คำส งแต งต งคณะกรรมการจ ดงานพระราชทานปร ญญาบ ตร 2560-2561 ม.ขอนแก น

ใหม่ 4) กลุ่มวิชาการบริหารกิจการร่วมรัฐ-เอกชน 5) กลุ่มวิชาการบริหารจัดการความขัดแย้งและหลักสูตร 2 ปริญญา (Dual

Degree) ระดับปริญญาโท ระหว่างวิทยาลัยการปกครองท้องถ่ิน มหาวิทยาลัยขอนแก่น และ Northern Illinois University

และระดับปริญญาเอก 1) หลกั สตู รรัฐประศาสนศาสตรดุษฎบี ัณฑิต สาขาวิชาการบรหิ ารกจิ การสาธารณะ (หลกั สตู รนานาชาติ)

การดาเนินการของวิทยาลัยการปกครองท้องถิ่นเป็นไปตามกระบวนการของระบบประกันคุณภาพ โดยใช้เกณฑ์อุดมศึกษาของ

สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) และหลักสูตรของวิทยาลัยได้ผ่านการรับรองคุณภาพ การประกันคุณภาพ

หลกั สูตรทุกหลักสตู ร ส่งผลให้บัณฑิตของวทิ ยาลัยการปกครองท้องถ่ินไดร้ บั การยอมรับ จากผ้ปู ระกอบการและสังคม

การดาเนินงานในรอบ 1 ปีท่ีผ่านมา วิทยาลัยได้ดาเนินการในหลายภารกิจเพ่ือให้เกิดกระบวนการ ที่จะขับเคลื่อน

องค์กรไปสู่ความเป็นสากล อันได้แก่ การพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตร การสนับสนุนให้มีผลงานด้านการวิจัย การตีพิมพ์ใน

วารสารนานาชาติและสื่อส่ิงพิมพ์ทั้งวารสารการบริหารท้องถ่ิน วารสาร Journal of African & Asian Local Government

Studies พร้อมท้ังสนับสนุนให้มีการจัดประชุมวิชาการระดับชาติ อีกทั้งวิทยาลัยยังเป็นหน่วยงานหลัก ในการประสานงาน

โครงการบริการวิชาการ โดยจัดโครงการบริการวิชาการเพื่อสังคม และการสร้าง ความร่วมมือร่วมกับภาคีเครือข่าย

ท้งั ภายในประเทศและต่างประเทศอีกด้วย รองศำสตรำจำรย์ ดร.ศุภวฒั นำกร วงศ์ธนวสุ

คณบดวี ทิ ยำลยั กำรปกครองทอ้ งถน่ิ

2|Page

วสิ ยั ทศั น์

ศูนย์กลางในการเรยี นรดู้ า้ นการบรหิ ารท้องถิน่ ของอาเซยี น Asean Learning Center on Local Administration

ปรชั ญำ

“ความหลากหลายทางความคดิ กอ่ ใหเ้ กดิ นวตั กรรมทางการบริหาร ทนี่ าไปสูก่ ารเปล่ียนแปลงสงั คม”

Diversity of ideas creates management innovation that ignites and

propels social transformation

ปณิธำน

“เสรมิ ฐานรากประชาธิปไตยเพื่อการพฒั นา สร้างรากฐานการบรหิ ารท้องถนิ่ สู่สากล” "Strengthening the Foundation of Democracy and Development in Thailand. Laying the Foundation of Local Administration

Throughout the World"

อตั ลกั ษณ์

Servant Leadership “ผู้นาในการรบั ใชส้ ังคม”

3|Page

พนั ธกจิ

วิทยาลัยการปกครองทอ้ งถ่นิ มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ เปน็ องค์กรทม่ี ุ่งสรา้ งและพฒั นาความรคู้ วามสามารถและจรรยาบรรณในการบรหิ าร แก่บุคลากรของหน่วยงานตา่ งๆ ท้งั ภาครฐั และองค์กรปกครองสว่ นท้องถิ่นท่ัวประเทศ

ยดึ มั่นในการรับใช้และบรกิ ารสงั คม โดยการค้นหาและสร้างองค์ความรู้ เพอื่ นาไปใชใ้ นการพัฒนาทอ้ งถ่ินบนพน้ื ฐานของคุณธรรมและจรยิ ธรรม

วตั ถุประสงค์

1. เพื่อจัดการศึกษาระดับปริญญาตรีและระดับบัณฑิตศึกษาทางด้านการบริหารจัดการ และการพัฒนาท้องถิ่น

2. เป็นแหลง่ พฒั นาวชิ าการและใหบ้ รกิ ารวชิ าการทางด้านการพฒั นาและการปกครองทอ้ งถิ่น 3. ร่วมมือทางวิชาการทางด้านการบริหารการปกครองท้องถ่ินกับหน่วยงานท้ังภาครัฐ

และภาคเอกชนทง้ั ในและตา่ งประเทศ 4. เป็นศนู ยก์ ลางของนวตั กรรมทางการบรหิ ารเพื่อการพัฒนาท้องถิน่

นโยบำยคณุ ภำพ

วิทยาลัยการปกครองท้องถิน่ มหาวทิ ยาลัยขอนแกน่ เป็นองค์กรในกากับของมหาวทิ ยาลัยขอนแกน่ ท่ีมีธรรมภบิ าลในการบรหิ ารจดั การ

และมีมาตรฐานในการจัดการศกึ ษาและบริการวิชาการแกส่ ังคม บนหลกั การของการสรา้ งเครือข่ายและภาคหี นุ้ สว่ น

เพ่อื นาไปสคู่ วามมัน่ คงของสังคมและประเทศชาติต่อไป

4|Page

วฒั นธรรม/คำ่ นิยมขององคก์ ำร

SPEED เปน็ วัฒนธรรมองคก์ ารของวทิ ยาลยั การปกครองท้องถ่ิน มหาวทิ ยาลัยขอนแกน่ โดยเน้นให้บุคลากรทุกระดบั มคี วามกระตอื รือร้นในการทางาน มีความรบั ผดิ ชอบงานและวัฒนธรรมการทางาน

คน 1 คน ต้องทางานหลากหลายหน้าท่ี ดว้ ยความรคู้ วามสามารถอยา่ งมอื อาชีพ และตระหนักในการให้บรกิ ารทเี่ ปน็ เลศิ วา่ เปน็ ส่ิงจาเปน็ ต่อการคงอยขู่ ององค์การ

Core Values ทเี่ รยี กวา่ SPEED ประกอบด้วย

S = Service Mind การมจี ิตท่ีพรอ้ มจะให้บรกิ ารกลมุ่ ผรู้ บั บริการ ทง้ั ทางด้านการ

ผลิตบณั ฑติ เพอื่ รับใช้สังคม การวจิ ยั เพ่อื สรา้ งองค์ความรเู้ พื่อการพฒั นาชุมชน และท้องถน่ิ ตลอดจนการใหบ้ ริการวิชาการทางสังคม

P = Professionalism การทางานของบคุ ลากรทกุ ระดบั แบบมืออาชีพ ทม่ี กี าร

ปฏบิ ตั ิงานบนฐานของความรู้หลักการอยา่ งมคี วามชานาญมีความคดิ สรา้ งสรรค์

E = Enthusiastic ความกระตือรอื ร้น กระฉบั กระเฉงท่ีจะเพม่ิ ประสิทธิภาพใน

การปฏิบตั งิ าน

E = Engagement ความผูกพนั ในองค์กร และตระหนกั ว่าตนเองเป็นส่วนหนง่ึ

ขององค์การ

D = Diversity and Team work การมงุ่ เนน้ การทางานรว่ มกนั เปน็ ทีม และ

ยอมรับความคิดเหน็ ท่แี ตกต่าง เพอ่ื การนาไปสู่ความสาเร็จของสว่ นรวม

5|Page

ประเด็นยุทธศำสตร์และเป้ ำประสงค์ ประเด็นยทุ ธศำสตร์ เป้ ำประสงค์

(Strategic Issues) (Goals)

1. ระบบกำรบรหิ ำรจดั กำรทดี่ ี วิทยาลัยการปกครองท้องถิ่นเป็นองค์ที่มีระบบการบริหารจัดการที่ดี มีธรรมา ภิ

บาลมีขีดสมรรถนะ ในการทางานสูง (High Performance Organization) และ

เป็นองคท์ ม่ี ีสุขภาวะ (Healthy Organization)

2. กำรผลติ บณั ฑติ บัณฑิตของวิทยาลัยการปกครองท้องถ่ิน มีความรู้ ความสามารถ ด้วยวิชาการ มี

ความท่ีจะเป็นผู้นา ในทุกระดับอย่างมีคุณภาพ มีคุณธรรม จริยธรรม มีการเรียนรู้

อย่างต่อเนอื่ ง ตลอดชีวติ และมคี วามรับผดิ ชอบตอ่ สังคม

3. กำรพฒั นำนกั ศกึ ษำ วิทยาลัยการปกครองท้องถ่ิน มุ่งพัฒนานักศึกษาให้เป็นทรัพยากรมนุษย์ที่มีคุณค่า

ต่อสังคม มีคุณธรรม จริยธรรม ความรับผิดชอบต่อสังคม ทันต่อการเปลี่ยนแปลง

ของโลก

4. กำรวจิ ยั วิทยาลัยการปกครองท้องถ่ินเป็นผู้นาการวิจัยด้านการบริหารและพัฒนาท้องถ่ิน

ได้รับการยอมรับทั้งในระดับชาติและระดับนานาชาติ และสามารถไปใช้ประโยชน์

ในการผลิตบัณฑิต บริการวิชาการแก่สังคม ทานุบารุงศิลปวัฒนธรรมและเพิ่ม

ประสิทธิภาพในการบรหิ ารจดั การองค์การ

5. กำรบรกิ ำรวชิ ำกำร วิทยาลัยการปกครองท้องถ่ินเป็นศูนย์กลางในการให้บริการวิชาการด้านการ

ปกครองท้องถิ่นของภูมิภาคอาเซียน รวมทั้งเพิ่มความหลากหลายของโครงการ

บริการวิชาการ

6. กำรทำนุบำรงุ ศลิ ปวฒั นธรรม วิทยาลัยการปกครองท้องถ่นิ มุ่งอนุรักษ์ สง่ เสรมิ ศลิ ปวฒั นธรรมและสรา้ งมูลค่าเพิ่ม

เพอื่ นาไปสกู่ ารพัฒนาเศรษฐกจิ ตามหลักการเศรษฐกจิ สรา้ งสรรค์

7. กำรพฒั นำคณุ ภำพ วิทยาลัยการปกครองท้องถิ่นมีการบริหารและการดาเนินงานขององค์กรภายใต้ และระบบประกนั คณุ ภำพ ระบบประกันคณุ ภาพ

8. ศษิ ย์เกำ่ และชุมชนทดี่ ี วิทยาลัยการปกครองท้องถิ่นได้รับการสนับสนุนการดาเนินงานตามพันธกิจหลัก

จากศิษย์เก่าและชุมชนทั้งในประเทศและต่างประเทศ และเป็นหนุ้ ส่วนพันธมิตรใน

การพฒั นาชุมชนทอ้ งถ่นิ

9. กำรบรหิ ำรสนิ ทรพั ย์และกำรหำ วิทยาลัยการปกครองท้องถ่ินมีการบริหารสินทรัพย์ที่มีประสิทธิภาพอันจะนาไปสู่ รำยได้เพิ่ม เพื่อกำรพ่ึงพำตนเอง การมีเสถยี รภาพทางการเงิน อย่างยง่ั ยืน อยำ่ งย่งั ยืน

6|Page

ประวตั คิ วำมเป็ นมำของวทิ ยำลยั กำรปกครองทอ้ งถนิ่

วิทยาลัยการปกครองท้องถ่ิน ซึ่งมีฐานะเป็นหน่วยงานระดับคณะท่ีเป็นองค์กรในกากับของมหาวิทยาลัยขอนแก่น มีพัฒนาการ เริม่ ตน้ มาจากความตระหนกั ร่วมกับกรมส่งเสรมิ การปกครองท้องถน่ิ กระทรวงมหาดไทย ว่า การกระจายอานาจและศักยภาพการบริหาร จัดการภาครัฐที่ดี ว่าเป็นเง่ือนไขสาคัญที่จะทาให้เกิดการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศชาติ แต่เมื่อกรมส่งเสริมการปกครอง ท้องถิ่นได้ทาการสารวจคุณวฒุ ิของบุคลากรสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในปี พ.ศ.2546 พบว่ามีผู้สาเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี เพียง 4,600 คน จากจานวนท้ังสิ้นมากกว่า 2 แสนคน ส่วนในระดับปริญญาโทนั้นยงิ่ มีจานวนน้อยมาก ย่ิงไปกว่านั้นยงั พบวา่ ผ้ทู ่ีสาเรจ็ การศึกษาเหลา่ นีเ้ กอื บทัง้ หมดยังไม่มีองค์ความรู้เรื่องการกระจายอานาจ และการบริหารจัดการท่ดี ี ดงั นั้นจงึ เปน็ ความจาเปน็ เรง่ ด่วนท่ีกรม ส่งเสริมการปกครองท้องถ่ินจะต้องพัฒนาบุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้มีความรู้ ความสามารถ ตลอดจนความเช่ียวชาญในการ บริหารงานท้องถ่ิน และเพิ่มขีดความสามารถในการปฏิบัติงานภาคสาธารณะ เพ่ือตอบสนองความต้องการของประชาชนในเขตพ้ืนท่ี รับผิดชอบให้อยู่ในระดับท่ีสูงขึ้นต่อไป

7|Page

ต่อมาในปี พ.ศ.2548 กรมส่งเสริมการปกครอง ท้องถ่ิน ได้ทาการประสานกับมหาวิทยาลัยขอนแก่น ใน การพัฒนาหลักสูตรเพื่อเสริมสร้างศักยภาพทางการ บริหารของบุคลากรสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน

โดยมหาวิทยาลัยทั้งสองหน่วยงานมองว่า ทรัพยากร บุคคลขององค์กรปกครองสว่ นท้องถ่ินเป็นตัวขบั เคล่ือน หลักของการพัฒนาท้องถิ่น และจะต้องสามารถ ตอบสนองความต้องการของประชาชนในท้องถ่ินอัน

จึงจะเกิดประโยชน์สูงสุดแก่คนในชาติได้ ด้วยเหตุผล และความจาเป็นดังกล่าว มหาวิทยาลัยขอนแก่นจึง ได้ร่วมมือกับกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น กระทรวงมหาดไทย ในการสร้างหลักสูตร การศึกษาในระดับปริญญาตรีและปริญญาโทเพ่ือพัฒนาบคุ ลากร ขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน โดยได้รับความเห็นชอบเชิงนโยบายจากสภามหาวิทยาลัยใน คราวประชุมครั้งที่ 1/2548 เม่ือวันท่ี 2 กุมภาพันธ์ 2548 ให้ดาเนินการโครงการความร่วมมือทางวิชาการกับกรมส่งเสริมการปกครอง ท้องถ่นิ เพอื่ เปิดสอนหลกั สูตรรฐั ประศาสนศาสตรบณั ฑิต และหลกั สตู รรัฐประศาสนศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวิชาการปกครองทอ้ งถน่ิ ต่อมาเม่ือวันท่ี 20 พฤษภาคม 2548 มหาวิทยาลัยขอนแก่นและกรมส่งเสริมการปกครองท้องถ่ิน ได้ลงนามบันทึกข้อตกลงว่า ด้วยความร่วมมือทางวิชาการให้มหาวิทยาลัยขอนแก่นเปิดหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิตและรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการปกครองท้องถ่ินเพ่ือพัฒนาและเตรียมความพร้อมในการรองรับภารกิจท่ีจะถ่ายโอนมาจากส่วนกลางตามนโยบายกระจาย อานาจของรัฐบาลให้แก่บุคลากรสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นท่ัวประเทศมหาวิทยาลัยขอนแก่นได้เปิดรับนักศึกษารุ่นแรกในปีพ.ศ. 2548 โดยหลกั สูตรท่ีจัดขึน้ น้ี ในระยะเรม่ิ แรกอยู่ภายใต้การดาเนนิ งานของคณะมนุษยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลยั ขอนแกน่ และ ต่อมาด้วยจานวนนักศึกษาท่ีเพิ่มข้ึน กอปรกับมหาวิทยาลัยขอนแก่นมีนโยบาย จะขยายและพัฒนาหลักสูตรอื่น ๆ เพื่อให้ครอบคลุมทุก ภารกิจ และตอบสนองความต้องการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นท่ีมุ่งเสริมสร้างศักยภาพและความพร้อมในการบริหารตามแนวทาง ของการกระจายอานาจและเพ่ือให้การบริหารจดั การองคก์ รและการบริการวิชาการแก่นกั ศึกษาเกิดความคลอ่ งตัวและมีประสทิ ธิภาพมาก ย่ิงข้ึน ที่ประชุมคณะกรรมการอานวยการหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการปกครองท้องถิ่น คราวประชุมคร้ังท่ี 1/2549 เม่อื วันที่ 20 มนี าคม 2549 จงึ มีมตเิ ห็นชอบใหจ้ ัดตงั้ หน่วยงานในการบริหารจัดการภารกิจร่วมระหว่างมหาวิทยาลัยขอนแก่นและ กรมส่งเสริมการปกครองท้องถ่ินข้ึน เม่ือวันท่ี 1 กรกฎาคม 2549 โดยมีชื่อว่า “สานักงานโครงการความร่วมมือ ระหว่างมหาวิทยาลัย ขอนแก่นและกรมสง่ เสริมการปกครองท้องถิ่น กระทรวงมหาดไทย” ตามประกาศ มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ ฉบบั ที่ 759/2549 ต่อมาเพ่ือให้เกิดความคล่องตัวในการบริหารจัดการและให้เห็นเป็นรูปธรรมของการเตรียมความพร้อมของบุคลากรขององค์กร ปกครองสว่ นท้องถน่ิ ทจี่ ะเขา้ มารับภารกิจทจ่ี ะเพิม่ ข้นึ และอกี ประการก็เพื่อให้มีหน่วยงานที่รบั ผิดชอบการดาเนินการจัดการเรยี น การสอน ที่ชัดเจนย่ิงข้ึน ดังน้ันท่ีประชุมคณะกรรมการบริหารสานักงานโครงการความร่วมมือฯ คราวประชุมคร้ังที่ 3/2549 เมื่อวันที่ 4 ธันวาคม 2549 จงึ มีมติเหน็ สมควรใหป้ รบั ปรุงระบบการบริหารจากสานักโครงการความร่วมมือฯ เป็นหนว่ ยงานท่เี ทียบเทา่ ระดบั คณะในการจัดการ เรยี นการสอน และเพอ่ื เป็นการควบคุมคณุ ภาพตามมาตรฐานของมหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น และเพื่อให้เกิดความรว่ มมือในการใชบ้ ุคลากรจาก หนว่ ยงานต่าง ๆ จากภายในและหนว่ ยงานภายนอกอื่นๆ ทง้ั ภาครฐั และเอกชน โดยคาแนะนาของทป่ี ระชุมจึงเกิดการต้ังช่ือหนว่ ยงานใหม่ ว่า “วิทยาลัยการปกครองท้องถ่นิ มหาวทิ ยาลัยขอนแก่น”และใหห้ น่วยงานดังกล่าวมสี ถานะเปน็ องคก์ รในกากับของมหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น

8|Page

เทียบเท่าคณะวชิ า ตามขอ้ บงั คบั มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่นวา่ ดว้ ยองค์กรในกากับมหาวิทยาลัยขอนแกน่ พ.ศ.2539 และให้การบริหารงานของ วิทยาลัยการปกครองท้องถ่ินเป็นไปตามระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่นว่าด้วยวิทยาลัยการปกครองท้องถิ่น มหาวิทยาลัยขอนแก่น หลักการดังกล่าวได้ผ่านความเห็นชอบจากที่ประชุมคณบดีคราวประชุมคร้ังที่ 3/2550 เมื่อวันท่ี 9 กุมภาพันธ์ 2550 และท่ีประชุมสภา มหาวิทยาลัย คราวประชุมครั้งท่ี 4/2550 เม่ือวันที่ 4 เมษายน 2550 มีมติอนุมัติให้จัดตั้ง “วิทยาลัยการปกครองท้องถ่ิน มหาวิทยาลยั ขอนแก่น” ในวนั ดงั กลา่ วนที้ างวิทยาลัยฯ ถอื วา่ เป็น วนั สถาปนาวิทยาลยั การปกครองทอ้ งถ่ิน

สถำนทตี่ ง้ั และตดิ ตอ่

ท่ีอยู่ วทิ ยาลัยการปกครองทอ้ งถน่ิ มหาวทิ ยาลัยขอนแก่น ถนนมติ รภาพ

ตาบลในเมือง อาเภอเมือง จงั หวัดขอนแกน่ 40002

โทรศพั ท์ 043-203-124 โทรสาร 043-203-875

มือถอื 089-711-8964 ID Line COLAKKU

Website www.cola.kku.ac.th Email [email protected]

Fecebook วทิ ยาลยั การปกครองท้องถนิ่ มหาวิทยาลยั ขอนแก่น

9|Page

พฒั นำกำรของวทิ ยำลยั กำรปกครองทอ้ งถนิ่

STRAT 2548

12 กมุ ภาพันธ์ 2548 สภามหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ 28 พฤษภาคม 2548 พธิ ีลงนามในบนั ทึก ในคราวประชุมคร้งั ท่ี 1/2548 มีมติเหน็ ชอบ ข้อตกลงว่าดว้ ย ความร่วมมอื ทางวิชาการ โครงการความรว่ มมือทางวชิ าการหลักสตู ร รัฐ ระหว่างกรมสง่ เสรมิ การปกครองทอ้ งถนิ่ โดย ประศาสนศาสตรบัณฑิต และหลกั สูตรรฐั นายสาโรส คชั มาตย์ อธบิ ดกี รมสง่ เสริมการ ประศาสนศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวชิ าการ ปกครองทอ้ งถน่ิ กบั มหาวิทยาลยั ขอนแกน่ โดย ปกครองท้องถน่ิ ระหวา่ งกรมส่งเสริมการปกครอง รองศาสตราจารย์ ดร.สุมนต์ สกลไชย อธกิ ารบดี ทอ้ งถน่ิ กระทรวงมหาดไทย และ มหาวิทยาลยั ขอนแกน่ ทั้งนม้ี ีนายสมชาย มหาวิทยาลยั ขอนแกน่ สุนทรวฒั น์ รฐั มนตรีช่วยว่าการกระทรวง มหาดไทย เปน็ ประธานในพธิ ีลงนาม 10 | P a g e เพื่อจัดการศกึ ษาระดับปริญญาโท หลกั สตู ร รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวชิ าการ ปกครองท้องถิ่น เปน็ รนุ่ ท่ี 1 และแห่งแรก ของประเทศไทย

24 พฤศจกิ ายน 2548 1 กรกฎาคม 2549 มหาวทิ ยาลัยขอนแกน่ มหาวทิ ยาลัยขอนแกน่ ได้ลง ไดจ้ ัดตงั้ “สานักงานโครงการความร่วมมือ นามในบนั ทึกขอ้ ตกลงความ ระหวา่ งมหาวทิ ยาลยั ขอนแก่นและกรม รว่ มมอื ทางวชิ าการกบั ส่งเสรมิ การปกครองท้องถน่ิ ” โดยรบั การ กรมส่งเสริมการปกครองท้องถน่ิ ถ่ายโอนภารกิจในการบรหิ ารจัดการ เพอื่ จัดการศกึ ษาระดับปริญญา หลักสูตรภายใตค้ วามร่วมมือทั้งหมด ตรี หลกั สตู รรัฐประศาสนศาสตร จากคณะมนษุ ยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ บัณฑติ สาขาวชิ าการปกครอง อย่ภู ายใต้การกากบั ดแู ลของสานกั งาน ทอ้ งถนิ่ เป็นรุ่นที่ 1 ร่วมกบั อธิการบดี สถาบันการอดุ มศึกษา 34 แหง่ ทวั่ ประเทศไทย 10 มิถุนายน 2550 พธิ ีเปิดสานกั งาน คณบดีวทิ ยาลยั การปกครองท้องถ่ิน 4 เมษายน 2550 สภามหาวิทยาลัยขอนแก่น ใน ณ ชน้ั 6อาคารศูนยบ์ ริการวชิ าการ คราวประชมุ ครัง้ ที่ 2/2550 มีมตใิ หจ้ ดั ตงั้ วทิ ยาลยั มหาวิทยาลัยขอนแกน่ โดยไดร้ ับเกียรติ การปกครองทอ้ งถิ่น เป็นองคก์ รในกากบั ตาม จาก พล.ต.ต.ธรี วฒุ ิ บตุ รศรีภูมิ รัฐมนตรี ประกาศสภามหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ ฉบบั ท่ี 1/2553 ชว่ ยกระทรวงมหาดไทย ในขณะน้นั ให้มหี น้าที่รบั ผิดชอบจัดการศกึ ษาหลักสูตรรฐั เปน็ ประธาน ประศาสนศาสตรบัณฑิต และหลกั สตู รรฐั ประศาสนศาสตรมหาบณั ฑติ 18 ธันวาคม 2550 มหาบณั ฑิต จานวน 1,239 คน ของหลกั สูตร 9 สิงหาคม 2550 รองศาสตราจารย์ รฐั ประศาสนศาสตรมหาบณั ฑิต ดร. พีรสทิ ธิ์ คานวณศลิ ป์ สาขาวิชาการปกครองท้องถิน่ ร่นุ แรก ดารงตาแหน่ง รกั ษาการในตาแหน่ง เขา้ รับพระราชทานปริญญาบัตร คณบดวี ิทยาลยั การปกครองท้องถนิ่

11 | P a g e

23 มกราคม 2551 7 กุมภาพนั ธ์ 2551 รองศาสตราจารย์ มหาวทิ ยาลัยขอนแกน่ ได้ลงนามใน ดร. พีรสทิ ธิ์ คานวณศิลป์ ดารงตาแหนง่ บนั ทึกขอ้ ตกลงความรว่ มมือทางวชิ าการ เป็นคณบดวี ิทยาลัยการปกครองทอ้ งถน่ิ กับกรมสง่ เสริมการปกครองทอ้ งถน่ิ เพอ่ื ซ่งึ ได้ดารงตาแหนง่ ต้งั แตว่ นั ที่ 7 กมุ ภาพนั ธ์ จดั การศกึ ษาระดับปรญิ ญาตรี 2551 ถึงวนั ท่ี 6 กมุ ภาพนั ธ์ 2555 รฐั ประศาสนศาสตรบณั ฑติ สาขาวชิ า การจดั การการคลัง และหลกั สูตร เทคโนโลยีบณั ฑติ สาขาวชิ าการจัดการ งานชา่ งและผังเมือง

22 เมษายน 2551 มหาวิทยาลยั ขอนแก่น 7 มิถุนายน 2551 พธิ วี างศิลาฤกษ์ก่อสร้างอาคารวทิ ยาลัยการปกครอง เคยลงนามในบนั ทึกขอ้ ตกลงความร่วมมอื ท้องถ่ิน โดยมีนายบญุ ลอื ประเสริฐโสภา รฐั มนตรชี ว่ ยกระทรวงศกึ ษาธิการ ทางวิชาการกับกองบัญชาการศึกษา ในขณะนัน้ เป็นประธาน สานักงานตารวจแห่งชาติครัง้ แรก ในสมยั ศาสตราจารย์ เกยี รตคิ ุณ ดร.สุมนต์ สกล ไชย เปน็ อธกิ ารบดี ตอ่ มาจึงไดล้ งนามเป็น ครั้งท่ี 2 โดย รองศาสตราจารย์ ดร.กติ ตชิ ัย ไตรรัตนศิริชยั เพื่อจัดการศกึ ษาระดบั ปริญญาโท หลกั สูตรรฐั ประศาสนศาสตร มหาบัณฑติ วิชาเอกการบรหิ ารงานตารวจ และชมุ ชนเปน็ แหง่ แรกของประเทศไทย

1 ตลุ าคม 2552 วิทยาลัยการปกครอง 24 พฤษภาคม 2553 พธิ ีเปดิ อาคารวทิ ยาลยั การปกครองทอ้ งถิ่น โดยมี ท้องถิน่ ได้ลงนามในบันทึกขอ้ ตกลง ฯพณฯ ศ.นพ.เกษม วฒั นชัย องคมนตรี เปน็ ประธานในพิธี ความร่วมมอื ทางวชิ าการคร้งั แรก กับ University of Missouri, Columbia และ University of Hawaii ประเทศ สหรัฐอเมริกาในสมัย ศาสตราจารย์ เกยี รติคุณ ดร.สุมนต์ สกลไชย เป็นอธกิ ารบดี เพื่อพฒั นาหลกั สูตร ปริญญาเอก Doctor of Public Administration in Public Affairs Management

12 | P a g e

7 กุมภาพันธ์ 2555 20 กนั ยายน 2555 วทิ ยาลยั การปกครอง สภามหาวทิ ยาลัยขอนแกน่ ทอ้ งถิ่น ไดล้ งนามในบนั ทกึ ขอ้ ตกลง แต่งต้งั รองศาสตราจารย์ ความรว่ มมอื ทางวิชาการกบั Northern ดร.ศภุ วัฒนากร วงศธ์ นวสุ Illinois University, Dekalb, Illinois, ดารงตาแหน่ง คณบดี USA ในการพฒั นาหลักสตู ร 2 ปริญญา วิทยาลยั การปกครอง (Dual Degree) ระดับปริญญาโท หลักสตู ร ท้องถิน่ คนที่สอง รัฐประศาสนศาสตรมหาบณั ฑิต (Master of Public Administration) 25 มนี าคม 2557 มหาวทิ ยาลัยขอนแกน่ โดย รองศาสตราจารย์ ดร.กติ ตชิ ัย ไตรรัตนศิรชิ ัย 25 เมษายน 2557 รองศาสตราจารย์ อธกิ ารบดี ได้ลงนามเพอ่ื ขยายความรว่ มมือทางดา้ น ดร.กติ ตชิ ยั ไตรรตั นศริ ชิ ัย อธกิ ารบดี ร่วม วิชาการ กบั University of Hawai’i at Manoa ลงนามในบันทึกขอ้ ตกลงความรว่ มมอื โดย Chancellor Tom Apple เพอื่ รว่ มกนั จัดการ ทางวิชาการ กบั Dr. R. Bowen Loftin เรียนการสอนหลกั สูตร Doctor of อธิการบดี University of Missouri at Public Administration, Public Affairs Columbia เพือ่ ขยายเวลาความร่วมมอื Management (International Program) ของ ทางวิชาการระหวา่ งสองสถาบนั วทิ ยาลยั การปกครองท้องถิน่ มหาวิทยาลยั ขอนแก่น 29 พฤษภาคม 2558 วิทยาลยั การปกครองทอ้ งถ่ิน รว่ มลงนามบนั ทึกขอ้ ตกลง 7 พฤศจิกายน 2557 วิทยาลยั การ ความร่วมมอื ทางวชิ าการกบั มหาวิทยาลยั ราชภฏั รอ้ ยเอด็ มหาวิทยาลัยราชภัฏ ปกครองท้องถิน่ โดย รองศาสตรจารย์ สกลนคร มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั กาฬสนิ ธ์ุ เทศบาลสกลนคร เทศบาลเมืองร้อยเอด็ ดร.ศุภวฒั นากร วงศ์ธนวสุ คณบดี ลงนาม เทศบาลเมอื งเมืองพล จ.ขอนแกน่ และเทศบาลตาบลสมเด็จ จ.กาฬสินธุ์ ความรว่ มมือทางวิชาการกับ University เพื่อยืนยนั ในความสมั พนั ธ์ดา้ นการมีสว่ นร่วม การแลกเปล่ยี นเรียนรูร้ ว่ มกนั ใน of Public Health, Yangon, Myanmar การขบั เคล่อื นโครงการต่างๆ พฒั นากลยทุ ธ์สง่ เสรมิ เครือข่ายการวจิ ยั ทาง เพื่อทางานร่วมกัน ดา้ นการพฒั นา การศกึ ษา เพื่อพฒั นาคุณภาพความเทา่ เทียมด้านโอกาส และความเสมอภาคทาง ศักยภาพการบริหารจัดการสถาบนั การศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐานของสถานศกึ ษาภายใต้องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถิน่ การร่วมมือกนั สนับสนนุ ส่งเสริมในด้าน การศึกษา การวจิ ยั และร่วมกนั พฒั นา บคุ ลากรทางการศกึ ษารว่ มกนั การรว่ มมอื กนั ในการจัดกจิ กรรมทางการเรยี น การสอน ทัง้ หลักสูตรระยะส้ันและ ระยะยาว

13 | P a g e

15 กรกฎาคม 2558 วิทยาลัยการปกครอง 30 กรกฎาคม 2558 วทิ ยาลัยการปกครองท้องถ่นิ โดย รองศาสตราจารย์ ทอ้ งถน่ิ ลงนามบันทึกขอ้ ตกลงความรว่ มมือ ดร.ศภุ วัฒนากร วงศ์ธนวสุ คณบดี ลงนามบันทึกขอ้ ตกลงความร่วมมือทาง ทางวิชาการ กับคณะวิศวกรรมศาสตร์ และ วิชาการ กบั The Mark O. Hatfield School of Government, College คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ เพอ่ื ยนื ยนั ใน of Urban and Public Affairs, Portland State University ความสมั พนั ธ์ดา้ นการพฒั นาและปรับปรุง หลักสตู รบูรณาการร่วมกนั ในจดั การเรยี น การสอน ตลอดจนการพัฒนาให้นักศกึ ษา มที ักษะของการเป็นผจู้ ดั การและผู้บรหิ าร โครงการด้านโครงสร้างพ้นื ฐาน หลกั สูตร เทคโนโลยบี ัณฑติ สาขาวิชาการจัดการงาน ชา่ งและผังเมือง

7 กมุ ภาพนั ธ์ 2559 สภามหาวิทยาลัยขอนแกน่ แตง่ ตงั้ รองศาสตราจารย์ ดร.ศุภวฒั นากร วงศธ์ นวสุ ดารงตาแหนง่ คณบดวี ทิ ยาลยั การปกครองทอ้ งถ่ิน วาระ ทีส่ อง

10 มนี าคม 2559 วิทยาลยั การปกครองท้องถน่ิ 3 มีนาคม 2559 วทิ ยาลยั มหาวิทยาลยั ขอนแกน่ ลงนามความร่วมมือทาง การปกครองทอ้ งถน่ิ วิชาการกับ Faculty of Social and Political มหาวิทยาลัยขอนแก่น ลง Science, University of Mahamadiyah นามความรว่ มมอื ดา้ นการ Malang จดั โครงการบรกิ ารวชิ าการ แกส่ ังคม กบั สมาพนั ธ์รอง ปลดั ทอ้ งถิ่นไทย

14 | P a g e

7 กรกฎาคม 2559 วทิ ยาลยั การปกครอง 6 กรกฏาคม 2559 ฯพณฯ ดร.ทองลนุ สีสุลดิ นายกรฐั มนตรี แห่งสาธารณรฐั ท้องถ่ิน ลงนามความรว่ มมอื ทางวชิ าการ ประชาธปิ ไตยประชาชนลาว ให้เกยี รตเิ ปิดศูนย์คอมพวิ เตอรแ์ ละการเรียนรู้ หรอื กบั สานักหอสมุด มหาวิทยาลยั ขอนแกน่ COLA Library ซึง่ วทิ ยาลัยฯ ไดด้ าเนินการพัฒนาและปรบั ปรงุ ให้เป็นห้องสมุดที่มี พร้อมท้ังไดร้ ับการสนบั สนนุ บคุ ลากร 2 ชวี ติ ทางดา้ นการบรหิ ารกจิ การสาธารณะเพื่อให้บรกิ ารแกน่ กั ศกึ ษา บคุ ลากร และ ทา่ น มาร่วมปฏบิ ัตงิ านทห่ี อ้ งสมดุ ตัง้ แต่ ผสู้ นใจทวั่ ไป และเปน็ พ้นื ท่ีทางานร่วมกนั (co working space) วนั ที่ 1 มิถุนายน 2559 เปน็ ตน้ ไป

26 สงิ หาคม 2559 วิทยาลัยการปกครองท้องถ่นิ ลงนามความรว่ มมือ กับสานกั งาน รัฐบาลอิเลก็ ทรอนกิ ส์ (องค์การมหาชน) สรอ. เพอ่ื ใหเ้ กิดการมสี ่วนรว่ มและการ แลกเปล่ยี นเรียนร้รู ว่ มกนั ดา้ นเทคโนโลยีดจิ ิทลั เพื่อส่งเสรมิ และสนับสนุนการ ขับเคล่ือนยทุ ธศาสตร์ภายใต้แผนพัฒนารฐั บาลดจิ ทิ ัลให้เกดิ ผลสัมฤทธอ์ิ ยา่ งเปน็ รูปธรรม

11 พฤศจกิ ายน 2559 วทิ ยาลยั การปกครองทอ้ งถน่ิ ลงนามความร่วมมอื ทาง วชิ าการ กบั คณะวิทยาศาสตร์ คณะบรหิ ารธุรกจิ และการบญั ชี และ JUMP Space Khon Kaen เพอ่ื พฒั นา Startup ร่วมกนั

15 | P a g e

1 มิถุนายน 2560 จงั หวดั พะเยา 23 มกราคม 2560 วทิ ยาลยั มอบหมายใหว้ ิทยาลยั การปกครอง การปกครองทอ้ งถ่นิ ลงนาม ทอ้ งถิน่ เป็นท่ีปรึกษาโครงการประเมนิ MOU ความร่วมมอื กบั คณะ คุณธรรมและความโปร่งใส ในการ บรหิ ารธรุ กิจและการบญั ชี ดาเนินงานของหนว่ ยงานบรหิ าร สว่ น เพื่อพัฒนาและปรบั ปรงุ ภูมภิ าค (ITA) ของจงั หวดั พะเยา หลักสตู รใหส้ อดคล้องกบั การ ประจาปีงบประมาณ 2560 เปลีย่ นแปลงโลกมากขน้ึ

19 กรกฎาคม 2560 จงั หวัด 1 มถิ ุนายน 2560 สานกั งาน ขอนแกน่ มอบหมายใหว้ ิทยาลยั การ คณะกรรมการป้องกนั และปราบปราม ปกครองท้องถนิ่ เป็นทปี่ รกึ ษาในการ การทุจรติ แห่งชาติ (ปปช.) มอบหมาย ประเมินคณุ ธรรมและความโปรง่ ใส ให้วทิ ยาลยั การปกครองทอ้ งถิ่น เป็นท่ี ในการดาเนนิ งานขององคก์ ร ปรกึ ษาโครงการประเมนิ คณุ ธรรมและ ปกครองสว่ นทอ้ งถิ่นในจังหวัด ความโปร่งใส ในการดาเนินงานของ ขอนแก่น ทัง้ 225 แห่ง ประจาปี สานกั งานคณะกรรมการปอ้ งกันและ งบประมาณ 2560 ปราบปรามการทุจรติ แห่งชาติ (ปปช.) ประจาปีงบประมาณ 2560

13 -15 กนั ยายน 2560 วทิ ยาลยั การปกครองท้องถน่ิ จดั ประชุมวิชาการ นานาชาติ “International Conference on Government Performance Management and Leadership” ครั้งท่ี 5 ร่วมกับ School of Management Lanzhou University, Mark O. Hatfield School of Government Portland State University, Konrad-Adenauer-Stiftung Thailand Office, สกว., เทศบาลนครขอนแก่น, KKTT, Public Service Research Institution Waseda University, สวทช. และกองวเิ ทศสมั พนั ธ์ มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น

16 | P a g e

โครงสรำ้ งกำรบรหิ ำรและโครงสรำ้ งองค์กร

การบริหารจัดการของวิทยาลัยการปกครองท้องถ่ิน อยู่ในความรับผิดชอบของคณบดีวิทยาลัยการปกครองท้องถ่ิน ซ่ึง ในปัจจุบัน คือ รองศาสตราจารย์ ดร.ศุภวัฒนากร วงศ์ธนวสุ มีรองคณบดี ได้แก่ อาจารย์สุรเดช ทวีแสงสกุลไทย และมี ผู้ช่วยคณบดี ประกอบด้วย 1) ดร.พัฒนพงศ์ โตภาคงาม เป็นผู้ช่วยคณบดีฝ่ายวิเทศสัมพันธ์ 2) อาจารย์ณรินทร์ เจริญทรัพยา นนท์ เปน็ ผูช้ ่วยคณบดีฝา่ ยพฒั นานักศึกษา 3) อาจารยณ์ รงค์ เกียรตคิ ณุ วงศ์ เปน็ ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายวชิ าการ 4) อาจารย์ณรงค์เดช มหาศริ กิ ุล เป็นผู้ช่วยคณบดีฝา่ ยอานวยการ 5) ดร.ศิริศกั ด์ิ เหลา่ จนั ขาม เป็นผู้ช่วยคณบดฝี า่ ยวิจัยและบริการวชิ าการ

โครงสร้างของวิทยาลัยการปกครองท้องถ่ิน มีลักษณะเป็น Virtual Matrix Organization ท่ีมีลักษณะแนวราบและ บุคลากรหน่ึงคนทางานและมีความเช่ียวชาญในหลากหลายหน้าท่ี ขับเคล่ือนโดยคณะกรรมการประจาวิทยาลัยฯ โดยมี คณบดี วิทยาลัยการปกครองท้องถิ่น เป็นประธานกรรมการ รองคณบดี เป็นกรรมการ รองศาสตราจารย์ ดร.พีรสิทธิ์ คานวณศิลป์ ผู้แทนหัวหน้าสาขาวิชา เป็นกรรมการ นายกิตติพิชญ์ ชัยมนตรีธนสิน ผู้แทนหัวหน้าสาขาวิชา เป็นกรรมการ รองศาสตราจารย์ ดร.ชนะพล ศรีฤาชา ผู้ทรงคุณวุฒิ เป็นกรรมการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ศิวัช ศรีโภคางกุล ผู้ทรงคุณวุฒิ เป็นกรรมการ นาย เฉลิมพงษ์ พงษ์ประชา เป็นกรรมการและเลขานุการ ตามคาส่ังมหาวิทยาลัยขอนแก่น ที่ 8410/2558 ลงวันที่ 30 ธันวาคม 2558

คณะกรรมการประจาวิทยาลัยการปกครองท้องถิ่น จะเป็นผู้กากับดูแลและควบคุมการบริหารงานของวิทยาลัยให้ เป็นไปด้วยความเรียบร้อย สอดคล้องกับระเบียบของมหาวิทยาลัยและของวิทยาลัย เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ของการจัดตั้ง วิทยาลัย ส่วนแนวทางในการดาเนินงานตาม 9 ยุทธศาสตร์ของวิทยาลัย จะร่วมกันกับหน่วยงานเครือข่าย ในการกาหนด แนวทางปฏบิ ัตบิ นหลักการของการสรา้ งความเขา้ ใจร่วมกันเพื่อนาไปสู่การกาหนดแนวทางปฏิบตั ิร่วมกัน

ด้วยรูปแบบของโครงสร้างองค์กรท่ีมีการจัดตาแหน่งและการบริหารตามแนวราบ และการเสริมประสานระหว่าง หลากหลายฝ่าย ท่ตี ่างก็มจี ดุ มงุ่ หมายร่วมกันที่จะเสริมสรา้ งความเขม้ แข็งของท้องถ่นิ กลไกสนบั สนุนการบรหิ ารจึงเปน็ หวั ใจของ การทางาน กลไกสนบั สนุนในการบรหิ ารของวิทยาลัยฯ ประกอบดว้ ย 1) ระบบสารสนเทศการสื่อสารและเทคโนโลยี (ICT) เพ่ือ เช่ือมตอ่ และสอ่ื สารระหวา่ งหนว่ ยงานต่าง ๆ ท่ีอยูใ่ นเครอื ขา่ ย 2) โทรศพั ท์ 3) โทรสาร 4) จดหมายหรือบนั ทึกข้อความทง้ั ที่เป็น ทางการและไม่เป็นทางการ และ 5) การจัดประชุมเพ่ือชี้แจงทาความเข้าใจร่วมกันตลอดจนการประเมินผลและปรับปรุง ข้อเสนอแนะในการดาเนนิ งานต่อไป

17 | P a g e

โครงสรำ้ งกำรบรหิ ำรของวทิ ยำลยั กำรปกครองทอ้ งถน่ิ

โครงสร้างของวิทยาลัยการปกครองท้องถิ่น มีลักษณะเป็น Virtual Matrix Organization และมีลักษณะแบนราบ ซึ่ง

คณบดีได้มีการมอบอานาจการตัดสินใจให้กับรองคณบดี จากนั้นได้มีการมอบหมายสู่ผู้ปฏิบัติโดยตรงโดยท่ีบุคลากรหน่ึง

คนทางานในหลากหลายหน้าที่ โดยการกาหนดภารกิจหลักและภารกิจรองในลักษณะของ Matrix จึงทาให้การดาเนินงานของ

วทิ ยาลัยฯ มีความยดื หยุ่นและคล่องตัวสงู คณะกรรมกำรบรหิ ำรวทิ ยำลยั กำรปกครองทอ้ งถน่ิ มหำวทิ ยำลยั ขอนแกน่

1. คณะกรรมการนโยบายวทิ ยาลยั การปกครองท้องถ่นิ แต่งตง้ั โดยมหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น ประกอบดว้ ย

1.1 รองศาสตราจารย์ ดร.กิตติชยั ไตรรตั นศิรชิ ัย ประธานกรรมการ

1.2 พลตารวจเอกอชริ วิทย์ สุพรรณเภสัช กรรมการผทู้ รงคณุ วฒุ ิ

1.3 พลโทภัทรพล รักษนคร กรรมการผ้ทู รงคณุ วุฒิ

1.4 นายสรุ พล ทวแี สงสกุลไทย กรรมการผู้ทรงคณุ วฒุ ิ

1.5 ศาสตราจารย์ ดร.อภริ ัฐ ศิรธิ ราธิวตั ร กรรมการ

1.6 ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.เดน่ พงษ์ สดุ ภักดี กรรมการ

1.7 ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สมศกั ดิ์ พิทักษานรุ ตั น์ กรรมการ

1.8 รองศาสตราจารย์ ดร.ศภุ วัฒนากร วงศธ์ นวสุ กรรมการและเลขานุการ

18 | P a g e

2. คณะกรรมการประจาวิทยาลัยการปกครองท้องถนิ่ แต่งตง้ั โดยมหาวิทยาลยั ขอนแกน่ ประกอบดว้ ย

2.1 รองศาสตราจารย์ ดร.ศภุ วฒั นากร วงศธ์ นวสุ ประธานกรรมการ

2.2 นายสุรเดช ทวแี สงสกุลไทย กรรมการ

2.3 รองศาสตราจารย์ ดร.พรี สทิ ธ์ิ คานวณศลิ ป์ กรรมการ

2.4 นายกติ ติพชิ ญ์ ชัยมนตรธี นสนิ กรรมการ

2.5 รองศาสตราจารย์ ดร.ชนะพล ศรีฤาชา กรรมการ

2.6 ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ศิวชั ศรโี ภคางกุล กรรมการ

2.7 นายเฉลิมพงษ์ พงษป์ ระชา กรรมการและเลขานุการ

3. อาจารยป์ ระจาหลักสตู รของวทิ ยาลยั การปกครองท้องถน่ิ

3.1 หลักสตู รรฐั ประศาสนศาสตรบัณฑติ สาขาวชิ าการปกครองท้องถิน่ แต่งตัง้ โดยมหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น ประกอบดว้ ย

1. ผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ ดร.ศวิ ัช ศรีโภคางกุล 2. ดร. ศิรศิ ักดิ์ เหล่าจนั ทรข์ าม

3. อาจารย์อุดร ตันตสิ ุนทร 4. ดร. ณรินทร์ เจรญิ ทรพั ยานนท์

5. ดร. อจิรภาส์ เพียรขุนทด

3.2 หลักสูตรรฐั ประศาสนศาสตรบัณฑติ สาขาวชิ าการจดั การการคลงั แต่งตง้ั โดยมหาวิทยาลยั ขอนแก่น ประกอบดว้ ย

1. รองศาสตราจารย์ ดร.ลิลลี่ โกศัยยานนท์ 2. อาจารย์ณรงค์ เกยี รติคณุ วงศ์

3. ดร. ภิญโญ นลิ จนั ทร์ 4. ดร.ประชาสรรค์ แสนภักดี

5. ดร.สถาพร มงคลศรีสวัสด์ิ

3.3 หลกั สตู รเทคโนโลยบี ัณฑติ สาขาวชิ าการจัดการงานชา่ งและผงั เมอื ง แต่งต้งั โดยมหาวทิ ยาลัยขอนแกน่ ประกอบดว้ ย

1. อาจารย์ณรงค์เดช มหาศริ กิ ลุ 2. อาจารยก์ ติ ติพชิ ญ์ ชัยมนตรธี นสิน

3. อาจารย์สุรเดช ทวีแสงสกลุ ไทย 4. ดร.พัฒนพงศ์ โตภาคงาม

5. รองศาสตราจารยก์ ิตตพิ งษ์ ตันมิตร

3.4 หลกั สตู รรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑติ 5 กลมุ่ วชิ า แต่งตั้งโดยมหาวิทยาลยั ขอนแก่น ประกอบดว้ ย

1. รองศาสตราจารย์ ดร. พรี สิทธ์ิ คานวณศลิ ป์ 2. รองศาสตราจารย์ ดร.ศุภวฒั นากร วงศธ์ นวสุ

3. ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ศิวัช ศรีโภคางกุล 4. พลเอก ดร. ศุภลกั ษณ์ สวุ รรณะชฎ

5. ดร.นคร เสรรี ักษ์

3.5 หลกั สูตรรฐั ประศาสนศาสตรดุษฎบี ณั ฑติ สาขาวิชาการบริหารกจิ การสาธารณะ (หลกั สตู รนานาชาต)ิ

1. รองศาสตราจารย์ ดร. พรี สิทธ์ิ คานวณศิลป์

2. รองศาสตราจารย์ ดร.ศุภวัฒนากร วงศธ์ นวสุ

3. ดร.กฤชวรรธน์ โล่ห์วชั รินทร์

19 | P a g e

บคุ ลำกรของวทิ ยำลยั กำรปกครองทอ้ งถน่ิ

บุคลากรประจาของวิทยาลยั จะแยกออกเปน็ 1) บุคลากรสายบริหาร ได้แก่ คณบดี รองคณบดี 1 คน และผ้ชู ว่ ยคณบดี 5 คน 2) บุคลากรสายวชิ าการ ไดแ้ ก่ อาจารย์ประจาวิทยาลยั ซงึ่ ประกอบด้วยผทู้ รงคุณวฒุ ิ ทัง้ ที่เปน็ นกั วชิ าการ ท้ังชาวไทยและ ชาวต่างประเทศ จานวน 34 คน 3) บุคลากรสายสนับสนนุ วิชาการ จานวนท้ังสนิ้ 24 คน

อำจำรย์ประจำวทิ ยำลยั กำรปกครองทอ้ งถน่ิ

Professor Gayl D. Ness, Ph.D. Professor Hirofumi Ando, Ph.D. ศ.นพ.ดร.วนั ชยั วัฒนศัพท์

รศ.ดร.พรี สทิ ธ์ิ คานวณศิลป์ อาจารย์อดุ ร ตนั ตสิ ุนทร รศ.ดร.ศภุ วฒั นากร วงศ์ธนวสุ

20 | P a g e

รศ.ดร.เพญ็ ณี แนรอท รศ.ดร.สุจินต์ สิมารักษ์ รศ.ดร.ลลิ ่ี โกศยั ยานนท์

รศ.ดร.นีออน พิณประดิษฐ์ รศ.ดร.ศวิ ัช ศรีโภคางกุล รศ.กิตตพิ งษ์ ตนั มิตร

รศ.คณู โทขนั ธ์ พลเอก ดร.ศภุ ลกั ษณ์ สวุ รรณะชฎ ผศ.ดร.วิษณุ สุมิตสวรรค์

21 | P a g e

ผศ.วิไลวรรณ สมโสภณ ดร.สถาพร มงคลศรสี วสั ด์ิ ดร.ภญิ โญ นิลจันทร์

ดร.สมพงษ์ เปรมฤทยั รัตน์ ดร.นคร เสรีรักษ์ ดร.ประชาสรรค์ แสนภกั ดี

ดร.พฒั พงศ์ โตภาคงาม ดร.กฤชวรรธน์ โล่หว์ ชั รนิ ทร์ ดร. ณรนิ ทร์ เจรญิ ทรพั ยานนท์

22 | P a g e

ดร.ศริ ิศกั ด์ิ เหล่าจันขาม ดร.พิมพ์รภัช ดุษฎีอสิ ริยกลุ Dr. Bonnie Brereton

อาจารยส์ ุรเดช ทวแี สงสกลุ ไทย ดร. อจริ ภาส์ เพยี รขนุ ทด ดร.วมิ ลสริ ิ แสงกรด

อาจารยก์ ิตติพิชญ์ ชัยมนตรีธนสิน อาจารย์ชาติชาย โฆษะวิสทุ ธ์ิ

23 | P a g e

อาจารย์ณรงคเ์ ดช มหาศริ ิกุล Mr. John Charles Draper

กาลงั ศึกษาตอ่ ระดับปรญิ ญาเอก กาลงั ศกึ ษาต่อระดับปรญิ ญาเอก หลกั สูตร ปรัชญาดุษฎีบัณฑติ สาขาวชิ าวิศวกรรมโยธา หลกั สตู ร D.P.A Public Administration Program in Public Affairs คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น Management วิทยาลยั การปกครองทอ้ งถ่ิน มหาวิทยาลยั ขอนแก่น

อาจารย์ณรงค์ เกยี รติคณุ วงศ์ อาจารย์สุรยิ านนท์ พลสมิ

กาลงั ศกึ ษาตอ่ ระดับปริญญาเอก กาลังศึกษาต่อระดบั ปรญิ ญาโท

หลักสตู ร Dr.rer.oec.(Doctoral Programme in Economics and หลักสตู รนโยบายศาสตร์ ดว้ ยทนุ รัฐบาลญ่ีปนุ่ (MEXT) Management) มหาวิทยาลยั Handelshochschule Leipzig (Master of Art in Policy Science) ณ Graduate School of เมอื ง Leipzig ประเทศเยอรมัน Science,Ritsumekan University ประเทศญ่ปี ุ่น

24 | P a g e

บคุ ลำกรสำยสนบั สนุนวชิ ำกำร วทิ ยำลยั กำรปกครองทอ้ งถนิ่

บุคลากรสายสนบั สนุนวชิ าการ ของวิทยาลยั การปกครองท้องถ่นิ มจี านวน 24 คน ประกอบด้วย นักบัญชี 1 คน คอื นางปวีณา สวุ รรณ ไตรย์ นักบริหารงานอุดมศึกษา 20 คน ที่ได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติงานด้านต่างๆ ในระบบสนับสนุนการบริหาร พนักงานบริการ 1 คน และ พนกั งานขบั รถยนต์ 1 คน ดงั รายชอ่ื ต่อไปนี้ นายเฉลิมพงษ์ พงษป์ ระชา นางสาวนวลจันทร์ วรรณพราหมณ์ นายพพิ ัฒน์ นาคาเกยี รตภิ ทั ร์ นางสาว จิตรลัดดา แสนตา นางสาวนิตยา วิชาชัย นางสาวภัคจิรา แสนใจ นางสุภาวดี แก้วคาแสน นายวัชระ สิทธิ นางนันทนา สุทธิประภา นางสาว ณาตยา สีหานาม นางสาวพรพลอย หาวิชิต นายทวี เลพล นายณัฐพงษ์ วัฒนบุตร นางสาวเกวรี แสงสว่าง Mr.TONY NORRIS CRISWELL นางสาวภา ภรณ์ เรืองวิชา นางสาวดวงฤดี แก้ววศิ ษิ ฏ์ นายอเุ ทน บัวแสง นายพสิ ิทธ์ิ ถาวาปี นายวราสนั ต์ น่ิมแกน่ และ นายกลาง ดงกลาง

อำจำรย์ผสู้ อนหลกั สตู รรฐั ประศำสนศำสตรบณั ฑติ

25 | P a g e

สำขำวชิ ำกำรปกครองทอ้ งถนิ่

รศ.ดร.เพญ็ ณี แนรอท ดร.ภิญโญ นิลจนั ทร์ รศ.ดร.สุจินต์ สิมารกั ษ์

รศ.ดร.ศิวัช ศรีโภคางกลุ ผศ.วรรณี เนตรสงิ หนาท ผศ.ดร.วษิ ณุ สมุ ติ สวรรค์

Mr.John Charles Draper อาจารยณ์ รงค์ เกยี รติคณุ วงศ์ อาจารยฐ์ นาพงษ์ ทอนฮามแก้ว

26 | P a g e

อาจารยส์ ุพนั ทอง กลุ ดา อาจารยจ์ าก สถาบันภาษา และสานกั วชิ าศกึ ษาทว่ั ไป

อาจารย์กชพร มสุ ิกบุญเลิศ

อำจำรย์ผสู้ อนหลกั สตู รรฐั ประศำสนศำสตรบณั ฑติ สำขำวชิ ำกำรจดั กำรกำรคลงั

ผศ.วรรณี เนตรสงิ หนาท ผศ.จนิ ตนา สมสวสั ด์ิ รศ.ดร.ศวิ ัช ศรโี ภคางกุล

ผศ.ดร.ศิริลกั ษณ์ ศทุ ธชัย ดร.ปวณี า กองจันทร์ ดร.ภญิ โญ นลิ จันทร์

27 | P a g e

อาจารยก์ ิตติพชิ ญ์ ชัยมนตรีธนสิน อาจารยณ์ รงค์ เกียรติคุณวงศ์ อาจารยส์ รุ เดช ทวแี สงสกลุ ไทย

สถาบันภาษา และสานกั วิชาศกึ ษาท่วั ไป

อาจารย์สนุ ันทา เทพสาร อาจารยก์ ลั ยาณี สมท้าว

28 | P a g e

อำจำรย์ผสู้ อนหลกั สตู รเทคโนโลยีบณั ฑติ สำขำวชิ ำกำรจดั กำรงำนชำ่ งและผงั เมือง

รศ.ดร.สุจนิ ต์ สมิ ารกั ษ์ รศ.กติ ติพงษ์ ตนั มิตร รศ.ประเสรฐิ ดารงชยั

ผศ.พนมชัย วรี ะยทุ ธศิลป์ ดร.วิมลศริ ิ แสงกรด รศ.วินยั ศรีอาพร

ผศ.กิตติบดี ใยพูล ผศ.ดร.ดลฤทยั โกวรรธนะกุล ผศ.ดร.พิพธั น์ เรอื งแสง

29 | P a g e

อาจารย์สรุ ตั น์ ประมวลศักดกิ ุล อาจารยธ์ รรมวฒั น์ อนิ ทรจกั ร อาจารยณ์ รงคเ์ ดช มหาศริ ิกุล

อำจำรย์ผสู้ อนหลกั สตู รรฐั ประศำสนศำสตรมหำบณั ฑติ

พล.อ.ดร.จารภุ ทั ร เรืองสุวรรณ พล.ต.อ.อชริ วิทย์ สุพรรณเภสชั ศ.นพ.วนั ชยั วฒั นศพั ท์

ศ.ดร. ดเิ รก ปัทมสริ วิ ัฒน์ ศ.วุฒสิ าร ตันไชย พล.อ.ดร.ศภุ ลักษณ์ สุวรรณชฏ

30 | P a g e

รศ.ดร.ศภุ วัฒนากร วงศ์ธนวสุ รศ.ดร.เพญ็ ณี แนรอท รศ.ดร.ศิวชั ศรีโภคางกุล

รศ.ดร.ลาปาง แม่นมาตย์ ดร.สถาพร มงคลศรีสวัสดิ์ ดร.นคร เสรรี ักษ์

ดร.ประชาสรรค์ แสนภักดี ดร.ภญิ โญ นิลจันทร์ ผศ.ดร.วษิ ณุ สมุ ิตสวรรค์

31 | P a g e

อาจารยส์ ุรเดช ทวีแสงสกลุ ไทย ดร.กฤชวรรธน์ โล่หว์ ัชรินทร์ ดร. อจิรภาส์ เพยี รขนุ ทด

อำจำรย์ผสู้ อนหลกั สตู รรฐั ประศำสนศำสตรดษุ ฎบี ณั ฑติ สำขำวชิ ำกำรบรหิ ำรกจิ กำรสำธำรณะ (หลกั สตู รนำนำชำต)ิ

Professor Richard Dick Pratt Professor Hirofumi Ando Professor Eric T. Mogren

32 | P a g e

Professor Gayl D. Ness Professor Charles E. Menifield Professor Douglas F. Morgan

รศ.ดร.พีรสิทธ์ิ คานวณศิลป์ รศ.ดร.ศุภวัฒนากร วงศ์ธนวสุ Mr. John Charles Draper

Prof. Charles David Crumpton Professor Bruce Gilley

33 | P a g e

Visiting Professor

Prof. Dr. Charles David Crumpton

ตาแหน่ง/ภารกิจ อาจารย์พิเศษ สอนรายวิชาการบริหาร ภาคสาธารณะแนวใหม่ และให้คาปรึกษานักศึกษาระดับปริญญาเอก หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหาร กิจการสาธารณะ (หลักสูตรนานาชาติ) และสนับสนุนการจัดการ ประชมุ วิชาการนานาชาติ

ความเชี่ยวชาญ เชี่ยวชาญพิเศษด้านการวิเคราะห์นโยบาย สาธารณะและการจัดการเมือง มีประสบการณ์เป็นผู้จัดการเมือง หลายแห่งในมลรัฐมิสซูรี แคนซัส ออรีกอน แมรีแลนด์ และนิวแฮม เชยี ร์

ตาแหน่งปัจจุบนั อาจารยแ์ ละนกั วจิ ยั อาวุโส ณ มหาวิทยาลัย แมรีแลนด์ สหรัฐอเมริกา นักวิจัยและท่ีปรึกษาด้านวิจัย Federal University of Goias ประเทศบราซิล

34 | P a g e

กำรจดั กำรเรียนกำรสอน

วิทยาลัยการปกครองท้องถ่ิน มีการพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตรอย่างต่อเนื่องทั้งในระดับปริญญาตรี ระดับปริญญาโท และระดับปริญญาเอก โดยมหี ลักสตู รปรญิ ญาตรที ัง้ หมด 3 หลักสตู ร ปรญิ ญาโท 1 หลกั สูตร และปริญญาเอก 1 หลักสตู ร

1. หลกั สูตรระดับปริญญาตรี 3 หลกั สูตร ได้แก่ 1.1 หลักสูตรรัฐประศาส นศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการปกครองท้องถ่ิน Bachelor of Public

Administration (Local Government) B.P.A. (Local Government) ในปีการศึกษา 2561 ได้มีการปรับปรุงหลักสูตรและ เปล่ียนช่ือหลักสูตรเป็น สาขาวิชาการจัดการปกครองท้องถิ่น Bachelor of Public Administration Program in Local Governance

1.2 หลกั สูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑติ สาขาวิชาการจดั การการคลัง Bachelor of Public Administration (Fiscal Management) B.P.A. (Fiscal Management) โดยได้มกี ารปรบั ปรงุ หลักสตู รในปีการศึกษา 2561

1.3 หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการงานช่างและผังเมือง Bachelor of Technology (Construnction and Urban Management) ในปีการศึกษา 2561 ได้มีการปรับปรุงหลักสูตรและเปลี่ยนช่ือหลักสูตรเป็น สาขาวิชาการจัดการเมืองและโครงสร้างพื้นฐาน Bachelor of Technology Program in City and Infrastructure Management

2. หลักสูตรระดับปริญญาโท 1 หลักสูตร คือ หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2559) Master of Public Administration Program ซ่ึงแบ่งออกเป็น 5 กลุ่มวิชา เพื่อการบริหารองค์กรภาครัฐในโลกยุคใหม่ คือ 1. การบริหารงานท้องถิ่นยุคใหม่ 2. การบริหารงานตารวจและชุมชน 3. การบริหารความม่ันคงแห่งชาติยุคใหม่ 4. การบริหาร กจิ การร่วมรัฐและเอกชน และ 5. การบริหารจัดการความขดั แยง้

35 | P a g e

3. หลักสูตรนานาชาติ หลักสูตร 2 ปริญญา (Dual Degree) ระดับปริญญาโท เป็นหลักสูตรระหว่างวิทยาลัยการ ปกครองท้องถิ่น มหาวิทยาลัยขอนแกน่ และ Northern Illinois University

4. หลักสูตรก้าวหน้า เป็นหลักสูตรควบคู่ ของวิทยาลัยการปกครองท้องถ่ิน ระหว่าง หลักสูตรระดับปริญญาตรี รัฐ ประศาสนศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการปกครองท้องถ่ิน และหลักสูตรระดับปริญญาโท รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวชิ าการปกครองทอ้ งถิ่น

5. หลักสูตรระดับปริญญาเอก 1 หลกั สูตร ได้แก่ หลักสูตรรัฐประศาสศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารกิจการ ส า ธ า ร ณ ะ ( ห ลั ก สู ต ร น า น า ช า ติ ) Doctor of Public Administration Program in Public Affairs Management International Program

36 | P a g e

กำรพฒั นำและปรบั ปรุงหลกั สตู ร

หลกั สตู รสาหรับการจดั การเรียนการสอนของวิทยาลัยการปกครองท้องถ่ินท้ัง 3 ระดบั ท้ังในระดับปริญญาตรี ระดับ ปริญญาโท และระดับปริญญาเอกของวิทยาลัย ท่ีเกิดจากการพัฒนาร่วมกับสถาบันการศึกษาต่างๆ ท้ังภายในและภายนอก มหาวิทยาลัยขอนแกน่ ทั้งในประเทศและตา่ งประเทศ นน้ั การพัฒนาหลักสูตรดังกล่าวจะมีขั้นตอนกระบวนการในการพิจารณา กล่นั กรองตามเกณฑข์ องมหาวิทยาลยั ขอนแก่น เพื่อให้เป็นไปตามมาตรฐานตามกรอบมาตรฐานคณุ วุฒริ ะดบั อุดมศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ. 2552 (TQF) ดังน้ี

37 | P a g e

ท่ี ช่อื หลักสตู รสาขาวชิ า/ ปที เี่ ร่ิมเปิด วันท่ีสภา การจัดการศึกษา ฉบบั ขนั้ ตอนการดาเนนิ การตามกรอบ TQF สอน อนมุ ัติ ปกติ พิเศษ ปรับปรุง ระดบั ปริญญาตรี 2548 5 ก.ย. ปกติ - 2561 หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2561 ปรับปรุง 2561 จากหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต 1 รฐั ประศาสนศาสตรบณั ฑิต 2551 ปกติ - 2561 สาขาวชิ าการปกครองทอ้ งถิ่น การปกครองทอ้ งถิ่น 5 ก.ย. คณะกรรมการกล่ันกรองหลักสูตรของ 2551 2561 ปกติ - 2561 มหาวิทยาลัย เห็นชอบในการประชุมครั้ง 2 รัฐประศาสนศาสตรบณั ฑิต ที่ 12/2561 เมอื่ วันท่ี 11 มิถุนายน 2561 การจดั การการคลงั 10 ต.ค. สภามหาวิทยาลัย อนุมัติหลักสูตรในการ 2561 ประชุมครัง้ ท่.ี ...9...../...2561.. วนั ที่.....5... 3 เทคโนโลยีบัณฑิต กันยายน.2561......... การจดั การงานชา่ ง หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2561 ปรับปรุง และผงั เมอื ง จากหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต สาขาวชิ าการจดั การการคลัง คณะกรรมการกลั่นกรองหลักสูตรของ มหาวิทยาลัย เห็นชอบในการประชุมครั้ง ที่ 13/2561 วนั ที่ 12 มิถุนายน 2561 สภามหาวิทยาลัย อนุมัติหลักสูตรในการ ประชมุ ครั้งท.ี่ ...9...../...2561.. วันท่ี.....5... กันยายน.2561... หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2561 ปรับปรุง จากหลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาการ จัดการงานชา่ งและผงั เมือง คณะกรรมการกล่ันกรองหลักสูตรของ มหาวิทยาลัย เห็นชอบในการประชุมคร้ัง ที่ .15. /..2561.. วันที่ 24 กรกฎาคม 2561 สภามหาวิทยาลัย อนุมัติหลักสูตร ในการประชุมคร้ังที่...10../....2561....... วนั ท่ี..10..ตลุ าคม.2561.....

38 | P a g e

ระดับปริญญาโท

1 หลกั สตู ร 2558 3 ก.พ. - พิเศษ 2559 เปน็ หลกั สตู รปรบั ปรงุ พ.ศ. 2559 รัฐประศาสนศาสตร 2559 ปรบั ปรงุ จากหลกั สตู รรัฐประศาสนศาสตร มหาบัณฑิต (หลกั สตู ร มหาบณั ฑติ (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ.2555) ปรับปรงุ พ.ศ. 2559) คณะกรรมการกลั่นกรองหลักสูตรของ มหาวิทยาลัย เห็นชอบในการประชุม ครั้ง ที่ 13/2558 เมื่อวันที่ 26 พฤศจิกายน 2558 สภามหาวิทยาลัย อนุมัติหลักสูตรในการ ประชุมครั้งท่ี.2./.2559..เม่ือวันท่ี.3. กุมภาพันธ.์ 2559. เปิดสอนภาคการศึกษา ท่ี.1. ปกี ารศกึ ษา.....2559....

ระดบั ปริญญาเอก

1 รฐั ประศาสนศาสตรดุษฏี 2559 17 ก.ย. - พเิ ศษ หลักสตู ร เป็นหลักสูตรปรับปรุงจากหลักสูตร รัฐ

บณั ฑิต การบริหารกจิ การ 2559 ปรับปรงุ ประศาสนศาสตรดษุ ฎีบณั ฑิต (การบรหิ าร

สาธารณะ(นานาชาติ) กิจการสาธารณะ) หลักสูตรนานาชาติ

พ.ศ. 2553

คณะกรรมการกลั่นกรองหลักสูตรของ

มหาวิทยาลัย เห็นชอบในการประชุมคร้ัง

ที่ 5/2559 เมอ่ื วันที่ 4 พฤษภาคม 2559

สภามหาวทิ ยาลัย อนุมัตหิ ลักสูตร

ในการประชุมครั้งท่ี ...9./..2559.....เม่ือ

วันที่ ...17..กันยายน..2559. เปิดสอน

ภาคการศึกษาที่ 1 ปีการศึกษา พ.ศ.

2559

39 | P a g e

จำนวนนกั ศกึ ษำและผสู้ ำเร็จกำรศกึ ษำ

1. จานวนนกั ศกึ ษา

ตารางท่ี 1 จานวนผ้สู าเร็จการศึกษาระดบั ปริญญาตรีในแต่ละหลกั สตู ร จาแนกตามปที ่รี ับเขา้ ศกึ ษาและกลุ่มการศึกษา

กลมุ่ การศึกษา

หลกั สูตร ขอนแก่น นครราชสีมา อุบลราชธา ีน รัฐประศาสนศาสตรบณั ฑติ รวม สาขาวิชาการปกครองทอ้ งถน่ิ (ภาคปกต)ิ สาขาวิชาการปกครองทอ้ งถ่นิ (ภาคพิเศษ) ปี ปี ปี ปี ปี ปี ปี ปี ปี ปี ปี ปี ปี สาขาวชิ าการจดั การการคลงั (ภาคปกต)ิ 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2554 2554 สาขาวิชาการจดั การการคลัง (ภาคพิเศษ) * * * * * 62 66 5 49 55 79 * * 316 233 * 83 24 12 39 40 11 6 15 * * * 463 * * * * * 65 64 8 53 66 63 * * 319 * * * * * * * * * * * 75 * 75

40 | P a g e

กลุม่ การศึกษา

หลักสตู ร ขอนแกน่ นครราช ีสมา อุบลราชธา ีน เทคโนโลยีบัณฑิต รวม สาขาวิชาการจดั การงานช่างและผงั เมือง (ภาคปกติ) ปี ปี ปี ปี ปี ปี ปี ปี ปี ปี ปี ปี ปี สาขาวชิ าการจดั การงานชา่ งและผงั เมือง 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2554 2554 (ภาคพเิ ศษ) รวม ** * * * 15 31 5 11 64 58 * * 184 ** * 64 * * * * * * * 44 33 141 233 * 83 88 12 181 201 29 119 200 200 119 33 1,498

ตารางท่ี 2 แสดงจานวนนักศึกษาหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต กลุ่มวิชาเอกการบริหารงานตารวจและชุมชน จาแนกตามปีท่ีรับเข้า

ศกึ ษาตามกลุ่มการศึกษา

ปีทร่ี บั เข้าศึกษา

หน่วยการศกึ ษา ปี ปี ปี ปี ปี ปี ปี ปี ปี ปี ปี รวม (คน) 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561

ขอนแกน่ 46 38 41 80 23 20 23 13 4 5 5 294

หนองคาย 40 23 * * * * * * * * * 63

รวม 86 61 41 80 23 20 23 13 4 5 5 361

* ไมม่ กี ารรับนกั ศกึ ษาในกลมุ่ การศึกษาดังกลา่ ว ตารางท่ี 3 จานวนนักศกึ ษาหลกั สูตรรฐั ประศาสนศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวชิ าการปกครองท้องถิ่น จาแนกตามปที ่ีรับเข้าศึกษาและ

กลุ่มการศกึ ษา

ภาค/ หน่วย ปีทรี่ ับเขา้ ศึกษา 2561 รวม การศึกษา 2548 /1 2548/2 2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 (คน)

หนว่ ยการศึกษาภาคหนือ

เชียงใหม่ 127 148 109 101 93 61 51 * * * * * * * * 690

พิษณโุ ลก 14 116 117 102 82 64 52 * * * * * * * * 547

นครสวรรค์ * * * 108 89 51 47 * * * * * * * * 295

หน่วยการศกึ ษาภาคอีสาน

ขอนแกน่ 122 148 132 122 160 223 193 239 371 96 108 137 130 81 58 2,190 * 1,022 อุบลราชธานี 127 129 107 103 98 112 119 98 129 * * * * * * 691 * 237 นครราชสมี า 102 98 117 105 112 88 69 * * * * * * * * 745 สกลนคร * * * 106 68 63 * * * * * * * * * 605

หนว่ ยการศกึ ษาภาคกลาง

ปทมุ ธานี 130 143 146 131 70 55 70 * * * * * * *

สมทุ รปราการ 120 142 123 106 76 38 * * * * * * * *

41 | P a g e

หน่วยการศกึ ษาภาคตะวนั ออก

ระยอง 104 114 107 101 77 48 * * * * * * * * * 551

หนว่ ยการศกึ ษาภาคตะวันตก * 552

กาญจนบุรี 111 114 119 106 74 28 * * * * * * * * * 1,069 * 156 หนว่ ยการศึกษาภาคใต้ * 627 * 317 สงขลา 114 135 117 105 142 162 156 81 57 * * * * * * 77

ภเู ก็ต 90 66 * ********** * 60 10,501

สุราษฎรธ์ านี 78 128 117 101 56 75 72 * * * * * * *

ตรงั * * 117 97 42 61 * * * * * * * *

ประจวบคีรขี ันธ์ * * * 77 * * * * * * * * * *

รวม 1,239 1,481 1,428 1,571 1,239 1,129 829 418 557 96 108 137 130 81

ตารางที่ 4 จานวนนักศกึ ษาหลักสตู รรฐั ประศาสนศาสตรมหาบัณฑติ หลกั สตู รปรบั ปรุง 2559 จาแนกตามปีที่รับเข้าศกึ ษาและกลมุ่ การศกึ ษา

หนว่ ยการศกึ ษา ปที ีส่ าเร็จการศึกษา ปี 2554 ปี 2555 ปี 2559 ปี 2560 ปี 2561 รวม (คน)

มหาวิทยาลยั ขอนแก่น **** 3 3

รวม * * * * 3 3

ตารางที่ 5 แสดงจานวนดุษฎีบัณฑิตท่ีสาเร็จการศึกษาในหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารกิจการสาธารณะ