ก าซ ออกซ เจน 48.0 กร ม ม ก อะตอม

สภาวะออกซิเจนต่ำนั้นจะพบได้บ่อยกว่าสภาวะออกซิเจนสูง เนื่องจากการเกิดสภาวะออกซิเจนสูงต้องเกิดจากการได้รับออกซิเจนบริสุทธิ์ในปริมาณที่มากเป็นระยะเวลาหลายชั่วโมง ซึ่งการจะได้รับออกซิเจนบริสุทธิ์นั้นจะต้องอยู่ในการดูแลของผู้เชี่ยวชาญเท่านั้น

1. เปรียบเทียบจำ�นวนโมลของแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ (CO 2 ) และแก๊สไฮโดรเจน (H 2 ) ที่มี ปริมาตร 5.6 มิลลิลิตร ที่ STP แก๊ส 1 โมล มีปริมาตร 22.4 ลิตร ที่ STP ดังนั้นแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์และแก๊สไฮโดรเจน ซึ่งมีปริมาตรเท่ากันที่ STP จึงมีจำ�นวนโมลเท่ากัน 2. คำ�นวณมวล โมล จำ�นวนอนุภาค และปริมาตรที่ STP ของสารต่อไปนี้ 3. แก๊สออกซิเจน (O 2 ) 48.0 กรัม มีความหนาแน่นเท่าใดที่ STP ปริมาตรของ O 2 ที่ STP = 48.0 g O 2 × 1 mol O 2 32.00 g O 2 × 22.4 L 1 mol O 2 = 33.6 L ความหนาแน่นของ O 2 ที่ STP = 48.0 g 33.6 L = 1.43 g/L ดังนั้น แก๊สออกซิเจนมีความหนาแน่น 1.43 กรัมต่อลิตร ที่ STP 4. ความหนาแน่นที่ STP ของแก๊สฮีเลียม (He) มากกว่าหรือน้อยกว่าอากาศ เพราะเหตุใด อากาศมีความหนาแน่นมากกว่าแก๊สฮีเลียม เนื่องจากอากาศมีแก๊สไนโตรเจนและแก๊ส ออกซิเจนเป็นองค์ประกอบหลัก ซึ่งแก๊สทั้งสองมีมวลโมเลกุลมากกว่าแก๊สฮีเลียม แบบฝึกหัด 4.4 แก๊ส มวล (g) โมล (mol) จำ�นวนอนุภาค (โมเลกุลหรืออะตอม) ปริมาตรที่ STP (L) โอโซน (O 3 ) 2.40 0.0500 3.01 × 10 22 1.12 คลอรีน (Cl 2 ) 2.40 0.0339 2.04 × 10 22 0.758 มีเทน (CH 4 ) 0.802 0.0500 3.01 × 10 22 1.12 อาร์กอน (Ar) 0.200 0.0500 3.01 × 10 22 1.12 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี บทที่ 4 | โมลและสูตรเคมี เคมี เล่ม 2 30

Made with FlippingBook

RkJQdWJsaXNoZXIy NzMxODQ4