง ความเสื่อมเสยี เกียรตศิ ักดแิ์ หง วิชาชีพแทนได

กรณีศึกษา 1 วิศวกร พ ไดร ับใบอนญุ าตระดบั ภาคี สาขาวิศวกรรมโยธา ไดร ับ เปนผูประสานงานหาผูออกแบบและควบคุมงานกอสรางอาคารสูง 7 ช้ันใหกับผูวาจางใน หลายโครงการ ปรากฏวามีการปลอมลายมือช่ือของวิศวกรผูออกแบบและควบคุมงาน โดย วศิ วกรที่ถกู ปลอมลายมือช่ือน้ันไดเสียชีวิตไปแลวจาํ นวน 2 ราย และยังมชี ีวติ อยูแ ตม ิไดรูเห็น เก่ียวกับการกอสรางดังกลาวอีก 1 ราย โดยในแบบแปลนท่ีไดรับอนุญาตปรากฏลายมือชื่อ วิศวกร พ เปน ผูออกแบบรวมกบั วศิ วกรทไ่ี ดเ สียชวี ิตไปแลว และไดลงลายมอื ชือ่ เปนผูควบคุม งานในการกอสรางอาคารแหงหนึ่งท้ังๆ ที่วิศวกร พ ทํางานรับราชการอยูในหนวยงานราช การ อันเปนการพนวิสัยท่ีจะมาทําการควบคุมงานกอสรางได และจากการพิจารณาไตสวน วิศวกร พ ยอมรับวาไดจายเงินจํานวน 70000 บาท ใหกับเจาพนักงานทองถ่ินเพ่ือเปนคา ตอบแทนในการออกใบอนุญาตใหภายใน 3 วันนับแตวันยื่นขออนุญาต อันเปนการสนับสนุน

9

ใหเจาหนาท่ีกระทําผิดกฎหมาย คณะกรรมการจรรยาบรรณพิจารณาแลว เห็นวาวิศวกร พ ในฐานะผูประสานงาน ยอมไมอาจปฏิเสธวาไมมีสวนรูเห็นเกี่ยวกับการกระทําความผิดดัง กลาวได ประกอบกับภายหลงั ไดขอถอนตวั ออกจากการเปน ผคู วบคมุ งาน โดยอางวาไมอยาก เขาไปมีสวนเก่ียวของกับการกอสรางอาคารผิดแบบของเจาของอาคารน้ัน รับฟงไมได เน่ือง จากกอนเขารับงาน วิศวกร พ ทราบแลววาเจาของอาคารไดทําการกอสรางไปกอนที่จะไดรับ อนุญาต แตก็ยินยอมเขาไปรับดําเนินการเปนผูติดตอประสานงานหาผูออกแบบ ผูควบคุม งาน และประสานงานในการยื่นขอรบั ใบอนุญาตเพ่อื ใหการกอ สรางอาคารดงั กลา วถูกตอ งตาม กฎหมาย อันเปนการผิดวิสัยของบุคคลซงึ่ อยูในฐานะเปน ขาราชการจะกระทาํ กนั และเมื่อเกิด การขัดแยง กบั เจาของอาคาร ก็ยังไดดําเนินการใหผูควบคมุ งานทีต่ นจัดหามานน้ั ถอนตัวออก จากการเปนผูควบคุมงานทั้งหมด ซ่ึงผูเก่ียวของแตละรายก็ยอมรับวาเคยรูจักและบางรายได รับการติดตอกับวิศวกร พ มากอน กรณีน้ีเห็นวาวิศวกร พ ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมโดยไม สุจริต จงึ ใหล งโทษเพกิ ถอนใบอนญุ าตของวศิ วกร พ

(คําวินจิ ฉัยคณะกรรมการจรรยาบรรณท่ี 1/2548 ลงวันที่ 24 มกราคม 2548)

กรณี ศึกษา 2 วิศวกร ป ไดรับใบอนุญาตระดับภาคีวิศวกร สาขา วิศวกรรมโยธา ไดลงลายมือชื่อรับรองสําเนาความถูกตองของเอกสารใบอนุญาตประกอบวิชา ชีพวิศวกรรมควบคุมแทนวิศวกรอื่นซึ่งทํางานรวมกันโดยพลการ และไดนําเอกสารดังกลาว ไปยื่นประกอบการประมูลงานของหนวยงานราชการ การกระทําของวิศวกร ป เปนการ ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมโดยไมส ุจริต แตเนื่องจากวศิ วกร ป ใหการรับสารภาพและ ใหการอันเปนประโยชนตอการพิจารณาไตสวน จรรยาบรรณ คณะกรรมการจรรยาบรรณจึง ลดหยอนโทษให วิศวกร ป ถูกลงโทษพักใชใบอนุญาตประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม มี กาํ หนดเวลา 2 ป

(คาํ วนิ จิ ฉยั คณะกรรมการจรรยาบรรณที่ 12/2547 ลงวนั ท่ี 20 ธันวาคม 2547)

4. ไมใชอํานาจหนาทโี่ ดยไมช อบธรรม หรอื ใชอิทธพิ ล หรอื ใหผลประโยชนแ ก บุคคลใดเพอื่ ใหตนเองหรือผูอน่ื ไดรับหรอื ไมไ ดร บั งาน บทบัญญัติขอนี้มีวัตถุประสงคเพ่ือควบคุมผูไดรับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ

วิศวกรรม ท่ีมีอํานาจหนาที่ในตําแหนงท่ีสามารถใหคุณใหโทษแกผูอ่ืนในดานตางๆ ใช อํานาจหนาท่ีอันเปนการ บีบบังคับ เพื่อใหตนเองหรือผูอ่ืนไดรับงาน หรือบังคับผูอ่ืนไมให งานน้ันแกฝายตรงกันขาม ทั้งน้ีงานนน้ั ไมจ ําเปนจะตองเปนงานเกี่ยวกับการประกอบวิชาชีพ วิศวกรรมควบคุม และบุคคลท่ัวไปหากตองเสียประโยชนจากการกระทําของผูไดรับใบ อนุญาตประกอบวิชาชีพวิศวกรรมดังกลาว ก็ถือวาเปนผูเสียหาย สามารถรองเรียนกลาวหาผู ไดรับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมนั้น เพื่อใหคณะกรรมการจรรยาบรรณ พิจารณาความผดิ ทางจรรยาบรรณแหง วชิ าชีพได

10

5. ไมเ รยี ก รบั หรอื ยอมรบั ทรพั ยสิน หรอื ผลประโยชนอ ยา งใดสาํ หรับตนเอง หรือผอู ่ืนโดยมิชอบ จากผูรบั เหมา หรอื บคุ คลใดซง่ึ เก่ียวขอ งในงานทที่ าํ อยกู ับผวู าจาง บทบัญญัติขอนี้มีวัตถุประสงคเพ่ือใหผูไดรับใบอนุญาตประกอบวชิ าชีพวิศวกรรม

ควบคุมเมื่อไดรับงานจากผูวาจางแลว ตองรักษาผลประโยชนของผูวาจาง เสมือนกับท่ีวิญู ชนท่ัวไปพึงรักษาผลประโยชนของตนเอง จรรยาบรรณแหงวิชาชีพในขอน้ี มีเจตนารมณเพื่อ ควบคุมใหผูประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมประกอบวิชาชีพของตนเองดวยความซ่ือสัตย สุจริต ไมรับผลประโยชนอ่ืนที่มิควรได นอกจากคาจางท่ีไดรับทํางานใหกับผูวาจาง เพราะ หากปลอยใหผูประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม เอารัดเอาเปรียบผูวาจางแลว ความเส่ือม ศรัทธาตอบุคคลและสถาบันแหงวิชาชีพจะเกิดข้ึน บทบัญญัติในขอนี้จึงมีวัตถุประสงคเพ่ือคุม ครองผลประโยชนของบุคคลทวั่ ไปดวย

6. ไมโ ฆษณา หรอื ยอมใหผูอน่ื โฆษณา ซง่ึ การประกอบวิชาชพี วศิ วกรรมควบ คมุ เกนิ ความเปน จรงิ บทบัญญัติขอนี้มีวัตถุประสงคเพ่ือปองกันมิใหผูไดรับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ

วิศวกรรมควบคุมแขงขันกันรับงานโดยการโฆษณา ซ่ึงอาจกอใหเกิดการแตกแยก เนื่องจาก การแยง งานกนั ทํา และสง ผลใหเ กิดการแตกความสามคั คีในกลุมผปู ระกอบวิชาชีพเดยี วกนั

กรณีศึกษา 1 วิศวกร จ ไดรับใบอนุญาตระดับภาคีวิศวกร สาขาวิศวกรรม โยธา ไดทํา ใบปลิวโฆษณา โดยระบุวา รับเหมา-ตอเติมทุกชนิด ดวยทีมงานมืออาชีพ เชน แกปญหารอยแตกราวของโครงสราง การทรุดตัวของโครงสราง งานปลูกสรางอพารทเม็นท หอพกั ควบคุมการกอสรา งดวย ทีมงานวิศวกร ฯลฯ ซึ่งเปนการโฆษณาใหผูอ่ืนเขาใจวา ตนมี ความรูความสามารถทีจ่ ะประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม จนเปน เหตใุ หบุคคลภายนอกหลง เช่ือตามขอความที่ปรากฏในใบโฆษณาน้ันและไดติดตอตกลงทําสัญญากับวิศวกร จ ซึ่งใน ความเปนจริงแลว วิศวกร จ ไมส ามารถทาํ งานวศิ วกรรม ควบคุมบางประเภทตามขอความ ท่ีไดโฆษณาไว เนื่องจากเกินความรูความสามารถ และไมมที ีมงานประจํา บางครั้งตองไปจา ง วิศวกรผูอ่ืนเขา มาดาํ เนินการแทน กรณีน้ีถือวาวิศวกร จ ทําการโฆษณา เกินความเปนจริง แตเม่ือดูจากเจตนาและประสบการณแลวเห็นวาวิศวกร จ ไดกระทําไปโดยความรูเทาไมถึง การณเนื่องจากอายุยังนอย จึงเห็นสมควรใหลงโทษสถานเบา โดยการภาคทัณฑ วิศวกร จ ไว มีกําหนดระยะเวลา 1 ป

(คาํ วินจิ ฉยั คณะกรรมการจรรยาบรรณที่ 11/2546 ลงวนั ที่ 1 พฤศจกิ ายน 2546)

11

7. ไมประกอบวชิ าชพี วศิ วกรรมควบคมุ เกนิ ความสามารถท่ตี นเองจะกระทาํ ได บทบัญญัติขอน้ีมีวัตถุประสงคเพื่อปองกันมิใหผูไดรับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ

วศิ วกรรมควบคุมรบั งานโดยไมคาํ นึงถึงความสามารถทต่ี นเองมอี ยู ซึง่ อาจกอใหเกิดความเสยี หายตอ ประชาชนและสังคมได อน่ึง การประกอบวิชาชพี วิศวกรรมควบคุมเกินความสามารถท่ี ตนเองจะทําไดน้ัน หมายถึงการประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมเกินความสามารถตามที่ กฎหมายกําหนด และรวมถึงความสามารถทีต่ นเองจะทาํ ไดตามความเปน จริงดว ย

กรณีศึกษา 1 วิศวกร พ ไดรับใบอนุญาตระดับภาคีวิศวกร สาขาวิศวกรรม โยธา ไดรับงานออกแบบคํานวณอาคารอเนกประสงคขององคการบริหารสวนตําบลแหงหน่ึง โดยไดลงลายมือช่ือในแบบท่ีผูอื่นออกแบบคํานวณมาใหกอนท่ีจะทําการตรวจสอบความถูก ตองของแบบ ตอมาคณะกรรมการตรวจการจางไดตรวจสอบพบวาแบบแปลนดังกลาวไมมี ความม่ันคงแข็งแรงเพียงพอ คณะกรรมการจรรยาบรรณพิจารณาแลวเห็นวาการท่ีวิศวกร พ ลงลายมือช่ือในแบบโดยมิไดตรวจสอบความถูกตองของแบบและรายการคํานวณใหรอบคอบ กอนนั้น ประกอบกับเม่ือตรวจสอบก็พบวาแบบโครงสรางของอาคารดังกลาวออกแบบไมถูก ตองตามหลักปฏิบัติและวิชาการ และเปนการประกอบวิชาชีพเกินขอบเขตความรูความ สามารถของผไู ดรับใบอนุญาตระดับภาคีวิศวกรจะสามารถกระทาํ ได เน่ืองจากอาคารดงั กลาว เปน อาคารสาธารณะ แสดงใหเ ห็นวาเปนการจงใจฝา ฝน บทบัญญัติแหงกฎหมาย จึงใหลงโทษ พักใชใบอนญุ าตของวศิ วกร พ มกี ําหนดระยะเวลา 5 ป

(คําวินิจฉยั คณะกรรมการจรรยาบรรณท่ี 10/2548 ลงวนั ท่ี 25 พฤษภาคม 2548)

กรณีศึกษา 2 วิศวกร ส และวิศวกร ม ไดรบั ใบอนุญาตระดับภาคีวิศวกร สาขา วิศวกรโยธา ไดทําสัญญารับเหมาซอมแซมปรับปรุงอาคารพาณิชยสูง 4 ชั้น โดยทราบวาเจา ของอาคารมิไดยื่นขอรับใบอนุญาตตอเติมหรือดัดแปลงอาคารตอเจาพนักงานทองถ่ินใหถูก ตองตามกฎหมาย คณะกรรมการจรรยาบรรณพิจารณาแลวเห็นวาวิศวกรทั้งสองไมสามารถ ออกแบบอาคารพาณิชยสูงเกิน 3 ชั้นได จึงเปนการประกอบวิชาชีพเกินความรูความสามารถ ท่ีกฎหมายกําหนด ประกอบกับมิไดแจงใหเจาของอาคารดําเนินการขออนุญาตกอสรางให ถูกตองตามกฎหมายเสียกอน จึงใหลงโทษพักใชใบอนุญาตของวิศวกรท้ังสอง มีกําหนดระยะ เวลา 1 ป

(คาํ วินจิ ฉัยคณะกรรมการจรรยาบรรณที่ 13/2547 ลงวนั ท่ี 20 ธันวาคม 2547)

8. ไมล ะทงิ้ งานท่ีไดร บั ทาํ โดยไมมีเหตุอนั สมควร บทบัญญัติในขอน้ีมีวัตถุประสงคเปนการควบคุมใหผูประกอบวิชาชีพ เม่ือรับ

ปฏิบัติงานแลว ตองมีความรับผิดชอบในงานท่ีไดรับทํา เพราะหากปลอยใหมีการละทิ้งงาน

12

อาจกอใหเกิดความเสียหายแกชีวิตและทรัพยสินของประชาชนได อีกท้ังเปนการปองกันมิให มีการประกอบวชิ าชพี อนั อาจนาํ มาซึ่งความเสื่อมเสยี แหง วงการวิชาชีพ

กรณีศึกษา 1 วิศวกร ข ไดรับใบอนุญาตระดับภาคี สาขาวิศวกรรมโยธา ได รับควบคุมงานกอสรางอาคารสูง 6 ช้ัน ขณะกอสรางถึงโครงสรางช้ันท่ี 6 โดยไดทําน่ังราน และแบบช้ันหลังคา แลวเสร็จ โดยขณะเร่ิมเทคอนกรีตช้ันหลังคาซ่ึงเปนคานยื่น 6 เมตร และ พนื้ อัดแรง (Post Tension) วศิ วกร ข มิไดอ ยคู วบคุมงานโดยมอบหมายใหหัวหนาคนงานเปน ผูดูแลแทน ปรากฏวาน่ังรานรับน้ําหนักไมไหวจึงยุบตัว ทําใหแบบแตกพังลงมา และคนงาน พลัดตกลงมาเสียชีวิตหนึ่งราย ไดรบั บาดเจ็บอีกสองราย คณะกรรมการจรรยาบรรณพิจารณา แลวเห็นวา ในวันเกิดเหตุ วิศวกร ข ไดเขาไปตรวจสอบความเรียบรอยกอนเทคอนกรีต และ อยูดูแลจนถึงประมาณเที่ยงวัน วิศวกร ข รูสึกไมสบายจึงไดกลับไปพักผอนที่บาน โดยมอบ หมายใหหัวหนาคนงานดูแลแทนน้ัน ยังไมมีน้ําหนักเพียงพอที่จะรับฟงได เนื่องจากหาก วิศวกร ข ไมสามารถท่ีจะทําการควบคุมงาน หรือจัดใหบุคคลที่มีความรูความสามารถใน ระดับเดียวกัน เขาควบคุมการกอสรางแทนตนเองได จะตองส่ังใหมีการหยุดการกอสรางใน สวนโครงสรางที่สําคัญไวกอน กรณีน้ีถือวาวิศวกร ข ในฐานะผูควบคุมงานไดละทิ้งงานโครง สรางท่ีสําคัญในความรับผิดชอบของตนโดยไมมีเหตุอันสมควร ประกอบกับมาตรการปองกัน วัตถุตกหลนและฝุนละอองที่จัดทําไวนั้นไมสมบูรณ เน่ืองจากตามกฎหมายแรงงานและ ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง ความปลอดภัยในการทํางานในสถานที่ที่มีอันตรายจาก การตกจากทีส่ งู วัสดุกระเด็น ตกหลน และการพงั ทลาย กําหนดใหม ีการจัดหาตาขา ยและวัสดุ ท่ีชวยปองกันความปลอดภัยไวตลอดเวลา ซึ่งหากสถานท่ีเกิดเหตุยังกอสรางไมแลวเสร็จ วิศวกร ข ก็ไมอาจที่จะละเลยความปลอดภัยในการทํางานโดยการถอดอุปกรณปองกันความ ปลอดภัยออก เพื่อตระเตรียมการกอสรางถนนช้ันลาง ตามที่กลาวอางไดแตอยางใด จึงเห็น สมควรใหล งโทษพักใชใบอนุญาตของวศิ วกร ข โดยมกี ําหนดระยะเวลา 1 ป 6เดือน

(คําวินิจฉัยคณะกรรมการจรรยาบรรณที่ 2/2548 ลงวนั ท่ี 24 มกราคม 2548)

กรณีศึกษา 2 วิศวกร น ไดรับใบอนุญาตระดับสามัญวิศวกร สาขาวิศวกรรมโยธา ได รบั ออกแบบและควบคุมงานกอสรางอาคารพาณิชยแหงหน่ึง ตอมาเจาของอาคารไดดําเนินการ ตอกเสาเข็มไปโดยมิไดแจงใหวิศวกร น ในฐานะผูควบคุมงานทราบ หลังจากตอกเสาเข็มไป ประมาณ 19 ตน จากจํานวนเสาเข็มทั้งหมด 28 ตน เจาพนักงานทองถ่ินไดมีคําสั่งใหระงับการ กอสรางอาคารและแจงใหวิศวกร น ทราบ ซ่ึงหลังจากทราบเรื่อง วิศวกร น ไดไปยังสถานท่ีกอ สรางและแจงใหเจาของอาคารระงับการกอสรางไวกอน แตปรากฏวาเจาของอาคารยังคง เพิกเฉยตอคําส่ังดังกลาว วิศวกร น จึงไดมีหนังสือถึงเจาพนักงานทองถิ่นขอถอนตัวออกจาก การเปนวิศวกรควบคุมงาน คณะกรรมการจรรยาบรรณพิจารณาแลวเห็นวาวิศวกร น มีเหตุผล อันสมควรในการบอกเลิกจากการเปนผูควบคุมงาน เม่ือพบวาเจาของอาคารจงใจฝาฝนคําสั่ง ของเจาพนักงานทองถิ่นและคําสั่งของตนในฐานะเปนผูควบคุมงานตามกฎหมาย เพราะหาก

13

วิศวกร น ยังรับเปนผูควบคุมงานตอไปก็จะกอใหเกิดความเสียหายตอวิศวกร น ได เม่ือการ บอกเลิกจากการเปนผูควบคุมงานถูกตองตามกฎหมายแลว จึงไมอาจถือวาวิศวกร น จงใจ ละท้งิ งานควบคุมการกอสรางแตอยางใด ใหย กขอกลา วหาวศิ วกร น

(คาํ วนิ ิจฉัยคณะกรรมการจรรยาบรรณที่ 10/2547 ลงวนั ท่ี 13 กนั ยายน 2547)

9. ไมล งลายมอื ชือ่ เปนผปู ระกอบวิชาชพี วิศวกรรมควบคมุ ในงานที่ตนเองไมไ ด รับทํา ตรวจสอบ หรือควบคมุ ดวยตนเอง บทบัญญัติในขอนี้มีวัตถุประสงคมุงควบคุมใหผูประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมมี

ความซื่อสัตยตอตนเองและผูอ่ืน หากไมสามารถรับปฏิบัติงานที่เกี่ยวกับการประกอบวิชาชีพ วิศวกรรมควบคุมไดแลว ก็ไมควรลงลายมือช่ือเปนผูรับทํางานน้ัน เพราะจะกอใหเกิดความ เสียหายตอ ผูวาจาง และบุคคลภายนอกได

10. ไมเ ปด เผยความลบั ของงานท่ตี นไดรบั ทาํ เวน แตไ ดร บั อนุญาตจากผวู า จา ง บทบัญญัติขอน้ีมีวัตถุประสงคเพื่อคุมครองวงการของผูประกอบวิชาชีพวิศวกรรมให

เปนที่ไววางใจของบุคคลท่ัวไป เนื่องจากหากบุคคลท่ัวไปไมเชื่อถือผูประกอบวิชาชีพแลว ก็ จะเกิดความเสื่อมศรทั ธาตอ ผูประกอบวิชาชพี และสถาบนั แหงวิชาชพี ได ผปู ระกอบวชิ าชพี อยู ในฐานะท่ีรูความลับของผูวาจาง ซึ่งถือวาเปนเอกสิทธิ์และหนาท่ีที่จะไมเปดเผยความลับน้ัน ถาเปดเผยความลับโดยประการท่ีนาจะกอใหเกิดความเสียหายแกผูวาจางก็ถือวาเปนการผิด จรรยาบรรณแหงวชิ าชีพ

11. ไมแ ยงงานจากผปู ระกอบวชิ าชีพวิศวกรรมควบคมุ อื่น บทบญั ญตั ิขอ นีม้ วี ัตถปุ ระสงคเ พ่ือปองกนั มใิ หเ กดิ ความแตกแยก ไมมีความสามัคคี

โดยมงุ ใหเ กดิ ความสามัคครี ะหวา งผปู ระกอบวชิ าชพี วศิ วกรรมควบคมุ ดว ยกนั

12. ไมรบั ทาํ งาน หรอื ตรวจสอบงานชน้ิ เดยี วกันกบั ทผ่ี ปู ระกอบวชิ าชีพวศิ วกรรม ควบคุมอืน่ ทาํ อยู เวน แตเ ปนการทาํ งานหรอื ตรวจสอบตามหนา ท่ี หรือแจง ให ผปู ระกอบวชิ าชพี วศิ วกรรมควบคุมอน่ื น้ันทราบลว งหนาแลว บทบญั ญตั ขิ อนม้ี ีวัตถุประสงคเ พอ่ื เปนการปอ งกันมิใหเ กดิ ความแตกแยกความ

สามคั คใี นกลมุ ของผูป ระกอบวชิ าชีพวิศวกรรมควบคมุ ดว ยกัน

กรณีศึกษา 1 วิศวกร จ ไดรับใบอนุญาตระดับสามัญวิศวกร สาขาวิศวกรรมโยธา ไดรบั งานออกแบบโรงงานแปรรปู เนื้อไกใหกับบริษัทแหงหน่ึง โดยกอนรับงานไดเ ดนิ ทางไปดู สถานที่กอสรางและพบวาไดมีการตอกเสาเข็มไปบางสวนแลวประมาณรอยละ 40 ซ่ึงสวน ใหญจ ะเปนเขม็ กลุม จึงคาดวานาจะมผี ูออกแบบกอ นแลว และไดแจง ใหผ ูว าจางดําเนนิ การแจง ใหผูออกแบบเดิมทราบกอน ตอมาไดรับใบสั่งงานจากผูวาจาง จึงเขาใจวาผูวาจางไดแจงใหผู

14

ออกแบบเดิมทราบแลว วิศวกร จ จึงไดทําการออกแบบตามท่ีไดรับการวาจาง โดยมิไดติด ตามทวงถามวาผูวาจางไดแจงใหผูออกแบบเดิมทราบกอนแลวหรือไม จึงเปนพฤติกรรมที่ไม เหมาะสม เพราะวิศวกร จ ยังคงมีหนาท่ีตองติดตอประสานงานไปยังวิศวกรผูออกแบบเดิม กอน เพ่ือใหรับทราบลวงหนาถึงการเขามารับงานของตน คณะกรรมการจรรยาบรรณจึง เห็นควรใหลงโทษตักเตือนวิศวกร จ ใหใชความระมัดระวังในการประกอบวิชาชีพใหมากกวา เดิม

(คาํ วินจิ ฉัยคณะกรรมการจรรยาบรรณท่ี 7/2547 ลงวันที่ 12 กรกฎาคม 2547)

13. ไมร ับดําเนนิ งานชน้ิ เดียวกันใหแกผวู าจางรายอื่น เพือ่ การแขง ขันราคา เวน แตไ ดแ จง ใหผ วู าจา งรายแรกทราบลว งหนาเปนลายลักษณอ ักษร หรอื ไดร ับ ความยินยอมเปน ลายลกั ษณอกั ษรจากผูว าจา งรายแรก และไดแ จง ใหผูวา จา ง รายอ่ืนนั้นทราบลวงหนา แลว บทบัญญัติขอน้ีมีวัตถุประสงคเพื่อควบคุมความประพฤติของผูประกอบวิชาชีพ

วิศวกรรมควบคุมใหมีความซื่อสัตยสุจริตตอผูวาจาง ในกรณีท่ีมีการแขงขัน เปนการรักษาขอ มูลและความลับของผูวา จาง

14. ไมใชห รือคดั ลอกแบบ รูป แผนผงั หรอื เอกสาร ท่ีเก่ยี วกับงานของผูประกอบ วชิ าชีพวิศวกรรมควบคมุ อ่ืน เวน แตจ ะไดร บั อนญุ าตจากผูป ระกอบวิชาชพี วศิ วกรรมควบคุมอืน่ น้ัน บทบัญญัติขอน้ีมีวัตถุประสงคเพ่ือควบคุมความประพฤติของผูประกอบวิชาชีพ

วิศวกรรมควบคุมใหมีความซื่อสัตยสุจริตตอเพื่อนรวมวิชาชีพเดียวกัน มิใหเอารัดเอาเปรียบ ซึ่งกันและกัน เกี่ยวกับรายการคํานวณอันเปนเอกสารท่ีเก่ียวของกับงานของผูประกอบวิชา ชีพวศิ วกรรมควบคุม

15. ไมก ระทาํ การใดๆ โดยจงใจใหเ ปน ทีเ่ สือ่ มเสยี แกชื่อเสยี ง หรอื งานของผู ประกอบวชิ าชีพวศิ วกรรมควบคมุ อ่นื บทบญั ญัตขิ อ น้ีมวี ตั ถปุ ระสงคทีจ่ ะเสรมิ สรา งความสามคั คีของกลุมผูมวี ิชาชพี เดียวกนั

คือตองมีความซ่ือสัตยตอเพ่ือนรวมวิชาชีพ โดยไมกระทําการใดๆ ใหเปนท่ีเส่ือมเสียช่ือเสียง หรืองานของ ผูประกอบวิชาชพี วิศวกรรมควบคุมอน่ื

15

6. จรรยาบรรณวศิ วกรของ ว.ส.ท.

7.

7. บรรทดั ฐานของจรรยาบรรณ ขอ กาํ หนดจรรยาบรรณเปรยี บเสมือนกตกิ าทางสงั คมของวศิ วกร มีตุลาการคอื

คณะกรรมการจรรยาบรรณของสภาวิศวกร เพ่ือใชในการควบคุมดูแลความประพฤติของ วศิ วกรท้งั บคุ คลและนิติบคุ คลใหอ ยใู นกรอบแหงความชอบธรรมทีไ่ ดต กลงกันไว

ดังน้ัน ขอกําหนดจรรยาบรรณจึงมีความสําคัญและมีผลทางกฎหมายตอผู ประกอบวิชาชีพวิศวกรรม เปนมาตรการควบคุมดูแลใหวิศวกรมีความรับผิดชอบตอความ ปลอดภยั และการสรา งใหเ กิดสงั คมทเ่ี ปน อารยะ

16

หากคณะกรรมการจรรยาบรรณมีมติวาเปนการประพฤติผิดจรรยาบรรณ จะนํา ไปสูการลงโทษตามอํานาจที่กําหนดไวใน พ.ร.บ. วิศวกร และจะนําไปสูความผิดทั้งทางแพง และอาญาตามกฎหมายปกติในลําดับตอ ไป

ความรับผิดชอบของวิศวกรนั้นสงู มาก เม่ือมีเหตทุ เ่ี กดิ จากงาน ก็มักจะเลีย่ งความ รับผิดชอบไมพน(ดกู รณีตวั อยางมติของคณะกรรมการจรรยาบรรณสภาวิศวกร)

เพ่ือความเขาใจในบรรทัดฐานของงานวิศวกรรม และใชอางอิงในการปฏิบัติงาน บรรทดั ฐานท่ใี ชใ นการปฏิบัตงิ าน มอี ยู 3 สว นคอื

1. กฎหมาย กฎหมายท่ีเกี่ยวของกับงานวิศวกรรมมีอยูมากมาย เชน พ.ร.บ. ควบคุมอาคาร

พ.ร.บ. สิ่งแวดลอม พ.ร.บ. ผังเมือง พ.ร.บ. ระงับและปองกันอัคคีภัย พ.ร.บ. โรงงาน พ.ร.บ. แรงงาน ซง่ึ วิศวกรตองปฏบิ ตั ิงานโดยไมข ัดกับขอกําหนดใน พ.ร.บ. ตางๆเหลา นี้

2. มาตรฐาน มาตรฐานงานวิศวกรรมใชในการอางอิงถึงวิธีการปฏิบัติงานวิศวกรรม

สําหรับประเทศไทยกําลังอยูในขั้นของการพัฒนามาตรฐานวิศวกรรมแหงชาติ อยางไรก็ตาม วิศวกรสามารถอางอิงมาตรฐานทางดานวิศวกรรมไทยไปกอนได หากพบวามาตรฐานทาง ดา นวิศวกรรมไทยไมครอบคลมุ เน้อื หาท่ีตอ งการ จึงนํามาตรฐานสากลที่เปน ที่ยอมรบั มาใชใ น ลําดับตอไป

สาเหตุที่การอางอิงมาตรฐาน ใหเร่ิมท่ีมาตรฐานทางดานวิศวกรรมไทยกอน ก็ เพอ่ื ความเปนเอกภาพ

ยกตัวอยาง ในอดีตมาตรฐานทางไฟฟาในประเทศไทยมีความหลากหลายมาก ทําใหอุปกรณไฟฟามีหลายมาตรฐานและสรางความสูญเสียอยางมหาศาล ในปจจุบัน วิศวกรรมสถานแหงประเทศไทยมีมาตรฐานไฟฟาแหงประเทศไทยท่ีทุกสถาบันนําไปใชรวม กัน ทาํ ใหเ กิดเอกภาพ ลดขอ ขัดแยง และการสูญเสยี ลงไปได

ในตางประเทศทุกประเทศ ตางก็มีมาตรฐานทองถิ่นดวยกันทั้งสิ้น แมกระทั่งใน สหรัฐ แตละมลรัฐกม็ ีขอ กําหนดทอ งถ่นิ ท่เี ปน ของตนเอง

มาตรฐานทางดานวิศวกรรมไทย สามารถเปนมาตรการปองกันไมใหวิศวกรตาง ชาติเขามาทํางาน โดยใชมาตรฐานจากประเทศของตนเองไดอยางเสรี และไมสามารถวางตัว เองอยูเหนือขอกาํ หนดทอ งถิน่ ได

3. ขอ กําหนดจรรยาบรรณ นอกจากกฎหมายและมาตรฐานอันเปนขอกําหนดท่ีตราไวอยางชัดเจนแลว การ

ปฏบิ ัตงิ านของวิศวกรท่ีมีความซับซอน หลากหลายท่ีกฎหมายและมาตรฐานไมครอบคลุม ยัง อยูในดุลยพินิจและการตัดสินใจของวิศวกรเปนอยางมาก ดังน้ัน การปฏิบัติงานในสวนน้ี ไม สามารถกําหนดกรอบท่ชี ัดเจนได ขงึ้ อยูกับวิศวกรเอง โดยมีพนื้ ฐานท่ีสอดคลองกับขอ กําหนด จรรยาบรรณในการประกอบวชิ าชพี

17

8. จรรยาบรรณคอื เครือ่ งมือสคู วามสําเรจ็ คําวา “ไม” ในขอกําหนดจรรยาบรรณอาจจะสื่อแลวทําใหวิศวกรมีความรูสึก

วาขอ กําหนดจรรยาบรรณคอื “ขอ หา ม” และหากปฏบิ ตั ติ ามอยา งเครง ครัด จะประกอบวชิ าชีพ ไมไ ด

ขอกําหนดจรรยาบรรณเปนขอกําหนดท่ีมีกรอบท่ีกวางพอ และเปดโอกาสให วิศวกรใชชวงกวางนี้ เพ่ือใหวิศวกรสามารถประกอบธุรกิจอยางมีกติกา อันจะยังผลใหสังคม ธรุ กิจวิศวกรรม เปนธรุ กจิ ทีพ่ ัฒนาไปในแนวทางของมาตรฐานงานทด่ี ี

การจัดการขอขดั แยง มีความละเอยี ดและซบั ซอนตามความซบั ซอนของธรุ กจิ แต หากตง้ั อยบู นหลักการสมดุล ความเปน ธรรม และจรรยาบรรณ กส็ ามารถจัดการไดไ มยาก

จรรยาบรรณจึงไมใชขอหาม แตหากรูจักนําไปใช กลับกลายเปนเคร่ืองมือในการ ประกอบธุรกจิ ที่มีแนวทางท่เี หมาะสมไดเ ปน อยางดี

การพัฒนาวชิ าชพี ตอเนื่อง หลายคนเขาใจผิดวา การจบการศึกษาและไดปริญญาบัตรคือการสําเร็จการ ศึกษา แตลืมไปวาการสําเร็จการศึกษาที่วาน้ี เปนการสําเร็จการศึกษาในระดับอุดมศึกษา แท ท่ีจริงคือการสําเร็จการศึกษาวิชาการวิศวกรรม”พื้นฐาน” ยังไมไดเรียนรูวิธีการประกอบวิชา ชีพวิศวกรรมเลย วิศวกรที่เร่ิมทํางานในปแรก ท่ีแทคือ”วิศวกรฝกงาน” จึงตองบังคับเสมอให ตอ งทาํ งานภายใตการควบคมุ ของสามัญวศิ วกร การศึกษาวธิ ีปฏิบัติงาน เกิดจากการทํางานจรงิ เทาน้ัน เพราะไมว าจะจบปริญญา โทหรอื เอก หากไมผานการปฏบิ ตั ิงานจรงิ ก็ทาํ งานไมไ ด เพราะงานวิศวกรรมเปนงานท่ีตองอาศัยการเรียนรูดวยตนเอง การสราง ทกั ษะและการหาประสบการณดวยตนเอง วิศวกรที่จบมาหลายป แตไมไดทํางานในสายอาชีพ เชน จบมาแลว ทําแตงาน บริหาร ไมไดทํางานชางควบคูกันไป ถึงจะมีตําแหนงเปนผูจัดการ ก็ยากท่ีจะขอเลื่อนขั้นเปน สามัญหรอื วฒุ ิวิศวกร การพัฒนาวิศวกรรมจะสําเร็จได ก็ดวยวิศวกรทุกคนพัฒนาตนเองอยางตอเน่ือง ตลอดเวลา และจะตอ งมรี ะบบสง เสรมิ การพัฒนาวิศวกรอยา งตอเนอื่ ง

9. บทสรปุ วิศวกรเม่ือรูวา “ขาคือวิศวกร”จะตองพัฒนาทักษะ และสั่งสมประสบการณอยาง

ตอเนื่อง ไมวาจะอยูในตําแหนงหนาท่ีอะไร จึงจะแสดงตนวาเปนวิศวกรไดอยางภาคภูมิ สม ศกั ดิศ์ รขี องความเปน วิศวกร

วิศวกรเปนผูที่ดูแลรักษาสิ่งแวดลอม รูคุณคาของพลังงาน และเห็นความสําคัญ เรอ่ื งความปลอดภัย

18

หากพบเรื่องท่ีผิด ตองหาทางแก อยาปลอยทิ้งไว แตถาเปนเร่ืองสุดวิสัย ใหเล่ยี งเสีย และท่สี ําคญั ตอ งไมทาํ ตามอยางทไ่ี มถ ูกตอง

คุณคาของวิศวกรอยทู ผ่ี ลงานท่ีดี ตราบใดท่ียังมีตึกถลม นั่งรานถลม ปายถลม นํ้าทวม อัคคีภัยรายแรง หมอนํ้า ระเบิด กาซระเบิด แมกระท่ังอาคารท่ีเปลืองพลังงาน โรงงานสรางมลภาวะตอส่ิงแวดลอม มี การกอสรางท่ีเลี่ยงกฎหมาย แสดงวางานวิศวกรรมของไทยยังมีปญหา และวิศวกรไทยยังไม มีคณุ ภาพ สงั คมกจ็ ะขาดการยอมรับ

พื้นฐานคืออนาคต สมรรถนะคอื ปจจุบัน จรรยาบรรณคือพ้ืนฐานของวิศวกร

10. กรณีศกึ ษา กรณีศึกษาน้ีเปนกรณีตัวอยางเพ่ือจะไดเปนการศึกษาจากเหตุการณที่เกิดขึ้น

จริง ท่ีนําสูการรองเรียน สอบสวน และลงโทษในแตละกรณี การยกเอากรณีตัวอยางเหลา นีม้ าพิจารณา จะใชนามสมมตุ ิ รวมท้ังการลําดบั เร่ืองเฉพาะทเ่ี ปน สาระสําคญั เทาน้ัน

กรณศี กึ ษา 1 : โครงเหลก็ เสาตอมอโครงการทางยกระดบั โคนลม

การไมปฏบิ ัตงิ านที่ไดร ับทําอยา งถกู ตอ งตามหลักปฏบิ ัติและวชิ าการ

เรื่องยอ: โครงเหล็กเสาตอมอโครงการทางยกระดับเกิดโคนลม ทําใหมีผูไดรับบาดเจ็บจํานวน 3 คน ก.ว. จงึ มคี าํ สง่ั แตง ตง้ั คณะอนกุ รรมการไตส วนผมู ีสวนเก่ยี วของ ซึง่ พอสรปุ ไดดังนี้

เร่ือง: นาย ป (ภาคีวิศวกรโยธา) เปนวิศวกรโครงการ ทํางานกับบริษัท ก มีหนาที่รับผิดชอบ ดูแลการกอสรางฐานรากกับเสา รับวาท่ีเกิดเหตุอยูในความรับผิดชอบของตน และในวันเกิด เหตุไดมอบหมายใหหัวหนาคนงานควบคุมคนงาน 8 คน ในการผูกเหล็ก ยกเหล็ก หลังจาก ส่ังงานแลวไดเดินทางไปดูการกอสรางบริเวณอ่ืนและไมไดอยูในที่เกิดเหตุ การขึ้นโครงเหล็ก ดังกลาวมีการดําเนินการแลวเสร็จอีกดานหนึ่งของหนางาน นาย ป จึงเขาใจวาลักษณะการ ทํางานในทเี่ กิดเหตุจึงนา จะเปน ไปดว ยความเรยี บรอยเพราะเปนลักษณะงานเชนเดียวกนั อีก ท้ังทีมตั้งแบบและ ยึดโยงโครงเหล็กดังกลาวเคยมีประสบการณจากการทํางานเชนนี้ในโครง การอ่ืนมาแลว การติดต้ังใชรถเครนในการยก และติดตั้งยึดโยงดวยลวดสลิงจํานวน 8 เสนที่ ระดับความสูง 2 ใน 3 ของความสูง 15 เมตรของตอมอขนาด 1.5 x 2 เมตร สันนิษฐานวาเหตุ เกดิ จากการรดู ตวั ของลวดสลงิ ท่ีใชยดึ โครงเหลก็ ภายหลังการเกิดเหตุ บรษิ ทั ก ไดป รับปรุง วิธีการทํางานโดยวิธีการติดตั้งโครงเหล็กแบงการทํางานเปน 2 สวน โดยยกสวนลางที่มีความ สงู 7.5 เมตร ติดตงั้ กอ นการตดิ ตัง้ สวนบนอกี 7.5 เมตร

19

การไตสวน: คณะอนุกรรมการไตสวนฯ วินิจฉัยวา นาย ป เปนวิศวกรควบคุมงาน เมื่อไมอยู ควบคุมการกอสรางใหแลวเสร็จ และมิไดมอบหมายใหวิศวกรคนอื่นควบคุมงานแทนถือวาบก พรองในการทํางาน ไมปฏิบัติงานท่ีไดรับทําใหถูกตองตามหลักปฏิบัติและวิชาการ ซ่ึงเปน ความผิดมรรยาทแหงวิชาชีพตามกฎกระทรวง ฉบับท่ี 8 (พ.ศ. 2529) ออกตามความในพระ ราชบัญญัติ วิชาชีพวิศวกรรม พ.ศ. 2502 ขอ 2 (2) “ตองปฏิบัติงานท่ีไดรับทําอยางถูกตองตาม หลักปฏิบตั ิและวิชาการ”

การลงโทษ: นาย ก ถกู ลงโทษพกั ใบอนญุ าตเปน ผปู ระกอบวชิ าชพี วศิ วกรรมควบคุม 6 เดอื น

กรณีศึกษา 2 : สะพานสรางใหมคูขนานกับสะพานเดิมเกิดเหตุพังทลายในขณะกอ

สรา ง การไมปฏิบตั ิงานท่ไี ดร บั ทาํ อยางถกู ตองตามหลกั ปฏิบัติและวชิ าการ

เรื่องยอ: สะพานสรางใหมขามแมน้ําคูขนานกับสะพานเดิมเกิดเหตุพังทลายในขณะกอสราง ทําใหมีคนงานเสียชีวิต 4 คน และไดรับบาดเจ็บ 6 คน ก.ว. จึงมีคําส่ังแตงต้ังคณ ะ อนุกรรมการไตส วนผมู สี ว นเกีย่ วของ ซง่ึ พอสรุปไดด งั น้ี

เร่ือง: นาย ช (ภาคีวิศวกรโยธา) เปนวิศวกรควบคุมการกอสรางของบริษัท ฉ ในวันเกิดเหตุ มีการติดตั้งแมแรงเพื่อนําโครงสรางสวนบนลงบนคานขวางรับโครงถัก เมื่อหยุดพักเที่ยงเกิด ฝนตกลงมา นาย ช ไดแ จงใหคนงานทราบวา ใหร อคําสงั่ จากนาย ช กอนจงึ เร่มิ ทาํ งานในชว ง บายได แตนาย ม ผูชวยหัวหนาคนงานไดใหคนงานเร่ิมทํางานโดยไมมีคําสั่งใหเร่ิมทํางาน จากนาย ช ทําใหเกิดเหตุสะพานพังทลาย สันนิษฐานวาสาเหตุการพังทลายเกิดจากการลด ระดับแมแรงท่ียกคานใหไดระดับทางดา นขวาเพียงดานเดยี ว (ซึ่งปกติการลดระดับแมแรงตอง ใหลดระดับพรอมเพรียงกัน) ทําใหเกิดการตะแคงของโครงถัก เกิดการสไลดไปกระแทกตัว สตอ็ ปเปอร เปน เหตุใหค านสวนอืน่ ๆ หลนตามลงมา ทําใหค านหลดุ จากตอมอ เปน เหตุใหค น งานเสียชีวิตในท่ีเกิดเหตุทันที 2 คน และไดรับบาดเจ็บ 8 คน ภายหลังเกิดเหตุคนงานเสีย ชีวิตเพ่ิมอีก 2 คน จากการตรวจสอบพบวาเหตุไมไดเกิดจากความบกพรองของแบบแปลน สะพานของกรมทางหลวง แตเกิดจากการกระทําของคนงานในระหวางการกอสรางและยังพบ อีกวา นาย ช ไมเคยควบคุมการกอสรา งสะพานขามแมนํ้าทม่ี ีคานชว งยาว เคยแตควบคุมการ สรางสะพานขามคลอง

20

การไตส วน: คณะอนุกรรมการไตส วน ฯ วินิจฉัยวา โดยท่ีในเวลาเกิดเหตุนัน้ เปนเวลาทํางาน ในชวงหลังจากหยุดพักกลางวันแลว ซึ่งโดยปกติวิศวกรผูควบคุมงานตองอยูควบคุมการกอ สรางในสถานท่ีกอสราง แตนาย ช มิไดอยูในสถานที่กอสราง ถึงแมจะอางวาฝนตกจึงออกมา ควบคุมงานชาก็ไมอาจปฏิเสธความรับผิดชอบได จึงถือวา นาย ช บกพรองตอหนาท่ีฐาน ควบคุมงานไมถูกตองตามหลักปฏิบัติ ซ่ึงเปนความผิดมรรยาทแหงวิชาชีพตามกฎกระทรวง ฉบับท่ี 8 (พ.ศ. 2529) ออกตามความในพระราชบัญญัติวิชาชีพวิศวกรรม พ.ศ. 2505 ขอ 2 (2) ”ตอ งปฏบิ ตั งิ านทไ่ี ดร บั ทําอยา งถกู ตองตามหลักปฏบิ ตั แิ ละวชิ าการ”

การลงโทษ: นาย ช ถูกใหลงโทษพักใบอนุญาตเปนผูประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมมี กําหนด 1 ป

กรณศี ึกษา 3 : นั่งรา นกอ สรางสะพานขา มแมน ้ําพงั ทลาย

การไมปฏบิ ตั งิ านทีไ่ ดรับทําอยางถกู ตองตามหลักปฏบิ ัติและวชิ าการ

เร่ืองยอ: นั่งรานกอสรางสะพานขามแมนํ้าซึ่งอยูระหวางการกอสรางเทคอนกรีตในสวนของ คานยื่นตอมอตนที่ 8 ไดเกิดพังทลายลงมา เปนเหตุใหมีผูเสียชีวิต 4 คน และบาดเจ็บหลาย คน ก.ว. จึงมีคําสง่ั แตงตั้งคณะอนกุ รรมการไตส วนผมู สี ว นเก่ยี วของ ซ่งึ พอสรุปไดด ังนี้

เรื่อง: นาย พ (สามัญวิศวกรโยธา) เปนวิศวกรผูควบคุมการกอสรางของบริษัท ส ในการ ทํางาน กอนวันเกิดเหตุไดมาทําการตรวจสอบน่ังรานพบวา สภาพน่ังรานยังไมเรียบรอย เชน ระยะของคานรดั แตละช้ันยังไมแ นนหนา อกี ทง้ั เหล็กค้ํายันและโยงยึดยงั ไมครบถวนตาม แบบที่ไดคํานวณออกแบบใชในการกอสราง จึงไดส่ังการเปนหนังสือจํานวน 5 ขอ ใหนาย ง ซึ่งเปนโฟรแมนของบริษัท ส ดําเนินการแกไข ซ่ึงนาย ง ไดเซ็นรับทราบ ตอมานาย พ ตอง เดินทางไปประชุมเพื่อเรงรัดงานกอสรางสะพานที่กรมโยธาธิการ กอนไปประชุมไดสั่งกําชับ นาย ง ใหดําเนินการแกไขนั่งรานตามที่ไดส่ังการและใหนาย พ ทราบเพื่อตรวจสอบอีกคร้ัง กอนดําเนินการตอไป นาย ง ไดปฏิบัติงานตามส่ัง คือ ไดแบงคนงานสวนหน่ึงเตรียมเหล็ก เพ่อื ทําคํ้ายันเพ่ิม รวมทัง้ เพ่ิมโยงยดึ แตยังไมทันเสร็จ ปรากฏวามรี ถคอนกรตี ผสมเสร็จมาสง คอนกรีต นาย ง จึงใหคนงานไปเทคอนกรีตกอนโดยการยายคนงานที่ไปทําค้ํายันไปชวย เกล่ียคอนกรีต งานเทคอนกรีตดําเนินการไดพักใหญจ ึงพังลงมา สําหรับเร่ืองการสั่งคอนกรีต ผสมเสร็จเขาหนางานนั้นเปนไปตามแผนเดิม เมื่อมีการแกไ ขน่งั ราน นาย ง ซ่ึงเปนผดู ูแลเรือ่ ง แผนงานการสงคอนกรีตผสมเสร็จลืมส่ังยกเลิกคอนกรีตผสมเสร็จตามแผนเดิม เร่ืองดินทรุดก็ ไมปรากฏเพราะมีการเช็คระดับโดยใชกลองตลอดเวลา หลังเกิดเหตุ นาย ง ถูกดําเนินคดี

21

อาญา โดยพนักงานอัยการส่ังฟองโทษฐานทําใหผูอ่ืนถึงแกความตายและอันตรายสาหัสโดย ประมาท และศาลตัดสนิ โทษไปแลว

การไตสวน: คณะอนุกรรมการไตสวนฯ วินิจฉัยวา กรณีนั่งรานสะพานเกิดการพังทลายมิได เกิดจากการออกแบบสะพานไมถูกตอง แตเกิดจากการควบคุมงานของวิศวกรผูควบคุมงาน กอสรา ง น่ังรา นเพอ่ื การกอ สรา ง ซงึ่ เปนสวนหนึ่งของเทคนิคการกอ สรา งในสว นของการควบ คุมงาน แมในระหวางการเกิดเหตุ นาย พ ไมไดอยูในสถานที่เกิดเหตุ และแมจะไดกําชับ นาย ง ใหควบคุมดูแลและดําเนินการตามที่ส่ังการแลวก็ตาม แตนาย พ ในฐานะวิศวกรควบ คุมงานของบริษัทผูรับเหมาและเปนผูรับผิดชอบในการควบคุมงานใหถูกตองตามหลักปฏิบัติ และวิชาการทุกข้ันตอน โดยเฉพาะอยางย่ิงเมื่อไดตรวจสอบและเห็นวายังมีการดําเนินการไม เรียบรอยของน่ังรานในสวนท่ีเปนสวนสําคัญ ซึ่งอาจจะกอใหเกิดอันตรายได แมการส่ังการ ใหผูมีหนาท่ีปฏิบัติงานแทนก็ตองติดตามตรวจสอบวาผูรับมอบหมายไดดําเนินการตามที่สั่ง หรือไม แตไดปลอยไวจนกระทั่งเกิดความเสียหายขึ้น ไมอาจเปนเหตุใหวิศวกรผูรับผิดชอบ พนจากความรับผิดดานวิศวกรรม จงึ เปนการกระทําเขา ขายผดิ มรรยาทแหง วชิ าชีพ มมี ตวิ า นาย พ ปฏิบัติหนาท่ีในฐานะวิศวกรควบคุมงานไมปฏิบัติหนาที่ในฐานะวิศวกรควบคุมงานให ถกู ตองตามหลักปฏิบตั แิ ละวิชาการ เปน เหตุใหเกดิ ความเสียหายและมีผูเสียชวี ิต เปนการฝา ฝนมรรยาทแหงวิชาชีพตามกฎกระทรวงฉบับที่ 8 (พ.ศ. 2529) ออกตามความในพระราช บัญญัติวิชาชีพวิศวกรรม พ.ศ. 2505 ขอ 2 (2) “ตองปฏิบัติงานที่ไดรับทําอยางถูกตองตามหลัก ปฏบิ ตั ิและวชิ าการ”

การลงโทษ: นาย พ ถกู ลงโทษเพกิ ถอนใบอนุญาตเปน ผปู ระกอบวชิ าชีพวศิ วกรรมควบคมุ

กรณศี ึกษา 4 : อาคาร 7 ช้ันเกิดการทรดุ เอียงเสยี หายใชการไมได

การไมปฏิบตั งิ านท่ีไดรบั ทาํ อยา งถูกตอ งตามหลักปฏบิ ตั ิและวิชาการ

เร่ืองยอ: อาคาร 7 ช้ันริมถนนเกิดการทรุดเอียงเสียหายใชการไมได ก.ว. จึงมีคําส่ังแตงต้ัง คณะอนุกรรมการไตส วนผมู ีสว นเก่ียวของ ซ่ึงพอสรุปไดด งั น้ี

เรื่อง: นาย ณ เจาของโครงการตองการกอสรางอาคารโดยทําการกูเงินจากธนาคาร และ ธนาคารอนุมัติใหจํานองท่ีดินและอาคารท่ีจะทําการกอสรางในวงเงินที่จะกอสราง 5 ช้ัน นาย

22

ณ ไดติดตอขาราชการกรุงเทพมหานคร คือนาย ส ใหชวยจัดหาสถาปนิกและวิศวกรในการ ออกแบบรวมท้ังใหนาย ส ชวยเปนธรุ ะในการขอใบอนุญาต

เรื่องยอ: นาย อ (สามัญวิศวกรโยธา) เปนผูคํานวณและออกแบบโครงสรางโดยมิไดไปดูสถาน ท่ีกอสรางหรือทดสอบดิน กําหนดใหใชเข็มตอกขนาด I .35 x .35 เมตร รับนํ้าหนักปลอดภัย 60 ตัน/ตน อาคารท่ีออกแบบเปนอาคาร 8 ชั้น โดยมิไดคํานวณแรงลม กอนไดรับใบอนุญาต ปลูกสรางอาคาร 8 ช้ัน นาย ณ ไดทําการกอสรางฐานรากโดยใชเข็มเจาะขนาดเสนผานศูนย กลาง .35 เมตร ยาว 20 เมตร การเลือกเข็มเจาะดงั กลาวเนอื่ งจากผูรับเหมางานฐานรากไดดู จากตารางการรับน้ําหนกั ของเสาเขม็ เจาะขนาดระบุวา สามารถรบั นํา้ หนักอาคาร 5 ชน้ั ตามขอ มูลเงินกูที่ทําไวกับธนาคาร ตอมาเมื่อทําการกอสรางสวนที่เหนือฐานราก นาย ณ ไดผูรับ เหมาใหมและมี นาย ค (ภาคีวิศวกรโยธา) เปนผูควบคุมงานกอสราง เขาควบคุมงานกอ สรางสัปดาหละ 1 คร้ัง โดยเริ่มงานจากงานฐานรากท่ีดําเนินการแลวเสร็จกอนหนานั้นและได รับคําชี้แจงจากนาย ส วาฐานรากเข็มเจาะสามารถรับน้ําหนักตามแบบท่ีกําหนดได และไมได ตรวจสอบวาฐานรากเข็มเจาะจะสามารถรับนํ้าหนักไดจ ริงหรือไม การควบคุมงานกอสรางใน สว นโครงสรางเหนือพ้ืนดินต้ังแตช ้ัน 1 ถึง ชั้น 5 เม่ือพบวาการกอสรางชดิ แนวเขตเกินไป ไม ตรงตามแผนผังบริเวณที่ไดรับอนุญาต และเขตไดระงับการกอสรางและแจงใหแกไขแบบให ถูกตอง เน่ืองจากท่ีดินบริเวณติดชิดแนวเขตเปนท่ีดินของบิดานาย ณ และยินยอมใหใชที่ดิน โฉนดขางเคียงประกอบการขออนุญาตดวยในการขอใบอนุญาตครั้งท่ี 2 นาย ณ ไดขอแกไข อาคารจาก 8 ชนั้ มาเปน 7 ชั้นดวย ภายหลังการไดรับใบอนญุ าตครง้ั ที่ 2 นาย ค เขาไปควบ คุมงานเพียงครั้งเดียว เน่ืองจากหมดงบประมาณและการกอสรางระงับไป และเกิดเหตุอาคาร ทรดุ ในอกี 1 ปตอมา

การไตสวน: คณะอนุกรรมการไตสวนฯ วินิจฉัยวา นาย อ เปนวิศวกรคํานวณและออกแบบ โครงสรางอาคารโดยมิไดไปดูสถานที่กอสรางและมิไดกําหนดรายละเอียดประกอบรายการ คํานวณวาจะตองมีการเจาะสํารวจดินกอนทําการกอสราง อีกทั้งมิไดคํานวณแรงลมเนื่องจาก เปนอาคารสูง ถือวาปฏิบัติหนาที่วิศวกรออกแบบและคํานวณโครงสรางอาคารไมครบถวน และไมมีความรอบคอบเพียงพอ จึงไมเปนไปตามหลักปฏิบัติและวิชาการ ทําใหแบบมีความ บกพรอง เม่ือใชในการกอสรางและเกิดความเสียหายทรุดเอียง จึงเปนความผิดมรรยาทแหง วิชาชีพตามกฎกระทรวงฉบับที่ 8 (พ.ศ. 2529) ออกตามความในพระราชบัญญัติวิชาชีพ วิศวกรรม พ.ศ. 2505 ขอ 2 (2) “ตองปฏิบัติงานที่ไดรับทําอยางถูกตองตามหลักปฏิบัติและวิชา การ”

23

การลงโทษ: นาย อ ถูกลงโทษพกั ใบอนญุ าตเปนผปู ระกอบวชิ าชีพวิศวกรรมควบคมุ มกี าํ หนด 6 เดือน

การไตสวน: คณะอนุกรรมการไตสวนฯ วินิจฉัยวา นาย ค เปนวิศวกรควบคุมการกอสรางเขา ควบคุมงานโครงสรางชั้น 1 ถึง ชั้น 5 โดยไมไดตรวจสอบวาฐานรากที่ดําเนินการแลวโดยใช เข็มเจาะนั้นสามารถรับนํ้าหนักของอาคารไดหรือไม แตไดสอบถามนาย ส ซึ่งเปนผูประสาน งานยืนยันวาสามารถรับน้ําหนักไดตามแบบท่ีกําหนด ในฐานะที่เปนวิศวกรจะตองใชความ ละเอียดรอบคอบและตรวจสอบรายการคํานวณโครงสรางของอาคารท่ีกอสรางฐานรากแลววา สามารถรับน้ําหนักไดหรือไม การละเลยการตรวจสอบความถูกตองดังกลาวและอาคารเกิด การทรุดเอียงเสียหาย จึงเปนการปฏิบัติหนาท่ีของวิศวกรควบคุมงานไมถูกตองตามหลัก ปฏิบตั แิ ละวิชาการ อนั เปน ความผิดมรรยาทแหงวชิ าชพี ตามกฎกระทรวงฉบับท่ี 8 (พ.ศ. 2529) ออกตามความในพระราช-บัญญัติวิชาชีพวิศวกรรม พ.ศ. 2505 ขอ 2 (2) “ตองปฏิบัติงานที่ได รับทําอยางถูกตอ งตามหลักปฏบิ ัตแิ ละวิชาการ”

การลงโทษ: นาย ค ถูกลงโทษพักใบอนุญาตเปนผูประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม มี กาํ หนด 6 เดอื น

การรองทุกข: นาย ส เปนขาราชการกรุงเทพมหานคร ไดรับจางปลูกสรางอาคารและเปนธุระ ในการจัดหาวิศวกรและสถาปนิก ท้ังเปนผูยื่นขออนุญาตปลูกสราง ทําหนาที่ของวิศวกรและ สถาปนิกในการใหคําแนะนําและจดั ทําแบบแปลนทใ่ี ชใ นการกอสราง ตลอดจนเขาควบคมุ งาน กอสรางในบางครั้งดวย อันเปนการประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมและสถาปตยกรรมควบ คมุ ตามพระราชบญั ญตั วิ ชิ าชีพวิศวกรรม พ.ศ. 2505 และพระราชบญั ญัตวิ ชิ าชีพสถาปตยกรรม ควบคุม พ.ศ. 2508 ตามมาตรา 15 และมีความผิดฐานประกอบวิชาชีพฯโดยไมมีใบอนุญาต เห็นควรรอ งทุกขดาํ เนินคดตี ามกฎหมาย

กรณีศึกษา 5 : อาคารคอนโดมิเนยี มทรุดตวั พงั ทลาย

การกระทําซ่งึ นํามาซึ่งความเสื่อมเสยี เกยี รตแิ หงวชิ าชีพ การไมป ฏบิ ัติงานที่ไดร บั ทําอยา งถกู ตอ งตามหลักปฏิบัติและวชิ าการ

เรื่องยอ: อาคารคอนโดมิเนียมทรุดตัวและพังทลาย ก.ว. จึงมีคําสั่งแตงตั้งคณะอนุกรรมการไต สวน ผูม สี ว นเกย่ี วขอ ง ซ่งึ พอสรปุ ไดดงั น้ี

24

เรื่อง: นาย ค (ภาควี ศิ วกรโยธา) เปนวิศวกรควบคมุ การกอสรางอาคารคอนโดมิเนยี มซึ่งมญี าติ ผูใหญเปนผูขออนุญาตปลูกสรางและเกิดการทรุดตัวพังทลาย นาย ค แจงวาไดควบคุมการ กอสรางตามแบบทีไ่ ดร ับอนญุ าต

การไตส วน: คณะอนุกรรมการไตสวนฯ วินิจฉัยวา นาย ค ควบคุมการกอสรางในการตอกเสา เข็มผิดไปจากแบบแปลนท่ีกําหนดใหใชเสาเข็มทอนเดียวกัน แตนาย ค ใชเสาเข็มท่ีญาติผู ใหญจัดหามาใหโดยเปนเสาเข็ม 2 ทอนตอ แมนาย ค อางวาไมสามารถใชเสาเข็มทอนเดียว เนื่องจากไมสามารถขนสงเสาเข็มมายังพ้ืนที่ที่กอสรางได เพราะทางเขาเปนซอยแคบ แตนาย ค ไมไดแจงขออนุญาตจากวิศวกรผูออกแบบและคํานวณโครงสราง เม่ือมีความเสียหายเกิด ขึ้นจึงไมอาจปฏิเสธความรับผิดชอบในฐานะวิศวกรควบคุมการกอสรางได ถือวาเปนการ กระทําความผิดมรรยาทแหง วชิ าชพี ไมค วบคุมงานที่ไดร ับใหถูกตองตามหลักปฏิบัตแิ ละวิชา การ อันเปนความผิดตามกฎกระทรวงฉบับท่ี 8 (พ.ศ. 2529) ออกตามความในพระราชบัญญัติ วิชาชีพวิศวกรรม พ.ศ. 2505 ขอ 2 (2) “ตองปฏิบัติงานท่ีไดรับทําอยางถูกตองตามหลักปฏิบัติ และวชิ าการ”

การลงโทษ: นาย ค ถูกลงโทษพักใบอนุญาตเปนผูประกอบวิชาชีพวศิ วกรรมควบคุมมีกําหนด 1 ป

เร่ือง: นาย อ (สามัญวิศวกรโยธา) เปนผูมีช่ือในแบบแปลนการกอสรางเปนผูออกแบบและ คํานวณโครงสรา ง แตน าย อ ปฏิเสธวา ตนเองมิไดเ ปนผูออกแบบและคาํ นวณโครงสรา ง มไิ ด ลงลายมือชื่อในแบบแปลนอาคารคอนโดมิเนียม เพราะตนเปนขาราชการไมเคยออกแบบให หนวยงานอนื่ นอกจากหนวยงานตน สงั กัด

การไตสวน: คณะอนุกรรมการไตสวนฯ วินิจฉัยวา นาย อ เปนผูตรวจสอบรายการคํานวณ และแบบแปลนรวมท้ังลงนามในฐานะเปนวิศวกรออกแบบและคํานวณโครงสราง และ นาย อ ปกปดความจริงวาตนไมเกี่ยวของกับการกอสรางคอนโดมิเนียม อันเปนความผิดตามกฎ กระทรวงฉบับท่ี 8 (พ.ศ. 2529) ออกตามความในพระราชบัญญัติวิชาชีพวิศวกรรม พ.ศ. 2505 ขอ 2 (1) ”ไมกระทําการใดๆอันอาจนํามาซ่ึงความเสื่อมเสียเกียรติศักดิ์แหงวิชาชีพ” อีกท้ัง กอนหนาเหตุการณน้ี ก.ว. เคยลงโทษพักใบอนุญาตเปนผูประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม ของนาย อ เปนเวลา 1 ป ฐานกระทําความผิดมรรยาทวิชาชีพโดยปกปดความจริง กรณีออก

25

แบบและคํานวณอาคารซึ่งเกิดการทรุดตัวที่จังหวัดอ่ืน คณะอนุกรรมการไตสวนจึงลงโทษ นาย อ ในสถานหนกั เน่อื งจากเคยทําความผดิ มาแลว

การลงโทษ: ใหเ พกิ ถอนใบอนุญาตเปน ผปู ระกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมของนาย อ

กรณศี ึกษา 6 : อาคารทาวนเฮาส 3 ชั้น มีโครงสรางบางสวนนา จะกอใหเกดิ อนั ตราย

แกผ อู ยูอาศัยในอาคาร การไมปฏิบตั ิงานที่ไดรับทําอยา งถกู ตอ งตามหลักปฏบิ ตั แิ ละวชิ าการ และไมทงิ้ งานโดยไมมีเหตอุ นั ควร

เรอื่ งยอ: อาคารทาวนเฮาส 3 ชน้ั จาํ นวนกวา สามรอยหองในหมูบาน ม มโี ครงสรางอาคารบาง สวนนาจะกอใหเกิดอันตรายแกผูอยูอาศัยในอาคาร ก.ว. จึงมีคําส่ังแตงต้ังคณะอนุกรรมการ ไตสวนผูมีสวนเกี่ยวของ ซึง่ พอสรปุ ไดดงั นี้

เร่ือง: นาย พ (ภาคีวิศวกรโยธา) เปนวิศวกรผูออกแบบและคํานวณโครงสราง และเปนวิศวกร ผคู วบคมุ การกอสรางอาคารทาวนเ ฮาส 3 ช้ัน โดยรับจางบรษิ ัท บ เจาของโครงการหมบู าน ม นาย พ ควบคุมการกอสรางอาคารทาวนเฮาสดังกลาวไมตอเน่ืองโดยไปบางเปนคร้ังคราว เนื่องจากไดรับควบคุมงานที่อ่ืนอีก 2 - 3 แหงดวยในขณะเดียวกัน ซ่ึงเกินความสามารถท่ีจะ ควบคุมการกอสรางไดอยางทั่วถึง ทําใหการกอสรางอาคารดังกลาวมีการกอสรางไมตรงกับ แบบแปลนท่ีไดรับอนุญาต เชน แบบแปลนท่ีไดรับอนุญาตตอทางราชการกําหนดใหใชเหล็ก ขนาด 9 มิลลิเมตร และเสริมเหล็กตะแกรงสองช้ัน แตในการกอสรางจริงใชเหล็กขนาด 6 มิลลิเมตร และเสริมเหล็กตะแกรงเพียงช้ันเดียว เปนตน และเม่ือพบวามีการกอสรางผิดไป จากแบบแปลน นาย พ ก็มิไดสั่งระงับการกอสราง จึงมีความผิดฐานควบคุมงานท่ีไดรับทํา อยางไมถูกตองตามหลักปฏิบัติและวิชาการ และไมอยูควบคุมอยางตอเน่ืองเปนเหตุใหมี การกอสรางผิดไปจากแบบแปลนที่ไดรับอนุญาต ซ่ึงเปนความผิดตามที่กําหนดโดยกฎ กระทรวงฉบับท่ี 8 (พ.ศ. 2529) ออกตามความในพระราชบัญญัติวิชาชีพวิศวกรรม พ.ศ. 2505 ขอ 2 (2) “ตองปฏิบัติงานท่ีไดรับทําอยางถูกตองตามหลักปฏิบัติและวิชาการ” และ (8) “ไมละ ทิ้งงานทไ่ี ดรับทําโดยไมม เี หตอุ ันควร”

การลงโทษ: นาย พ ถกู ลงโทษพกั ใบอนุญาตเปนผูป ระกอบวชิ าชีพวศิ วกรรมควบคุม 1 ป

26

การรองทุกข: นาย ป ซึ่งเปนกรรมการผูจัดการของบริษัท ซ รับเหมากอสรางอาคาร ทาวนเฮาส 3 ชั้นน้ัน ไมมีวิศวกรควบคุมการกอสราง นาย ป จึงมีความผิดฐานประกอบ วิชาชีพวิศวกรรควบคุมโดยไมมีใบอนุญาต ก.ว. อันเปนความผิดตามมาตรา 15 แหงพระราช บญั ญัติวิชาชพี วศิ วกรรม พ.ศ. 2505 ใหรอ งทกุ ขดําเนนิ คดีตอ นาย ป

กรณีศึกษา 7 : ภาคีวศิ วกรสาขาวิศวกรรมเครอื่ งกลตรวจสอบหมอไอน้ํา

การประกอบวิชาชพี วิศวกรรมควบคุมเกินขอบเขตทไี่ ดรบั อนญุ าต

เรื่อง: นาย ก เปนภาคีวิศวกร สาขาวิศวกรรมเคร่ืองกล ไดรับงานตรวจสอบหมออัดไอน้ําให แกโ รงงาน ข และไดด าํ เนินการไปเรียบรอ ยแลว

การไตสวน: คณะอนุกรรมการไตสวนฯ วินิจฉัยวา ตามกฎหมายที่กําหนดลักษณะและขนาด ของงานท่ีผูประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมแตละประเภทสามารถกระทําไดน้ัน หามภาคี วิศวกรสาขาวิศวกรรมเครื่องกล ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมในลักษณะงานพิจารณา ตรวจสอบ ซ่ึงเปนการกระทําผิดฐานประกอบวิชาชีพวิศวกรรมผิดประเภทท่ีระบุไวในใบ อนุญาต การกระทําของนาย ก จึงเปนการฝาฝนมารยาทแหงวิชาชีพตามกฎกระทรวงฉบับที่ 8 (พ.ศ.2529) ออกตามความในพระราชบัญญัติวิชาชีพวิศวกรรม พ.ศ.2505 ขอ 2(1) “ไม กระทําการใดๆอันอาจนาํ มาซึง่ ความเสือ่ มเสียเกยี รตศิ กั ดแ์ิ หง วชิ าชีพ”

การลงโทษ: ใหลงโทษพักใบอนุญาตเปน ผปู ระกอบวชิ าชีพวิศวกรรมควบคมุ มีกําหนด 6 เดอื น

กรณีศึกษา 8 : สามัญวิศวกรลงลายมือชื่อเปนผูตรวจสอบหมอนํ้า 8 แหงเสร็จ

ภายในวันเดียว การปฏบิ ัตงิ านไมถกู ตอ งตามวิธีการและข้ันตอน

เรือ่ ง: นาย ศ เปนสามัญวศิ วกร สาขาวิศวกรรมเครื่องกล ไดลงลายมือช่ือเปนผตู รวจสอบหมอ นา้ํ ของโรงงาน 8 แหง ในจังหวดั สุโขทยั และจงั หวัดฉะเชงิ เทราเสรจ็ ภายในวนั เดยี ว

27

การไตสวน: คณะอนกุ รรมการไตสวนฯ วนิ ิจฉัยวา ในเอกสารการตรวจสอบหมอไอนํ้าของกรม โรงงานอุตสาหกรรม หนา 1 ไดระบุไววา ผูตรวจจะตองทําการตรวจสภาพ และหรือทดสอบ อยางถูกตองตามหลักวิศวกรรม แตในทางปฏิบัติ นาย ศ ไมไดดําเนินการตรวจสภาพหรือ ตรวจสอบตามวิธีการและข้ันตอนที่กําหนดไวในเอกสารหนา 2 และหนา 3 จึงมีเจตนาหลีก เลี่ยงท่ีจะตรวจสอบหมอไอน้ําใหถูกตองตามหลักปฏิบัติและวิชาการ การกระทําของนาย ศ เปนการฝาฝนมารยาทแหงวิชาชีพตามกฎกระทรวงฉบับที่ 8 (พ.ศ.2529) ออกตามความใน พระราชบัญญัติวิชาชีพวิศวกรรม พ.ศ.2505 ขอ 2(2) “ตองปฏิบัติท่ีไดรับทําอยางถูกตองตาม หลักปฏิบัติและวิชาการ” และขอ 2 (1) “ไมกระทําการใดๆอันอาจนํามาซ่ึงความเสื่อมเสีย เกยี รตศิ ักด์แิ หงวิชาชพี ”

การลงโทษ: ใหล งโทษพกั ใบอนุญาตวิชาชีพวิศวกรรมควบคมุ ของนาย ศ มีกาํ หนด 1 ป

กรณีศึกษา 9 : ภาคีวิศวกร สาขาวิศวกรรมเครื่องกล ออกแบบและควบคุมการ

สรา งหมออบไอนํ้า การประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมเกินความสามารถท่ีตนเองจะ กระทําได

เรอ่ื ง: นาย ช เปนภาคีวศิ วกร สาขาวศิ วกรรมเครอ่ื งกล ไดรบั จางใหคํานวณและออกแบบหมอ อบไอน้ําโดยลอกเลยี นแบบจากรูปแบบทกี่ าํ หนดโดยบริษัท จ ที่เปน ผูว าจางสงมาใหแ ละจัดทาํ เปนพิมพเขยี วและ ไดร บั เปน วิศวกรควบคุมการสรางหมอ อบไอนํ้าดังกลา วมาตลอด

การไตสวน: คณะอนุกรรมการไตสวนฯ วินิจฉัยวา โดยที่กฎหมายกําหนดวางานออกแบบ และคํานวณอีกท้ังงานควบคุมการสรางหมออบไอนํ้าเปนงานท่ีผูประกอบวิชาชีพวิศวกรรม ควบคุมสาขาวิศวกรรมเคร่ืองกล ประเภทภาคีวิศวกรไมมีอํานาจกระทํา จึงถือวาการกระทํา ของนาย ก เปนการฝาฝนมารยาทแหงวิชาชีพตามกฎกระทรวงฉบับท่ี 8 (พ.ศ.2529) ออก ตามความในพระราชบัญญัติวิชาชีพวิศวกรรม พ.ศ.2505 ขอ 2(7) “ไมประกอบวิชาชีพ วิศวกรรมควบคุมเกินความสามารถทต่ี นเองจะกระทําได”

การลงโทษ: ใหล งโทษเพิกถอนใบอนุญาตเปนผูประกอบวิชาชพี วศิ วกรรมควบคมุ ของนาย ช

28

กรณีศึกษา 10 : ภาคีวิศวกรสาขาอุตสาหการ ประกอบวิชาชีพในสาขาวิศวกรรม

เครือ่ งกล การประกอบวิชาชีพวศิ วกรรมควบคมุ ผิดประเภทหรอื ผดิ สาขา

เรื่อง: นาย ช เปนภาคีวิศวกร สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ ไดประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบ คุมในสาขาวิศวกรรมเครื่องกล โดยการตรวจสอบรับรองความปลอดภัยในการใชหมอไอนํ้า โรงสี ศ

การไตสวน: คณะอนุกรรมการไตสวนฯ วินิจฉัยวา นาย ช ซึ่งเปนภาคีวิศวกรสาขาวิศวกรรม อุตสาหการไมมีอํานาจกระทําได เพราะเปนงานของสามัญวิศวกร สาขาวิศวกรรมเครื่องกล เทานั้นท่ีจะมีอํานาจกระทําได การกระทําของนาย ช เปนการประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบ คุมผิดประเภทหรือผิดสาขาท่ีระบุไวในใบอนุญาต จึงมีความผิดตามกฎกระทรวงฉบับที่ 8 (พ.ศ.2509) ออกตามความในพระราชบัญญัติวิชาชีพวิศวกรรม พ.ศ.2505 ขอ 2(1) “ไมกระทํา การใดๆอนั อาจนาํ มาซึง่ ความเสื่อมเสียเกียรติศกั ดแิ์ หงวชิ าชพี ”

การลงโทษ: ใหลงโทษพักใบอนุญาตเปนผูประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมของนาย ช เปน เวลา 6 เดอื น

กรณีศึกษา 11 : ภาคีวิศวกรควบคุมโรงงานที่มีคนงานกวา 800 คนและใบอนุญาต

หมดอายุ การประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมเกินขอบเขตที่ไดรับอนุญาตและ ใบอนญุ าต หมดอายุ

เร่ือง: นาย ส เปนภาคีวิศวกร สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ ประกอบวิชาชีพควบคุมโรงงาน ใน ขณะท่ีใบอนุญาตหมดอายุ เปนความผิดตามกฎหมาย อีกท้ังโรงงานที่นาย ส ควบคุมและรับ ผิดชอบอยมู ีคนงานกวา 800 คน

การไตสวน: คณะอนุกรรมการไตสวนฯ วินิจฉัยวา นาย ส ประกอบวิชาชีพในขณะท่ีใบ อนุญาตฯหมดอายุ ซึ่งเปนความผิดตามกฎหมายอีกท้ังควบคุมงานเกินขอบเขตความรับผิด ชอบของภาคีวิศวกรสาขาวิศวกรรมอุตสาหการ จึงเปนการฝาฝนกฎกระทรวงฉบับที่ 8 (พ.ศ.

29

  1. ออกตามความในพระราชบัญญัติวิชาชีพวิศวกรรม พ.ศ.2505 ขอ 2(1) “ไมกระทําการ ใดๆอนั อาจนํามาซ่ึงความเสือ่ มเสียเกยี รติศกั ดแิ์ หง วิชาชีพ”

การลงโทษ: ใหลงโทษพักใบอนุญาตเปนผูประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมของนาย ส มี กาํ หนด 9 เดอื น

กรณีศึกษา 12 : วิศวกรทํางานใหบริษัทหน่ึงแลวไปต้ังบริษัทของตนเองเพ่ือแขงขัน

ราคา การรับงานชน้ิ เดยี วใหแกผ วู าจางรายอ่ืน

เร่อื ง: นาย ร เปนสามัญวศิ วกร สาขาวิศวกรรมไฟฟา แขนงไฟฟาส่ือสาร ในขณะที่ทํางานเปน วิศวกรของบริษัท ฟ มีหนาที่ออกแบบ คิดราคาและควบคุมการติดตั้งระบบไฟฟา ระหวางที่ ทํางานกับบริษัท ฟ นาย ร ไดไปต้ังบริษัท ส โดยมีนาย ร เปนกรรมการผูจัดการและมีนาย ช ซ่ึงเปนวศิ วกรของบริษทั ฟ ทาํ หนา ทเี่ ดียวกันกับนาย ร เปน กรรมการ ตอมาบรษิ ัท ฟ ไดยื่น ประกวดราคาประมูลงานโดยมนี าย ร เปนผูคดิ ราคางาน ปรากฏวาบริษัท ส ไดเ สนอราคาแขง ขันกับบรษิ ัท ฟ โดยที่ นาย ร ไมไดแ จงใหบ ริษทั ฟ ทราบลวงหนา

การไตสวน: คณะอนุกรรมการไตสวนฯ วินิจฉัยวา การกระทําของนาย ร และนาย ช เปนการ สอเจตนาไมสุจริตตอนายจาง พฤติการณดังกลาวของนาย ร และนาย ช ถือไดวาผิดมารยาท แหงวิชาชีพตามกฎกระทรวงฉบับที่ 8 ออกตามความในพระราชบัญญัติวิชาชีพวิศวกรรม พ.ศ.2505 ขอ 2(1) “ไมกระทําการใดๆอันอาจนํามาซึ่งความเสื่อมเสียเกียรติศักด์ิแหงวิชาชีพ” นํามาซึ่งความเส่ือมเสียเกียรติศักดิ์แหงวิชาชีพ และขอ 2 (13) “ไมรับดําเนินงานช้ินเดียวกัน ใหแกผูวาจางรายอ่ืนเพ่ือการแขงขันราคา เวนแตไดแจงใหผูวาจางรายแรกทราบลวงหนาเปน ลายลักษณอักษร และมิไดรับความยินยอมเปนลายลักษณอักษรจากผูวาจางรายแรก และได แจง ใหผ ูวาจางรายอน่ื นน้ั ทราบลวงหนาแลว ”

การลงโทษ: นาย ร ถูกลงโทษพักใบอนุญาตเปนผูประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมมีกําหนด 1 ป และนาย ช ถูกลงโทษพักใบอนุญาตเปนผูประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมมีกําหนด 6 เดือน

30

สรุปและพจิ ารณ

กรณีศึกษาทั้ง 12 กรณีที่ยกมาเปนตัวอยางเพ่ือประกอบการพิจารณาน้ัน เปนกรณีที่ เกิดข้ึนจริงและมีการลงโทษไปแลว จะเห็นไดวาในบางกรณีก็เกิดความเสียหายท่ีปรากฏชัด แจงแลว เชน ในกรณีพังทลาย และบางกรณีมีผูเสียชีวิต แตในบางกรณีความเสียหายชัดแจง อาจยังไมปรากฏแตมีส่ิงบอกเหตุวาอาจเกิดความเสียหายท่ีรายแรงได การลงโทษหนักเบามี ความแตกตางกัน โทษหนักจะเปนการกระทําผิดซํ้าซากหรือการไมควบคุมดูแลอยางใกลชิด เม่ือรูอยูวางานที่ควบคุมกอสรางนั้นไมถูกหลักปฏิบัติและวิชาการ สําหรับการลงโทษทุกกรณี จะเปน ไปตามอํานาจทีร่ ะบไุ วใ นกฎหมายและจะมกี ารสงตอ ใหรอ งทุกขดาํ เนนิ คดตี อไป

กรณศี ึกษาท้ัง 12 กรณีเปนการไตสวนและพจิ ารณาลงโทษตามกฎกระทรวงฉบับท่ี 8 (พ.ศ. 2529) ออกตามความในพระราชบัญญัติวิชาชีพวิศวกรรม พ.ศ. 2505 ซึ่งไดกําหนด มรรยาทแหงวิชาชพี ของผูประกอบวิชาชพี วศิ วกรรมควบคมุ เม่ือรางขอบงั คบั สภาวิศวกรวา ดวยจรรยาบรรณแหงวิชาชีพวิศวกรรมและประพฤติผิดจรรยาบรรณ อันอาจจะนํามาซ่ึง ความเสื่อมเสียเกียรติศักด์ิแหงวิชาชีพ พ.ศ. 2543 ไดผานข้ันตอนการลงนามจากรัฐมนตรีและ ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแลว การไตสวนและพิจารณาโทษก็จะใชจรรยาบรรณแหงวิชาชีพฯ แทนมรรยาทแหงวิชาชีพฯ แตเน่ืองจากสาระของจรรยาบรรณแหงวิชาชีพฯ เหมือนกับ มรรยาท แหงวิชาชีพฯทุกประการ จงึ คาดวาการดําเนินการไตสวนพิจารณาโทษจะมีความตอเน่ืองและไมมี ความแตกตางจากแนวเดมิ ทีเ่ คยปฏิบตั กิ ันมา

หมายเหตุ ขอแนะนาํ ใหอานหนงั สอื ดังตอไปน้ี 1. ”กรณีศึกษาเพื่อการเรียนการสอนสงเสริมคุณธรรมและจรรยาบรรณ

สําหรับวิศวกร” ในโครงการสงเสริมคุณธรรม จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย โดยศาสตราจารย ดร.มงคล เดชนครนิ ทร คณะวิศวกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวทิ ยาลยั

31