ประว ต การสร างเหร ยญหลวงพ อเด ม 2482

89

ิ ่ พระองค์ทรงมี เนืองจากตัวตนของพระองค์ในฐานะเจ้าพ่อกรมหลวงชุมพรฯมีคุณสมบัตทีไม่ ่ ่ ู สอดคล้องกับความร้ความเข้าใจพื้นฐานตอพระองค์ในฐานะผู้น าความทันสมัยจากตะวันตก ่ ่ ิ กลับมาสร้างความเจริญตอกองทัพเรือไทย หลวงรักษาราชทรัพย์จึงอาจเปนบุคคลแรกทีอธบาย ็ ู ตัวตนเจ้าพ่อกรมหลวงชุมพรฯให้กลมกลืนกับตัวตนทหารเรือนักปฏิรป รวมถึงได้รับความ ่ น่าเชือถอถึงความถูกต้องแม่นย าจากกองทัพเรือ ท าให้เรื่องนี้ได้รับการผลิตซ ้าและเปนค าอธบาย ื ิ ็ เรื่องพระจริยวัตรด้านนี้ทียังด ารงจวบจนปจจุบัน ั ่ ส่วนแนวเรื่องแบบสุขนาฏกรรม (Comedy) ปรากฏในเกร็ดพระประวัตเรื่อง ิ ่ ี่ ิ อทธปาฏิหาริย์ส่วนใหญเกยวกับกรมหลวงชุมพรฯ แนวเรื่องนี้จะเชือมโยงกับเรื่องความสัมพันธ์ ่ ิ ่ ระหว่างพระองค์กับหลวงปูศุขในฐานะศิษย์กับอาจารย์ โดยจะอธบายว่า เมือพระองค์ทรงเปนศิษย์ ่ ิ ็ ่ ึ ่ ของหลวงปูศุขแล้ว ทรงได้รับวิชาไสยศาสตร์จากหลวงปูและฝกหัดจนสามารถส าแดงให้ประจักษ์ ิ ิ ได้จริง ท าให้เกิดเรื่องเล่าลืออทธปาฏิหาริย์เกยวกับพระองค์ขึ้น เรื่องอิทธปาฏิหาริย์ส่วนใหญจึงจะ ี่ ิ ่ ่ ิ เล่าในลักษณะทีพระองค์ทรงแสดงพลังอทธปาฏิหาริย์แก้ไขสถานการณ์ปญหา เพือยืนยันอ านาจ ิ ั ่ ปาฏิหาริย์ของพระองค์ ่ ิ ็ ่ กลุมเรื่องในโครงเรื่องหมอพรเปนกลุมเรื่องทีอธบายเรื่องราวปาฏิหาริย์การ ่ รักษาของกรมหลวงชุมพรฯตอผู้คนในช่วงทรงออกจากราชการ โดยใช้แนวเรื่องกึ่งวีรคต- ิ ่ สุขนาฏกรรม (Romantic-comedy) เล่าถึงความส าเร็จและปาฏิหาริย์ของพระองค์ในการรักษาโรค ่ ด้วยวิธแพทย์แผนไทย แม้ความส าเร็จของพระองค์เปนเพียงการรักษาผู้คนให้หายปาวและมิได้ ็ ี ่ ็ ่ น าไปสูการเปลี่ยนแปลงใด ๆ ทั้งในช่วงเวลาทีพระองค์ทรงเปนหมอพรอยู่และหลังจากทรงกลับเข้า ่ ็ รับราชการ เปลี่ยนสถานะของพระองค์ให้กลายเปนผู้มีชือเสียงและได้รับการจดจ าทัวไปในสังคม ่ ่ ่ ็ ่ แม้หมอพรเปนเพียงบทบาทเพียงชัวคราวเท่านั้น กลุมเรื่องนี้เริมต้นด้วยการเล่าถึงการตัดสิน ่ ็ พระทัยของพระองค์ทีจะทรงประกอบอาชีพเปนแพทย์ โดยทรงศึกษาวิชาแพทย์แผนไทยจากพระ ยาพิษณุประสาทเวช (คง ถาวรเวช) หมอหลวง และทรงผสมยาทดลองกับสัตว์ชนิดตาง ๆ ่ จนกระทังเห็นว่า ยานั้นสามารถรักษาโรคของคนได้ จึงทรงให้การรักษาผู้คนทัวไปอย่างไม่เลือก ่ ่ ่ ุ ู ่ ่ ่ หน้า ผู้ทีรับการรักษาตางหายปวยได้อย่างน่าอัศจรรย์และมีชือเสียงเปนทีร้จักไปทัวทั้งกรงเทพฯ ่ ็ ่ ่ ชือเสียงของพระองค์ด้านนี้มาจากเรื่องเล่าลือสองเรื่อง ได้แก่ เรื่องทรงรักษาวัณโรคแก่คู่สามีภรรยา ่ ่ ทีส าเพ็ง และเรื่องทรงท าคลอดให้แก่นางละคร รวมทั้งทรงมีความร้เชียวชาญเรื่องยาสมุนไพรตาง ๆ ู ่ ่ ั ่ และนิพนธ์คัมภีร์ต ารายา ซึ่งเก็บรักษาไว้ทีศาลเคารพบูชาพระองค์ทีย่านนางเลิ้ง (ในปจจุบัน คัมภีร์ ่ ฉบับนี้เก็บรักษาอยู่ทีพิพิธภัณฑ์ทหารเรือ ต.ปากน ้า อ.เมืองสมุทรปราการ จ.สมุทรปราการ)

90

เราเห็นได้ว่า แม้โครงเรื่องพระจริยวัตรด้านเลื่อมใสศรัทธาวิชาไสยศาสตร์และ โครงเรื่องหมอพรมีลักษณะแนวเรื่องทีแตกต่างกัน แต่ทั้งสองโครงเรื่องน าเสนอข้อสรปแบบเดียวกัน ่ ุ ิ คือ แบบ Formist โครงเรื่องทั้งสองต่างพยายามน าเสนอถึงคุณสมบัตของกรมหลวงชุมพรฯในฐานะ ็ ื ็ ู ผู้ใช้ศาสตร์ความร้นอกระบบความเปนสมัยใหม่ โดยแบ่งออกเปนสองส่วน ส่วนแรกคอพระปรีชา ็ ่ สามารถในการใช้ศาสตร์นอกระบบความเปนสมัยใหม่ ซึงมาจากการทีพระองค์ทรงมีพระจริยวัตร ่ ่ ่ ็ ่ ทีเลื่อมใสศรัทธาไสยศาสตร์และเปนศษย์ของหลวงปูศุข และมาจากการทีทรงศึกษาวิชาแพทย์ ิ ่ ่ ่ แผนไทยและทรงทดลองผสมยาตาง ๆ จนมีความเชียวชาญ ส่วนทีสองคอ พระอัธยาศัยของ ื ็ ่ ่ ่ พระองค์ พระอัธยาศัยเปนสิ่งทีขับเน้นคุณคาบทบาทของพระองค์ให้โดดเดนมากขึ้น เช่น ความ ่ ่ โอบอ้อมอารีตอผู้คนอย่างไม่เลือกหน้า, ความรักใคร่ห่วงใยตอผู้อยูในอุปถัมภ์ของพระองค์ และ ่ ่ ความมุงมันพระทัยทีจะทรงกระท าสิ่งใดให้ส าเร็จ เปนต้น คุณสมบัตทั้งสองส่วนนี้จะผสมผสาน ่ ิ ็ ่ กลมกลืนภายในเรื่องราวหนึ่ง ๆ และขับเน้นความเปนวีรบุรษของกรมหลวงชุมพรฯในเรื่องราว ุ ็ อิทธปาฏิหาริย์ให้โดดเด่นมากขึ้น เช่น เรื่องทรงแสดงวิชาคงกระพันชาตรี เมือกรมหลวงชุมพรฯทรง ่ ิ ทราบว่า มหาดเล็กของพระองค์ก าลังถูกท าร้ายจากนักเลง กรีบเสดจไปช่วยเหลือทันทีและทรงใช้ ็ ็ พระวรกายรับคมดาบแทน เปนต้น ็ ่ เมือพิจารณาถึงนัยยะอุดมการณ์ของการเปลี่ยนแปลงแล้ว ผู้วิจัยพบว่า เกร็ด ิ ิ พระประวัตเรื่องอิทธปาฏิหาริย์ทั้งในโครงเรื่องพระจริยวัตรด้านเลื่อมใสศรัทธาวิชาไสยศาสตร์และ ในโครงเรื่องหมอพรแสดงถึงนัยยะอุดมการณ์แบบ Anarchist กล่าวคอ เมือพิจารณาเกร็ดพระ ื ่ ิ ประวัตในฐานะส่วนหนึ่งในเรื่องเล่าพระประวัตของกรมหลวงชุมพรฯตลอดพระชนม์ชีพ เกร็ดพระ ิ ่ ิ ่ ิ ประวัตอทธปาฏิหาริย์น าเสนอการย้อนกลับสูศาสตร์ความร้แบบจารีตของสังคมไทย ซึงย้อนแย้ง ิ ู ็ ิ กับเรื่องราวพระประวัตทีน าเสนอการพัฒนาไปสู่ความเปนสมัยใหม่ โดยส่วนหนึ่งน าเสนอผ่านการ ่ ่ ทีกรมหลวงชุมพรฯทรงเลื่อมใสวิชาไสยศาสตร์ทันทีทีทรงประสบเหตุการณ์ปาฏิหาริย์ และทรง ่ ิ ่ ่ ่ ี ิ ิ เชือมันอทธฤทธ์ผ้าประเจียดของหลวงปูศุขทจะสามารถช่วยให้นายยัง หาญทะเลปลอดภัยจาก ่ ่ ่ ี การถูกปลาฉลามกิน อกส่วนหนีงน าเสนอผ่านการทีพระองค์ทรงเลือกประกอบอาชีพแพทย์แผนไทย ู และทรงใช้วิชาความร้ด้านนี้ช่วยเหลือผู้คน ็ การย้อนกลับสู่ความเปนจารีตของไทยนี้ด้านหนึ่งสะท้อนถึงบริบทการขยายตัว ่ ของความต้องการเครื่องรางของขลังตั้งแตหลังสงครามโลกครั้งที 2 เนืองจากการขยายตัวของ ่ ่ อาชญากรรมทัวประเทศจากการแพร่หลายของอาวุธปนสงคราม, ความยากล าบากของประชาชน ื ่ หลังสงคราม รวมทั้งความล้มเหลวของรัฐในการบังคับใช้กฎหมายและรักษาระเบียบสังคม

91

่ 1 ่ ิ อาชญากรรมดังกล่าวปฏิบัตการโดยอาชญากรทีใช้อาวุธสงครามทีมีความอันตรายสูง ซึงไม่เพียง ่ ่ ่ สร้างความยากล าบากและเสี่ยงอันตรายต่อเจ้าหน้าทีรัฐในการปฏิบัติหน้าทีปราบปราม แต่กระทบ ่ ตอความปลอดภัยของสาธารณชนทัวไปด้วย เมือรัฐไม่สามารถคุ้มครองความปลอดภัยในชีวิตได้ ่ ่ ่ ื สาธารณชนจึงจ าเปนต้องแสวงหาสิ่งพึ่งพิงอนทีสามารถให้คุ้มครองความปลอดภัยของตนจากการ ็ ่ ี เสี่ยงภยันตราย ขณะเดยวกัน เจ้าหน้าทีรัฐก็ต้องใช้สิ่งพึงพิงทีจะสร้างขวัญก าลังใจและความ ่ ่ ่ ่ เชือมันต่อความปลอดภัยในชีวิตของตนตลอดการปฏิบัติหน้าทีทีเสี่ยงภยันตราย ่ ่ ่ ่ การขยายตัวของอาชญากรรมทีสูงขึ้นยังท าให้ผู้คนในสังคมได้เห็นถึงความ เสื่อมทางศลธรรมกับทางความศรัทธาของพุทธศาสนิก และหวันวิตกว่า พุทธศาสนาอาจจะสูญ ่ ี ู ่ สลายไปก่อนการมาถึงของพระศรีอริยเมตไตรยผู้ทีจะตรัสร้เปนพระพุทธเจ้าองค์สุดท้ายในปที ่ ็ ี ่ ื ้ 5,000 จึงน ามาซึงกระแสการรื้อฟนพุทธศาสนา (Buddhist revivalism) โดยเฉพาะเมือ ่ ่ ่ พระบาทสมเดจพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงผนวชเมือ พ.ศ. 2499 และรัฐบาลเริม ็ ็ ี ่ ็ ็ ด าเนินการก่อสร้างพุทธมณฑลขึ้นเปนปูชนียสถาน เพือเปนพุทธบูชาและเปนพุทธานุสรณยสถาน เนืองในวโรกาสมหามงคลกาลทีพระพุทธศักราชเวียนมาบรรจบครบรอบ 2,500 ป ท าให้เกิดการผลิต ่ ่ ี 2 ่ พระเครื่องขึ้นจ านวนมากทั้งจากรัฐและเกจิอาจารย์ท้องถินสนองความต้องการของผู้คนในสังคม ิ ่ กระแสความต้องการสิงศักด์สิทธ์ทให้อ านาจการคุ้มครองความปลอดภัยในชีวต ิ ่ ิ ี ื ิ ้ ี่ ็ ิ และการรื้อฟนพุทธศาสนาอาจท าให้มีการเพิ่มเตมค าอธบายเกยวกับกรมหลวงชุมพรฯ ซึงเปน ่ ่ บุคคลศักด์สิทธ์ในยานนางเลิ้งทได้รับความนับถอศรัทธามาตั้งแตอยางน้อยในทศวรรษ 2480 โดย ่ ิ ิ ื ี ่ ่ ่ ื ส่วนทีมีการเพิ่มเตมเข้ามาในช่วงทศวรรษ 2500 คอ เรื่องความสัมพันธ์ระหว่างกรมหลวงชุมพรฯ ิ กับหลวงปูศุข วัดมะขามเฒ่า จ.ชัยนาท โดยมองข้ามตัวตนความเปนสมัยใหม่ของพระองค์จาก ็ ่ ี่ ่ ิ ิ ิ ิ เรื่องราวพระประวัตทัวไป และเพิ่มเตมเรื่องราวอทธปาฏิหาริย์เกยวกับการทีพระองค์ทรงส าแดง ่ ิ ่ ่ พลังอทธปาฏิหาริย์ตาง ๆ จากวิชาไสยศาสตร์ของหลวงปู ยืนยันความสัมพันธ์ใกล้ชิดระหว่าง ิ ่ พระองค์กับหลวงปูในฐานะศษย์กับอาจารย์ การอธบายนี้ได้เปลี่ยนแปลงสถานะของเจ้าพ่อกรม ิ ิ ึ ึ ิ ่ ่ ิ ่ หลวงชุมพรฯจากสิงศักด์สิทธ์ในลักษณะผีประจ าท้องถนให้กลายเปนสิงศักด์สิทธ์กงผีกงเทพท ่ ี ่ ิ ็ ิ ่ ิ เชือมโยงกับพุทธศาสนา ขณะเดียวกัน กน าเสนออ านาจปาฏิหาริย์ในการคุ้มครองความปลอดภัย ็ ่ ต่อชีวิต เพือสร้างความนิยมเลื่อมใสแก่ผู้คนในสังคมมากขึ้น ่

1 Chalong Soontravanich. (2005). The Regionalization of Local Buddhist Saints: Amulets and Crime and Violence in Post WW II Thai Society. page 11. 2 Ibid. page 16.

92

ู ่ ภาพประกอบ 1 ภาพเหรียญพระรปกรมหลวงชุมพรฯด้านหน้าและหลังทีกองประวัติศาสตร์ ทหารเรือรวบรวมตีพิมพ์ในหนังสือ พิธเปดอนุสาวรีย์ พลเรือเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวง ี ิ ี ื ี ่ ี ิ ชุมพรเขตอุดมศักด์ วันพุธท 19 เมษายน พ.ศ. 2510 สถานทหารเรอสัตหบ (พ.ศ. 2510) น าเสนอ ความสัมพันธ์ใกล้ชิดระหว่างกรมหลวงชุมพรฯกับหลวงปูศุขด้วยการพิมพ์พระฉายาลักษณ์ของ ่ ่ พระองค์ไว้ด้านหนึ่ง อีกด้านหนึ่งพิมพ์เปนรปหลวงปูศุข ็ ู

ิ ่ ทีมา: กองทัพเรือ. (2510). พิธีเปดอนุสาวรีย์ พลเรือเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวง ื ชุมพรเขตอุดมศักดิ์ วันพุธที่ 19 เมษายน พ.ศ. 2510 สถานีทหารเรอสัตหีบ. หน้า 9.

็ ส่วนการย้อนกลับสูความเปนจารีตของไทยอกด้านหนึ่งสะท้อนถึงการปะทะ ี ่ ประสานของการแพทย์แผนไทยกับการแพทย์แบบตะวันตกในช่วงทศวรรษ 2490-2500 เนืองจาก ่ ความเจริญทางวิทยาศาสตร์การแพทย์และนโยบายของรัฐหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 การแพทย์แบบตะวันตกได้ขึ้นมามีบทบาทน าทางสังคมมากขึ้นในฐานะเครื่องมือของรัฐใน 1 ่ การจัดระเบียบวินัยแก่พลเมืองของชาต ตอมาในช่วงทศวรรษ 2490 เมือรัฐบาลไทยกับ ่ ิ สหรัฐอเมริการ่วมลงนามในความตกลงช่วยเหลือทางเศรษฐกิจและวิชาการ ท าให้สหรัฐฯให้การ สนับสนุนด้านการสาธารณสุขของประเทศไทยอย่างมาก โดยขยายบริการด้านแพทย์และการดูแล

สุขภาพไปยังหัวเมืองด้วยการสร้างโรงพยาบาลประจ าจังหวัดครบทุกจังหวัด และสนับสนุนความร้ ู

ื 1 ดูรายละเอยดใน ทวีศักดิ์ เผอกสม. (2550). เชื้อโรค ร่างกาย และรัฐเวชกรรม: ประวัติศาสตร์ ี การแพทย์สมัยใหม่ในสังคมไทย.

93

ิ 1 กับเครื่องมือทันสมัยในการด านเนินงานปฏิบัตการป้องกันก าจัดโรค การขยายตัวของการแพทย์ ่ ่ ื ิ ่ ่ ่ สมัยใหม่สูท้องถินชนบทจึงน ามาซึงการเปรียบเทียบประสิทธภาพและความน่าเชือถอตอ การแพทย์แผนไทยทีอยู่นอกระบบความเปนสมัยใหม่ ่ ็ เรื่องราวหมอพรด้านหนึ่งจึงอาจสะท้อนถึงความพยายามปรับตัวของการแพทย์ ็ แผนไทยด้วยการน าเสนอสองประการ ประการแรกคือ การแสดงให้เห็นถึงความเปน “ศาสตร์” โดย ่ ิ อธบายถึงการทีกรมหลวงชุมพรฯทรงต้องทดลองยาทีทรงผสมขึ้นกับสัตว์ชนิดตาง ๆ จนได้ยาที ่ ่ ่ ็ ิ สามารถรักษาโรคนั้นได้จริง ซึ่งเปนความพยายามอธบายศาสตร์แพทย์แผนไทยในเชิงวิทยาศาสตร์ การแพทย์ทีมีการทดลองประสิทธภาพของยารักษาโรค ประการตอมาคอ การแสดงประสิทธภาพ ่ ิ ่ ื ิ ื ี ิ ของการรักษาในลักษณะปาฏิหาริย์เหนือจริง โดยวิธการแรกคอ การแก้ไขค าอธบายใหม่จากเดิมที ่ ิ ่ ่ หลวงรักษาราชทรัพย์ได้อธบายไว้ว่า มีทั้งผู้ปวยทีรักษาแล้วหายจากโรคและทีรักษาแล้วปวยหนัก ่ ่ ่ ่ ิ ็ 2 จนตาย แตก็ยังทรงมีชือเสียง งานเขียนพระประวัตในช่วงทศวรรษ 2500-2510 ได้แก้ไขใหม่เปน ื ่ ผู้ปวยทีรักษาหายจากโรคทุกคน ท าให้ทรงมีชือเสียง วิธการตอมาคอ การเพิ่มเรื่องราวเหตุการณ์ ่ ี 3 ่ ่ ่ ปาฏิหาริย์อย่างน้อยสองเหตุการณ์ ได้แก่ เรื่องทรงรักษาชาวจีนทีย่านส าเพ็ง และเรื่องทรงท า ิ ่ คลอดให้แก่นางละคร เพือยืนยันประสิทธภาพของการรักษาของศาสตร์แพทย์แผนไทยในลักษณะ ู ความอัศจรรย์เหนือจริง วิธการท้ายสุดคอ การเผยแพร่ความร้ยาแผนไทย โดยบ่อยครั้งจะน าเสนอ ี ื ในส่วนถัดมาจากการเล่าเรื่องปาฏิหาริย์การรักษาโรคของกรมหลวงชุมพรฯ โน้มน้าวให้ผู้อาน ่ ื เชือถอความร้แพทย์แผนไทยก่อน แล้วจึงน าเสนอสูตรผสมยา เพือแสดงให้เห็นว่า ศาสตร์ ู ่ ่ การแพทย์แผนไทยเปนองค์ความร้ทีทุกคนสามารถเข้าถึงได้ เรื่องยาแผนไทยทีกล่าวถึงบ่อยครั้งใน ู ่ ่ ็ ื ิ งานเขียนพระประวัตช่วงเวลานี้คอ เรื่องยาอายุวัฒนะ โดยเล่าถึงชีปะขาวผู้หนึ่งมาทูลบอก ส่วนผสมยานี้ในลักษณะปริศนาแก่พระองค์ พระองค์ก็ทรงสามารถแก้ปริศนานี้ได้ส าเร็จ ทรงแจก แจงส่วนผสมและวิธการท า รวมทั้งผสมยาชนิดนี้แจกจ่ายให้ผู้คนใกล้ชิดพระองค์ ี 4 ี่ ิ ิ เราจะเห็นได้ว่า เกร็ดพระประวัตเรื่องราวอทธปาฏิหาริย์เกยวกับกรมหลวง ิ ชุมพรฯใช้โครงเรื่องและแนวเรื่องมากกว่าหนึ่งแนวในการน าเสนอตัวตนของพระองค์ในฐานะผู้ใช้

ี 1 ชาติชาย มุกสง. (2556). รัฐ โภชนาการใหม่กับการเปล่ยนแปลงวิถีการกินในสังคมไทย พ.ศ. 2482-2517. หน้า 107. 2 กองทัพเรือ. 1.กปศ.ยก.ทร.3.6.13 เอกสารกองประวัติศาสตร์ กรมยุทธการทหารเรือ เรื่องพระราช ประวัติกรมหลวงชุมพรฯ บางส่วน (21 สิงหาคม 2496-18 มกราคม 2497). 3 หม่อมเจ้าหญง เริงจิตรแจรง อาภากร. (2516). เกร็ดพระประวัติพลเรือเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ ิ กรมหลวงชุมพเขตรอุดมศักดิ์. หน้า 26. 4 แหล่งเดิม. หน้า 28-29.

94

่ ิ ็ ็ ู ศาสตร์ความร้นอกระบบความเปนสมัยใหม่ โดยด้านหนึ่งเปนความพยายามทีจะอธบายถึง ิ ่ ิ ่ ี ็ ู ่ ปรากฏการณ์ทพระองค์ทรงกลายเปนสิงศักด์สิทธ์ในการรับร้ของผู้คนในสังคมตั้งแตทศวรรษ 2480 ู ซึงย้อนแย้งกับความร้ความเข้าใจเดมตอตัวตนของพระองค์ในฐานะผู้น าความทันสมัยจาก ิ ่ ่ ตะวันตกกลับมาสร้างความเจริญแก่สยาม อกด้านหนึ่งเปนการตอบสนองตอบริบทกระแสความ ี ็ ่ ่ ิ ่ ึ ุ ิ ่ ี ต้องการพึงพาสิงศักด์สิทธ์ทเพิมข้นจากสถานการณ์ความรนแรงในสังคมไทยหลังสงครามโลกครัง ้ ่ ่ ที 2 จนถึงทศวรรษ 2500 รวมถึงกระแพร่หลายของการแพทย์สมัยใหม่จากความช่วยเหลือของ สหรัฐฯตั้งแต่ทศวรรษ 2490-2520 ขณะเดยวกัน ผู้วิจัยขอตั้งข้อสังเกตว่า เกร็ดพระประวัตเรื่องราวอทธปาฏิหาริย์ ี ิ ิ ิ ได้แสดงถึงคุณสมบัตส าคัญทีท าให้พระองค์ทรงเปนทียอมรับแพร่หลายในสังคมคอ ความเปนคน ็ ่ ่ ื ิ ็ นอกชนชั้น โดยหนึ่งในเรื่องราวทีแสดงคุณสมบัตนั้นคอ การทีพระองค์ทรงอุปถัมภ์ช่วยเหลือ ื ิ ่ ่ ็ ู ่ ราษฎรอย่างไม่เลือกหน้าด้วยการปลอมพระองค์เปนสามัญชนและให้ผู้คนทีไม่ร้จักพระองค์เรียก ็ ิ พระองค์ว่า หมอพร แทนการเรียกพระนามและอสริยยศของพระองค์ ความเปนหมอพรจึงเปน ็ ิ สภาวะทีท าให้พระองค์มิได้ทรงด ารงอยูในชนชั้นน าและอธบายถึงเหตุทีพระองค์ทรงได้รับการ ่ ่ ่ ยอมรับหมู่ผู้คนชนชั้นล่างของสังคมในเรื่องราวเกร็ดพระประวัต ิ อีกสิ่งหนึ่งทีร่วมประกอบคุณสมบัตความเปนคนนอกชนชั้นคอ พระจริยวัตรทีทรง ิ ื ่ ่ ็ ื่ โปรดดมน ้าจัณฑ์หรือสุรา พระจริยวัตรนี้กล่าวถึงครั้งแรกในเรื่อง “บันทึกความจ าทูนหม่อมทรงงาน” จากหนังสือเรื่อง บันทึกความทรงจ าบางเร่องของหม่อมเจ้าหญิงประสงค์สม บรพัตรในสมเด็จเจ้าฟ้า ิ ื ็ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต (พ.ศ. 2499) โดยกล่าวถึงเหตุทีพระบาทสมเดจพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยูหัว ่ ่ ่ ็ โปรดเกล้าฯให้กรมหลวงชุมพรฯออกจากราชการว่า เมือ ร.ศ. 130 ขณะทีพระบาทสมเดจพระมงกุฎ ่ ื เกล้าเจ้าอยูหัวเสด็จประพาสทางทะเล นายทหารผู้หนึ่งเมาสุราและท าปนหลวงหาย จึงทรงกริ้ว ให้ ่ ปลดนายทหารเรือผู้นั้นออกจากราชการและโปรดเกล้าฯให้กรมหลวงชุมพรฯออกจากราชการด้วย 1 ่ ู เพราะ “ครก็เมาศษย์ก็เมา” ตอมาในหนังสือ อนุสรณ์พิธีเปดกระโจมไฟชุมพรเขตอุดมศักดิ์ (พ.ศ. ิ ิ ่

  1. ได้ยืนยันพระจริยวัตรนี้จากเรื่องทีผู้คนเล่าถึงพระองค์ว่า พระองค์จะ “เสวยน ้าจัณฑ์เวลาเย็นที ่ 2 วัง” และท้ายสุด พระจริยวัตรนี้ได้รับการย ้าผ่านเรื่องทรงแสดงวิชาคงกระพันชาตรีว่า พระองค์ทรง 3 ่ ทราบเรื่องมหาดเล็กถูกนักเลงท าร้ายขณะทีทรงดมน ้าจัณฑ์อยู่ทีวัง ่ ื่

ิ ิ 1 หม่อมเจ้าหญง ประสงค์สม บริพัตร. (2499). บันทึกความทรงจ าบางเร่องของหม่อมเจ้าหญง ื ประสงค์สม บริพัตรในสมเด็จเจ้าฟ้ากรมพระนครสวรรค์วรพินิต. หน้า 17. 2 กองทัพเรือ. (2503). เล่มเดิม. หน้า 77. 3 ทานตะวัน. (2504). เจ้าพ่อกรมหลวงชุมพรฯ. หน้า 238.

95

่ อย่างก็ตาม เมือค าอธบายเรื่องเหตุทีกรมหลวงชุมพรฯทรงออกจากราชการโดย ่ ิ ิ ิ หม่อมเจ้าหญง ประสงค์สม ได้รับการผลิตซ ้าในงานเขียนพระประวัตโดยบุคคลทัวไปมากขึ้น ่ ็ ื่ ่ ่ พระจริยวัตรทีทรงโปรดดมน ้าจัณฑ์ก็สร้างภาพลักษณ์แง่ลบตอพระองค์และแสดงถึงความไม่เปน มืออาชีพในฐานะนายทหารเรือ พระจริยวัตรนี้จึงได้รับการกล่าวถึงในพระประวัตฉบับทางการ ิ ่ น้อยลง กระนั้น พระจริยวัตรนี้ยังคงด ารงอยูในพิธกรรมบูชาเจ้าพ่อกรมหลวงชุมพรฯ โดยมีเหล้า ี ่ ็ ี วิสก้เปนหนึ่งในเครื่องบูชาถวายแดพระองค์ พระจริยวัตรนี้จึงยังด ารงอยูในความทรงจ าของผู้คน ่ ็ ่ และเปนคุณสมบัตส่วนหนึ่งของความเปนคนนอกชนชั้นนี้ทีท าให้ตัวตนของพระองค์ในฐานะผู้ใช้ ิ ็ ู ่ ศาสตร์ความร้นอกระบบสมัยใหม่ได้รับการจดจ าทัวไปมากกว่าความเปนทหารเรือ ็ ื ื 3.2.2 โครงเร่องและแนวเร่องของพระประวัติในทศวรรษ 2510-2530 ในช่วงทศวรรษ 2510-2530 การเล่าเกร็ดพระประวัตเรื่องอทธปาฏิหาริย์ ิ ิ ิ ิ ่ ี่ เกยวกับกรมหลวงชุมพรฯในงานเขียนพระประวัตฉบับทางการได้ยกเกร็ดพระประวัตทีผลิตขึ้น ิ ี ่ ู ในช่วงก่อนหน้านี้จ านวนหนึ่งมาผลิตซ ้าอกครั้ง ตอกย ้ากระแสความร้ความเข้าใจตอตัวตนด้านนี้ ิ ่ ของพระองค์ภายใต้บริบททางประวัตศาสตร์ทีเปลี่ยนแปลงไป อย่างไรก็ตาม บริบทใหม่ก็ได้ ่ ิ เปลี่ยนแปลงคุณคาอทธปาฏิหาริย์ของพระองค์ใหม่ จนกระะทังปลายทศวรรษ 2530 การเชิดชู ่ ิ ี่ ุ พระองค์ขึ้นเปนวีรบุรษแห่งชาติได้เริ่มปฏิเสธเรื่องราวอทธปาฏิหาริย์เหนือจริงเกยวกับพระองค์ ิ ิ ็ ิ ิ ิ เรื่องราวเกร็ดพระประวัตอทธปาฏิหาริย์ ณ ช่วงเวลานี้ส่วนใหญก่อน พ.ศ. 2536 ่ ิ ่ มีส่วนหนึ่งทีผลิตซ ้าเรื่องทีเคยปรากฏในงานเขียนพระประวัตช่วงเวลาก่อนหน้าและอีกส่วนหนึ่งเปน ่ ็ ู ่ ่ เรื่องราวใหม่ทีเพิ่มเติมเข้ามา เพือตอกย ้ากระแสความร้ความเข้าใจ กลุ่มเรื่องในโครงเรื่องพระจริย วัตรด้านเลื่อมใสศรัทธาวิชาไสยศาสตร์ยังคงด าเนินเรื่องด้วยการเล่าถึงความเลื่อมใสศรัทธาของ ่ ่ ิ ่ กรมหลวงชุมพรฯตอหลวงปูศุขเปนต้นเรื่องและเชือมโยงกับเรื่องราวอทธปาฏิหาริย์ทีพระองค์ทรง ิ ่ ็ ่ ่ ส าแดงวิชาไสยศาสตร์ของหลวงปูเช่นเดิม แต่มีการเพิ่มเติมเรื่องใหม่เข้ามาจ านวนสองกลุม ่ ิ กลุ่มแรกเปนกลุ่มเล่าเรื่องอทธปาฏิหาริย์ช่วงทีกรมหลวงชุมพรฯยังทรงมีพระชนม์ ิ ็ ุ ชีพ โดยมีเรื่องเล่าทีได้รับการผลิตซ ้าบ่อยครั้งจ านวนสี่เรื่อง ได้แก่ เรื่องหลวงปูศุขลงตะกรดสาม ่ ่ ี กษัตริย์ให้กรมหลวงชุมพรฯ, เรื่องพระจริยวัตรท าพิธไหว้ครทุกป, เรื่องทรงเลื่อมใสเจ้าแม่เซียนโกว ู ี และเรื่องอาวตากัน ทั้งสี่เรื่องนี้มีลักษณะแนวเรื่องแบบสุขนาฏกรรม (Comedy) โดยน าเสนอถึงการที ่ ่ กรมหลวงชุมพรฯทรงได้รับเครองรางศักด์สิทธ์จากพระอาจารย์ของพระองค์, ความส าเร็จในการ ิ ื ิ ่ ่ ี ู ู ประกอบพิธกรรมไหว้คร, การได้รับรปสลักเจ้าแม่เซียนโกวตามพระประสงค์ และการทีพระองค์ทรง ได้รับการยอมรับจากตากันในฐานะศิษย์ร่วมอาจารย์เดียวกันตามล าดับ ขณะทีสามเรื่องแรกมิได้มี ่ ิ ปมปญหาชัดเจนและน าเสนอเรื่องความเลื่อมใสของกรมหลวงชุมพรฯต่ออ านาจอิทธปาฏิหาริย์ มี ั

96

ั ่ เพียงเรื่องอาวตากันทีมีปมปญหาชัดเจน โดยเรื่องราวน าเสนอการเผชิญหน้าระหว่างกรมหลวง ่ ชุมพรฯกับนาย “กัน” ผู้ใช้วิชาไสยศาสตร์ขัดขวางมิให้พระองค์ทรงล่าสัตว์บนเกาะแห่งหนึ่งในอาว ่ ่ สัตหีบ พระองค์ทรงถูกนายกันท้าทายว่า พระองค์กับทหารเรือมิอาจสามารถฆ่าเขาได้ จึงทรงรับสัง ให้ถ่วงนายกันลงทะเล แตพระองค์กับทหารเรือไม่สามารถฆ่านายกันได้ เมือนายกันทราบว่า ่ ่ ื บุคคลเบื้องหน้าคอ กรมหลวงชุมพรฯ พระราชโอรสของพระมหากษัตริย์ และแนะน าตนเองใน ิ ่ ิ ี ่ ิ ฐานะศษย์ของหลวงปูศุข สถานการณ์ก็คลี่คลายลง โดยกรมหลวงชุมพรฯทรงมีความปตยินดทีได้ ี ่ ิ พบเจอกับศษย์ร่วมอาจารย์เดยวกัน จึงทรงประทานสิทธ์ในการท ามาหากนบนเกาะแหงน้แกนาย ิ ิ ่ ี กันเพียงผู้เดียว และเรื่องเล่าลือนี้ท าให้ทะเลบริเวณรอบเกาะแห่งนี้เรียกว่า “อ่าวตากัน” 1 กลุมหลังเปนกลุมเล่าเรื่องอิทธปาฏิหาริย์จากการบนบานร้องขอความช่วยเหลือ ่ ็ ่ ิ ่ จากเจ้าพ่อกรมหลวงชุมพรฯ เช่น เรื่องเจ้าพ่อกรมหลวงชุมพรฯทรงอ านวยการขายทีดน, เรื่องการตั้ง ิ ็ ศาลกรมหลวงชุมพรฯแห่งแรกทีปากน ้าประแสร์, เรื่องเจ้าพ่อฯช่วยเดกชาวประมง, เรื่องเจ้าพ่อฯ ่ ทรงช่วยชีวิตพลเรือตรี ชินวัตร วงษ์เพ็ญศรี และเรื่องโชคลาภจากการสร้างพระอนุสาวรีย์ เปนต้น ็ เรื่องราวในกลุมนี้ส่วนใหญจะปรากฏเพียงในงานเขียนพระประวัตโดยบุคคลนอกกองทัพเรือชิ้นใด ิ ่ ่ ชิ้นหนึ่ง และมิได้ปรากฏในงานเขียนพระประวัตฉบับทางการ เรื่องราวในกลุ่มนี้เล่าเรื่องด้วยแนวเรื่อง ิ ่ สุขนาฏกรรม (Comedy) โดยเล่าถึงเหตุการณ์ปาฏิหาริย์ทีเจ้าพ่อกรมหลวงชุมพรฯทรงช่วยเหลือให้ สถานการณ์ความเดือดร้อนคลี่คลายลงไป หรือดลบันดาลให้ผู้บนบานร้องขอได้รับโชคลาภ ่ ิ ถึงแม้เกร็ดพระประวัตทั้งสองกลุมนี้มีลักษณะการเล่าเรื่องแตกตางกัน แต ่ ่ ่ น าเสนอข้อสรปของเรื่องแบบ Formist เหมือนกัน โดยกลุมหนึ่งมุงตอกย ้าพระจริยวัตรด้านความ ่ ุ ่ เลื่อมใสศรัทธาไสยศาสตร์ด้วยการยืนยันความสัมพันธ์ระหว่างกรมหลวงชุมพรฯกับหลวงปูศุขผ่าน ุ ี ่ การทหลวงปูศุขลงตะกรดสามกษัตริย์ถวายแด่พระองค์, การนิมนต์หลวงปูศุขมาร่วมพิธไหว้ครทาง ่ ่ ี ู ี ่ ิ ิ ิ ไสยศาสตร์ทุกป และความปตยินดพระทัยทีได้พบกับศษย์ร่วมอาจารย์คนเดยวกัน รวมทั้งการเล่า ี ี ถงความเลือมใสตออ านาจสิงศักด์สิทธ์อน ๆ ดังเช่นเรองทรงเลือมใสเจ้าแม่เซียนโกว ขณะเดยวกัน ่ ่ ื ึ ี ่ ่ ่ ิ ื ่ ิ ่ ่ ่ อกกลุมหนึ่งมุงยืนยันพลังอทธปาฏิหาริย์ทีพระองค์ทรงมีด้วยการเล่าถึงการบนบานของผู้คนขอ ิ ี ิ ความช่วยเหลือจากเจ้าพ่อกรมหลวงชุมพรฯในเรื่องเดือดร้อนต่าง ๆ ี ่ เมือผู้วิจัยพิจารณารายละเอยดของเรื่องราวอทธปาฏิหาริย์กลุมหลัง ก็ ่ ิ ิ สังเกตเห็นว่า เรื่องราวจ านวนหนึ่งน าเสนอคุณสมบัตของเจ้าพ่อกรมหลวงชุมพรฯเพิ่มเตมจาก ิ ิ คุณสมบัตเดิมทีปรากฏในเรื่องราวอทธปาฏิหาริย์ช่วงเวลาก่อนหน้า นันคอ คุณสมบัตเกยวกับดล ่ ิ ื ิ ิ ิ ่ ี่ ิ ่ ิ บันดาลโชคลาภความมังคัง โดยคุณสมบัตนี้ได้กล่าวถึงในงานเขียนพระประวัตอย่างน้อยสองชิ้น ่

1 แหล่งเดิม. หน้า 34-36.

97

ื ได้แก่ หนังสือ อนุสรณ์ งานพิธีประดิษฐานพระรูป พลเรอเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวง ์ ชุมพรเขตรอุดมศักดิ์ ที่ศาลต าบลปากน ้าประแสร อ าเภอแกลง จังหวัดระยอง (พ.ศ. 2512) และ หนังสือ พระประวัติและพระเกียรติคุณ พลเรือเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงชุมพรเขตรอุดม

่ ิ ื ศักดิ์ (พ.ศ. 2534) ตัวอย่างเรื่องหนึ่งทีแสดงคุณสมบัตนี้คอ เรื่องการตั้งศาลกรมหลวงชุมพรฯแห่ง ี ิ แรกทีปากน ้าประแสร์ เรื่องนี้เล่าถึงการอธษฐานของนายหลอง ทรัพย์เจริญ อดตทหารเรือทีออก ่ ่ จากราชการมาประกอบอาชีพชาวประมงทีปากน ้าประแสร์ ร้องขอความช่วยเหลือจากเจ้าพ่อกรม ่ ิ หลวงชุมพรฯให้ทรงดลบันดาลช่วยเหลือในการประกอบอาชีพ คุณสมบัตดังกล่าวเกิดขึ้นภายใต้ บริบทการขยายตัวของเศรษฐกิจเมืองในช่วงทศวรรษ 2520-2530 และการถดถอยลงของ เศรษฐกิจภาคการเกษตรช่วงปลายทศวรรษ 2520 การขยายตัวของเศรษฐกิจเมืองนี้ส่วนหนึ่งมาจากปจจัยภายในด้านประชากร ั จากความส าเร็จในการคุมก าเนิด อัตราการเพิ่มประชากรได้ลดลงจากร้อยละ 3 ตอปในช่วง ี ่ ี 1 ุ ทศวรรษ 2490 เหลือเพียงร้อยละ 1 ต่อปในช่วงทศวรรษ 2530 ความส าเร็จนี้ท าให้คนร่นหนุ่มสาว เข้าสูการท างานมากขึ้นขณะทีมีภาระการใช้จ่ายในการเลี้ยงครอบครัวน้อยลง ขณะเดยวกัน ่ ่ ี ่ ั เศรษฐกิจภาคการเกษตรประสบปญหาผลผลิตตกต าลงและวิกฤตการณ์ราคาน ้ามันสูงขึ้นใน ทศวรรษ 2520 เนืองด้วยสถานการณ์สงครามอรัก-อหร่าน (พ.ศ. 2523-2531) อกส่วนหนึ่งมาจาก ิ ี ่ ิ ปจจัยภายนอกในด้านการลงทุนของญปุนทีไหลเข้าสูประเทศไทยตั้งแตทศวรรษ 2520 ปจจัย ี่ 2 ่ ่ ั ่ ่ ั ่ เหล่านี้ประกอบกับเสถยรภาพทางการเมืองไทยทีมันคงมากขึ้นหลังเหตุการณ์ 6 ตุลาคม พ.ศ. ี ่ ่ ่ ่ ื ื ่ ิ ่ 2519 ท าให้คุณคาของสิงศักด์สิทธ์เปลียนแปลงไป แม้คุณคาในเรองการปกป้องคุ้มครองผู้นับถอ ิ จะยังคงด ารงอยู แตความหมายของความปลอดภัยได้รับการตความกว้างขวางขึ้น ไม่เพียงแตภัย ่ ี ่ ่ ่ ่ ่ อันตรายตอชีวิตเท่านั้น หากแตรวมถึงความเสี่ยงตาง ๆ ในชีวิตประจ าวันของผู้คน เช่น การเรียน ิ การสอบ, การท าธุรกิจการค้า และความเจ็บปวย เปนต้น รวมถึงการมีคุณสมบัตในเรื่องส่งเสริม ็ ่ ิ ิ โชคลาภ ดังนั้น เกร็ดพระประวัตเรื่องอทธปาฏิหาริย์ของกรมหลวงชุมพรฯ ณ ช่วงเวลานี้จึงปรากฏ ิ เรื่องราวส่วนหนึ่งทีน าเสนอคุณสมบัติในแง่การช่วยเหลือเก้อหนุนโชคลาภทางเศรษฐกิจ ่ ื ส่วนกลุมเรื่องในโครงเรื่องหมอพรก่อน พ.ศ. 2536 ก็ผลิตซ ้าการเล่าเรื่อง ่ ่ ตามเดิมเช่นกัน โดยยังคงเล่าถึงเรื่องทรงเปนหมอพรเปนเรื่องราวแรกเริ่ม และมีเรื่องเล่าทีได้รับการ ็ ็ ่ ผลิตซ ้าบ่อยครั้งสี่เรื่อง ได้แก่ เรื่องทรงรักษาชาวจีนทีส าเพ็ง, เรื่องทรงท าคลอดนางละคร, เรื่องสูตรยา ื อายุวัฒนะ และเรื่องคัมภีร์ต ารายาของพระองค์ เรื่องราวเกอบทั้งหมดยังคงเล่าเรื่องเช่นเดม มี ิ

1 คริส เบเกอร์; และ ผาสุก พงษ์ไพจิตร. (2557). ประวัติศาสตร์ไทยร่วมสมัย. หน้า 300. 2 แหล่งเดิม. หน้า 301-302.

98

่ ิ ี เพียงเรื่องคัมภีร์ต ายาทีได้รับการเพิ่มเตมมากขึ้นด้วยการให้รายละเอยดตัวอย่างยาแผนไทยที ่ ่ เขียนในคัมภีร์ เรื่องราวส่วนใหญด าเนินแนวเรื่องแบบสุขนาฏกรรม (Comedy) น าเสนอ ความส าเร็จในการรักษาโรคภัยไข้เจ็บของกรมหลวงชุมพรฯในฐานะหมอพร และพระปรีชา สามารถในด้านการแพทย์แผนไทยตามเกร็ดพระประวัติเรื่องนี้ทีได้ผลิตขึ้นในช่วงเวลาก่อนหน้า ่ ิ ุ แนวเรื่องของเกร็ดพระประวัตเรื่องนี้ได้น าเสนอข้อสรปแบบ Formist โดยมองว่า ความส าเร็จในการประกอบอาชีพแพทย์แผนไทยมาจากพระปรีชาสามารถของกรมหลวงชุมพรฯใน ่ ความร้ด้านนี้และพระอัธยาศัยทีทรงมีน ้าพระทัยรักษาผู้คนอย่างไม่เลือกหน้า จนกระทังถึง ู ่ ่ ี ทศวรรษ 2530 คุณคาเรื่องพระปรีชามารถและพระอัธยาศัยของพระองค์ได้รับการตความใหม่ ่ ภายใต้กรอบทีกว้างขึ้นคือ คุณค่าการท าประโยชน์ต่อส่วนรวม ซึงเปนอุดมการณ์ใหม่ทีรัฐพยายาม ่ ็ ่ ่ ี ่ จะสร้างขึ้นเพือยกสถานะของสถาบันพระมหากษัตริย์ให้สูงขึ้น กรอบคุณคานี้จึงได้ตความอธบาย ิ ความเปนหมอพรใหม่ในลักษณะพระหฤทัยเบื้องลึกทีจะทรงอุทิศพระองค์กระท าประโยชน์ตอ ่ ็ ่ ่ ่ ่ ิ ิ ประเทศชาตแม้จะมิได้ทรงอยูในราชการ กรอบคุณคานี้เริมปรากฏในงานเขียนพระประวัตที ่ ่ ี ่ ็ จัดพิมพ์โดยสมาคมส่งเสริมเอกลักษณ์แห่งชาติ โดยให้คุณค่าตอพระกรณยกิจทีทรงเปนหมอพรว่า ็ ่ “พระองค์จึงทรงเปนนักสังคมสงเคราะห์อาสาสมัครทียิ่งใหญพระองค์หนึ่งของเมืองไทย ทีทรง ่ ่ สงเคราะห์ประชาชนผู้ประสบความทุกข์ยากเดอดร้อน ด้วยพระเมตตากรณาอันสูงยิ่ง โดยไม่ ื ุ ่ ่ ่ ่ ประสงค์ลาภยศและสิ่งตอบแทนแตประการใด” การให้คุณคากรอบใหญเช่นนี้ทั้งตอเรื่องราวพระ 1 ี ่ กรณยกิจด้านกิจการทหารเรือและตอเรื่องราวหมอพรได้ท าให้ตัวตนของกรมหลวงชุมพรฯมีความ ื เปนวีรบุรษทีอุทิศพระองค์ต่อประโยชน์ส่วนรวมเช่นเดียวกับเชื้อพระวงศ์พระองค์อนในราชวงศ์ ่ ่ ็ ุ ่ ทั้งกลุมเรื่องในโครงเรื่องพระจริยวัตรด้านเลื่อมใสศรัทธาวิชาไสยศาสตร์และ ี กลุ่มเรื่องในโครงเรื่องหมอพรตางมีนัยยะอุดมการณ์แบบ Anarchist เช่นเดยวกันและตความด้วย ี ่ ่ ิ ็ อุดมการณ์ใหม่ของชาต โดยมองว่า แม้ความทันสมัยจากตะวันตกเปนสิ่งทีสร้างความ ่ ิ ู ู เจริญก้าวหน้าตอชาตบ้านเมือง แตองค์ความร้จารีตของไทยทั้งวิชาไสยศาสตร์และความร้แพทย์ ่ ่ ่ ู แผนไทยมีคุณประโยชน์ตอสังคมอีกด้านหนึ่งทีทัดเทียมกับความร้แบบตะวันตก และมิอาจทดแทน ู ด้วยความร้ความทันสมัยแบบตะวันตก

1 นันทวัน เพ็ชรวัฒนา; และ สมเกยรติ ศรีวิลัย. (2534). พระประวัติและพระเกียรติคุณ พลเรือเอก ี พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงชุมพรเขตรอุดมศักดิ์. หน้า 16.

99

่ อย่างไรก็ตาม เมือกรมหลวงชุมพรฯจะได้รับการเชิดชูเปนวีรบุรษแห่งชาตด้วย ิ ุ ็ ิ ี 1 การเฉลิมพระเกยรตยศพระองค์เปน “พระบิดาของกองทัพเรือไทย” โดยกองทัพเรือใน พ.ศ. 2536 ็ เรื่องราวเกร็ดพระประวัติของกรมหลวงชุมพรฯในงานเขียนฉบับทางการทั้งเรื่องอิทธปาฏิหาริย์และ ิ ี ่ เรื่องหมอพรจะเริมมีการเปลี่ยนแปลงในการเล่าเรื่องและในรายละเอยด เพือขับเน้นคุณสมบัต ิ ่ ิ ่ ุ ็ ความเปนวีรบุรษด้านทหารเรือและการเปนผู้สร้างคุณประโยชน์ตอชาตมากขึ้น ขณะทีลด ่ ็ ็ ่ ิ ่ ิ ้ ่ ิ ื ่ คุณสมบัตความเปนสิงศักด์สิทธ์ลง ร่องรอยของการเปลียนแปลงน้เริมปรากฏครังแรกในเรอง “เกร็ด ี ็ พระประวัตเสดจในกรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักด์” จากหนังสือ อนุสรณ์ท่านหญิงเริง (พ.ศ. 2537) ิ ิ ็ กลุ่มเรื่องในโครงเรื่องพระจริยวัตรด้านเลื่อมใสศรัทธาวิชาไสยศาสตร์เปนส่วนที ่ ี มีการเปลี่ยนแปลงมากทีสุดทั้งแนวเรื่องและรายละเอยด งานเขียนพระประวัตนี้ใช้แนวเรื่องเย้ย ิ ่ ู ่ หยัน (Satire) เล่าเรื่องตรงข้ามกับความร้ความเข้าใจเดิมของผู้คนตอตัวตนเจ้าพ่อกรมหลวงชุมพร ่ ิ ่ ่ ฯทีสืบเนืองมาตั้งแตทศวรรษ 2500 พระประวัตได้น าเสนอความทรงจ าของหม่อมเจ้าหญง เริงจิตร ิ แจรง อาภากร พระธดาของกรมหลวงชุมพรฯ ว่า แม้ท่านหญงยืนยันความเลื่อมใสศรัทธาของกรม ิ ิ หลวงชุมพรฯตอไสยศาสตร์และเคร่งครัดพุทธศาสนาอย่างมาก แตท่านหญงก็ไม่เคยประสบหรือ ่ ่ ิ ่ ู ิ ื ิ เห็นอทธปาฏิหาริย์ใด ๆ จากพระองค์หรือจากเกจิอาจารย์รปใดทีพระองค์ทรงนับถอ ตัวอย่างเรื่อง ่ ื ่ หนึ่งคอ เรื่องกรมหลวงชุมพรฯทรงพบหลวงปูศุขครั้งแรก หม่อมเจ้าหญง เริงจิตรแจรงเล่าว่า เมือ ิ ิ เรือของกรมหลวงชุมพรฯจอดเทียบท่าหน้าวัดมะขามเฒ่า จ.ชัยนาท ท่านหญงมิได้พบเห็น อิทธปาฏิหาริย์ทีหลวงปูศุขเสกหัวปลีเปนกระตายตามเรื่องเล่าลือเดิม หากแตลูกศษย์วัดเปนผู้เล่า ่ ิ ิ ็ ่ ่ ่ ็ ความขลังความศักด์สิทธ์ของหลวงปูศุข ท าให้กรมหลวงชุมพรฯทรงสนพระทัย จึงเสดจไปพูดคุย ิ ิ ่ ็ ็ ่ กับหลวงปูและทรงขอเปนศิษย์เรียนวิชาอาคม 2 ส่วนกลุ่มเรื่องในโครงเรื่องหมอพรยังเล่าเรื่องยังคงใช้แนวเรื่องแบบสุขนาฏกรรม ่ ิ ี (Comedy) เช่นเดม แตมีการเปลี่ยนมุมมองการน าเสนอและรายละเอยดของการเล่าเรื่องใหม่ เกร็ดพระประวัตมิได้น าเสนอถึงปาฏิหาริย์หรือความส าเร็จในการรักษาโรคของกรมหลวงชุมพรฯ ิ ่ หากแตเล่าถึงพระหฤทัยของพระองค์ทีทรงมีพระประสงค์จะกระท าประโยชน์ตอสาธารณะ โดย ่ ่ ิ อธบายว่า หลังจากทีพระองค์ทรงด าเนินพระชนม์ชีพบนเรือใบอยูระยะหนึ่ง ทรงมีพระด าริไม่เห็น ่ ่ ็ ประโยชน์และมีเวลาว่างมากมาย จึงจะทรงเปนหมอรักษาผู้คนเปนการสร้างบุญกุศล เมือทรงเปน ็ ็ ่

์ 1 พลเรือตรี กรีฑา พรรธนะแพทย์. (2537). นานไปเขาไม่ลืม... วันอาภากร. ใน อนุสรณท่านหญิงเริง. หน้า 355. ิ 2 หม่อมเจ้าหญง เริงจิตรแจรง อาภากร. (2537). เกร็ดพระประวัติเสด็จในกรมหลวงชุมพรเขตอุดม ศักดิ์. ใน อนุสรณ์ท่านหญิงเริง. หน้า 227.

100

่ ี หมอแล้ว พระองค์ทรงท าการรักษาแก่ผู้คนโดย “ไม่เลือกจะยากดมีจน แม้แตคนในส าเพ็ง บ้าน ่ กระจอกงอกง่อยก็ไปรักษา...ตอนเย็นเสดจไปรับลูกทีโรงเรียน เลยเสดจแวะเยียมคนไข้...จะมีคน ็ ่ ็ ่ ่ ิ ิ ตามไปรักษาเสมอ และไม่เคยคดคารักษา วังเจ้านายก็ตามไป...กุศลและใจทีท า ไม่เคยคดจะเอา 1 ื อะไร จึงรักษาได้ดี กุศลส่งให้รักษาให้หายเกอบทุกราย” ็ ่ การเล่าเรื่องด้วยมุมมองนี้เปนไปตามบริบทของอุดมการณ์แห่งชาติทีรัฐสร้างขึ้น ่ ใหม่เพือยกสถานะสถาบันพระมหากษัตริย์ เรื่องราวพระชนม์ชีพของกรมหลวงชุมพรฯจึงน าเสนอ ุ ่ ่ ่ ข้อสรปแบบ Formist เพือขับเน้นคุณคาความหมายตอบทบาทของชนชั้นน าสอดคล้องตาม อุดมการณ์ใหม่ โดยด้านหนึ่งด าเนินด้วยการเปลี่ยนมุมมองการน าเสนอเรื่องหมอพรใหม่ โดยการ ่ ็ ่ เล่าถึงความทุมเทพระทัยในการเปนหมอรักษาผู้คนข้างต้น เพือแสดงให้เห็นถึงพระหฤทัยของ ่ พระองค์ในฐานะตัวแทนของชนชั้นน าทีดทีมุงหวังสร้างประโยชน์สุขตอมวลชน อกด้านหนึ่งด้วย ี ่ ี ่ ่ ิ การเริมปฏิเสธโดยนัยถึงเรื่องเล่าลือเกยวกับการทีกรมหลวงชุมพรฯทรงมีอ านาจอทธปาฏิหาริย์ ี่ ิ ่ ่ ิ ่ ในช่วงทียังทรงมีพระชนม์ชีพทั้งหมด โดยมองว่า ประสบการณ์เชิงประจักษ์ของหม่อมเจ้าหญง เริง จิตรแจรงเปนหลักฐานยืนยันข้อเท็จจริงเกยวกับกรมหลวงชุมพรฯในทุกเรื่อง คุณสมบัตความ ี่ ็ ิ น่าเชือถอตอความทรงจ าของท่านหญงด้านหนึ่งมาจากความสัมพันธ์ระหว่างท่านหญงกับกรม ่ ิ ่ ิ ื ่ หลวงชุมพรฯ ซึงหม่อมราชวงศ์ อภิเดช อาภากร พระนัดดาของกรมหลวงชุมพรฯ ได้ยืนยันความ ิ น่าเชือถอของเรื่องราวพระประวัตทีท่านหญงเขียนขึ้นด้วยสถานะการเปนพระธดาทีมี ่ ื ่ ิ ิ ่ ็ ความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับกรมหลวงชุมพรฯมากทีสุด และท่านหญงเขียนบันทึกความทรงจ านี้ตั้งแต ่ ิ ่ ช่วงทียังมีสุขภาพแข็งแรงและความจ าทีดมาก อกด้านหนึ่งมาจากความสัมพันธ์ใกล้ชิดระหว่าง ี 2 ี ่ ่ ี ่ ราชสกุลอาภากรกับกองทัพเรือ ทุกวันครบรอบการสิ้นพระชนม์แตละป ผู้บัญชาการทหารเรือจะ ็ ่ เปนตัวแทนของกองทัพเรือไปร่วมงานบ าเพ็ญกุศลของราชสกุลอาภากรแดกรมหลวงชุมพรฯ ซึงมี ่ ร่องรอยปรากฏตั้งแตทศวรรษ 2510 และกองทัพเรือก็เปนผู้จัดพิมพ์หนังสืออนุสรณ์ระลึกถึงท่าน ็ ่ ิ ็ หญงชิ้นนี้ โดยมีพลเรือตรี กรีฑา พรรธนะแพทย์ เปนผู้เขียนและผู้เรียบเรียง และงานเขียนนี้ได้รับ ื การสนับสนุนการจัดพิมพ์จากผู้บัญชาการทหารเรือถึงสองท่านคอ พลเรือเอก วิเชษฐ การณยวนิช ุ 3 (พ.ศ. 2534-2536) และพลเรือเอก ประเจตน์ ศิริเดช (พ.ศ. 2536-2539)

1 แหล่งเดิม. หน้า 213, 215. 2 หม่อมราชวงศ์ อภิเดช อาภากร. (2537). เกร็ดพระประวัติเสด็จในกรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์. ใน อนุสรณ์ท่านหญิงเริง. หน้า 200. ิ 3 พลเรือตรี กรีฑา พรรธนะแพทย์. (2537). “เรารักท่านหญงเริง”. ใน อนุสรณ์ท่านหญิงเริง. หน้า 378.

101

ู ภาพประกอบ 2 พลเรือเอก จรญ เฉลิมเตียรณ ผู้บัญชาการทหารเรือ และ พลเรือเอก อนันต์ เนตรโรจน์ รองผู้บัญชาการทหารเรือ ร่วมงานพิธอุทิศส่วนกุศล ี ของราชสกุลอาภากรถวายแด่กรมหลวงชุมพรฯเมือวันที 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2513 ่ ่ ณ สุสานหลวง วัดราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหาร กรงเทพฯ ุ

ี ่ ทีมา: พิธอุทิศส่วนกุศลถวายแด่ พลเรือเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงชุมพรเขตรอุดม ิ ศักด์. (2513, มิถุนายน). ใน กระดูกงู. 15(169): 26.

่ การขับเน้นคุณคายังด าเนินผ่านนัยยะอุดมการณ์แบบ Liberal ทีปรากฏในงาน ่ ่ เขียนพระประวัตนี้ด้วย โดยให้คุณค่าตอเรื่องความเลื่อมใสศรัทธาไสยศาสตร์เพียงในฐานะพระจริย ิ ่ วัตรของกรมหลวงชุมพรฯทีทรงมีความสนพระทัยตอสิ่งตาง ๆ เท่านั้น งานเขียนนี้จึงมิได้ผลิตซ ้า ่ ่ ่ ิ ิ เรื่องราวอทธปาฏิหาริย์ทีเล่าลืออยู่ในสังคม ขณะเดียวกัน ก็มิได้แก้ไขหรือพิจารณาเรื่องราวเหล่านั้น ิ ิ ่ ่ ในฐานะความเข้าใจผิดแตอย่างใดอาจเนืองด้วยพลเรือตรี กรีฑามองว่า เรื่องราวอทธปาฏิหาริย์

102

็ ่ เหล่านั้นเปนสิ่งทียืนยันความเลื่อมใสศรัทธาของผู้คนต่อพระองค์เช่นเดียวกับค าอธบายในบทความ ิ 1 เรื่อง “พระประวัติ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงชุมพรเขตรอุดมศักด์” (พ.ศ. 2516) ิ ิ ิ นอกจากเรื่องอทธปาฏิหาริย์แล้ว เรื่องหมอพรเองก็สะท้อนถึงนัยยะอุดมการณ์ ิ ็ ิ ิ แบบ Liberal เช่นกัน งานเขียนพระประวัตนี้อธบายคุณสมบัตความเปนแพทย์ของกรมหลวงชุมพรฯ ใหม่ในลักษณะ “แพทย์แผนไทยสมัยใหม่” ซึงแตกตางจากความเปนแพทย์แผนไทยตามเรื่องราว ่ ่ ็ เดิม เรื่องราวเดมได้อธบายว่า พระองค์ทรงศึกษาแพทย์แผนไทยจากพระยาพิษณุประสาทเวช (คง ิ ิ ่ ถาวรเวช) เพียงผู้เดียว และทรงทดลองผสมยาทดลองกับสัตว์ตาง ๆ เมือยาได้ผลดี จึงน ามารักษา ่ ิ ่ ผู้คน เรื่องราวหมอพรใหม่นี้ได้ผลิตซ ้าเฉพาะเนื้อหาส่วนทีเขียนเพิ่มโดยหม่อมเจ้าหญง เริงจิตร ่ ิ ็ แจรงในหนังสือเรื่อง เกร็ดพระประวัติฯ (พ.ศ.2516) ซึงพยายามอธบายคุณสมบัตความเปนหมอ ิ พรใหม่ในลักษณะการผสมผสานระหว่างความเปนแพทย์แผนไทยทีใช้สมุนไพรในการรักษาโรคกับ ็ ่ ็ ความเปนวิทยาศาสตร์แบบตะวันตก โดยเล่าถึงวิธการทีพระองค์ทรงผลิตยารักษาโรคด้วยว่า กรม ี ่ หลวงชุมพรฯทรงมีอุปกรณ์สมัยใหม่ในการผลิตยา เช่น กล้องจุลทรรศน์, เครื่องกลันสมุนไพร และ ่ ็ ื ่ เครื่องจักรอัดยาเม็ด เปนต้น และทรงแต่งพระองค์อย่างหมอฝรัง สวมผ้ากันเป้อนในการปฏิบัติงาน 2 ิ ็ ในห้องทดลองของพระองค์ ความเปนแพทย์แผนไทยสมัยใหม่นี้ได้รับการอธบายความเปนมาว่า ็ ็ พระองค์ทรงศึกษาวิชาแพทย์จากพระอาจารย์หลายท่าน ทรงมีพระยาพิษณุประสาทเวชเปนพระ อาจารย์คนแรก และต่อมาก็ทรงศึกษาวิชาแพทย์จากพระอาจารย์อกหลายคน เช่น แพทย์ชาวอตา ี ิ ่ ่ ุ ่ เลียนชือ “โบโตนี”, แพทย์ชาวญปุนชือ “มิตตานี” รวมถึงพระภิกษชือ อาจารย์ปอต 3 ๊ ี่ ่ ่ ิ ผู้วิจัยตั้งข้อสังเกตว่า ความเปนแพทย์แผนไทยสมัยใหม่นี้อาจได้รับอทธพลจาก ิ ็ ความแพร่หลายมากขึ้นของการแพทย์แผนปจจุบันอันเนืองมาจากการผลักดันโครงการสาธารณสุข ่ ั ิ ็ มูลฐานโดยภาครัฐให้เปนวาระแห่งชาตตั้งแต่ช่วงทศวรรษ 2520-2530 จากความส าเร็จในโครงการ ทดลองอาสาสมัครสาธารณสุขประจ าหมูบ้านทีด าเนินการในช่วงทศวรรษก่อน โครงการทดลองนี้ได้ ่ ่ ่ สร้างผู้สื่อข่าวสาธารณสุข (ผสส.) และอาสาสมัครสาธารณสุขประจ าหมูบ้าน (อสม.) ขึ้นเปน ็ ่ ตัวแทนของภาครัฐในการให้ข้อมูลข่าวสารการดูแลสุขภาพขั้นพื้นฐานและการรักษาอาการเจ็บปวย

1 ส านักงานเลขานุการกองทัพเรือ. (2516, พฤษภาคม). พระประวัติ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวง ชุมพรเขตรอุดมศักดิ์. ใน นาวิกศาสตร์. 56(5): 51. ิ 2 หม่อมเจ้าหญง เริงจิตรแจรง อาภากร. (2537). เกร็ดพระประวัติเสด็จในกรมหลวงชุมพรเขตอุดม ศักดิ์. ใน อนุสรณ์ท่านหญิงเริง. หน้า 213. 3 แหล่งเดิม.

103

ิ ่ ่ ็ 1 แก่ประชาชนในท้องถินชนบทโดยคดคาบริการไม่แพง อาสาสมัครทั้งสองนี้เปนเครื่องมือส าคัญของ รัฐในการเข้าไปจัดการสุขภาพของชาวบ้านชนบทตามความประสงค์ของรัฐส่วนกลาง ความส าเร็จ ่ ดังกล่าวนี้ท าให้เกิดโครงการสาธารณสุขมูลฐานขึ้น เพือสร้างอาสาสมัครทั้งสองเข้าไปจัดการ ่ ่ สุขภาพของชาวบ้านชนบทตอเนืองตั้งแต่ทศวรรษ 2520 เมือสิ้นสุดแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ่ ่ ิ แห่งชาตฉบับที 7 (พ.ศ. 2535-2539) มีอาสาสมัครสาธารณสุขประจ าหมู่บ้าน และศูนย์สาธารณสุข มูลฐานชุมชนทัวประเทศไทย โดมมีอาสาสมัครสาธารณสุขประจ าหมู่บ้านจ านวน 653,262 คน และ ่ 2 มีศูนย์สาธารณสุขมูลฐานชุมชนจ านวน 64,832 แห่ง การจัดการด้านสาธารณสุขของรัฐส่วนกลาง ิ นี้จึงอาจเข้ามามีอทธพลตอมุมมองของผู้คนชนบทถึงความเหนือกว่าของการแพทย์แผนปจจุบัน ั ่ ิ ิ ิ ็ และท าให้คุณสมบัตความเปนแพทย์แผนไทยดั้งเดมและความอัศจรรย์ในการรักษาโรคของหมอพร ิ ต้องปรับเปลี่ยนให้สอดคล้องกับทัศนคตของผู้คนในสังคมดังกล่าว เราจะเห็นได้ว่า เกร็ดพระประวัตเรื่องราวอทธปาฏิหาริย์ในช่วงทศวรรษ 2510- ิ ิ ิ ู ่ 2530 ส่วนใหญได้ตอกย ้าตัวตนของกรมหลวงชุมพรฯในฐานะผู้ใช้ศาสตร์ความร้นอกระบบ ิ สมัยใหม่ โดยผลิตซ ้าเรื่องราวและขับเน้นคุณสมบัตของพระองค์ทีปรากฏในช่วงก่อนหน้าด้วยการ ่ ิ ่ เพิ่มเรื่องราวอทธปาฏิหาริย์ แตบริบทการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและการปรับเปลี่ยนนโยบาย ิ ิ ทางเศรษฐกิจออกจากภาคการเกษตรในช่วงทศวรรษ 2510-2520 ท าให้คุณสมบัตในการดล บันดาลโชคลาภเข้ามาเปนส่วนหนึ่งของตัวตนด้านนี้ ็ ่ จนกระทังถึงทศวรรษ 2530 อุดมการณ์ใหม่ของชาตทีต้องการยกสถานะ ิ ่ สถาบันพระมหากษัตริย์เปนสถาบันสูงสุดของสังคมไทยได้ก าหนดบทบาทของชนชั้นน าให้แสดงถึง ็ ่ ่ ่ ่ การอุทิศตนเพือประโยชน์ตอมวลชน คุณคาการอุทิศตนเพือประโยชน์ตอมวลชนจึงได้กลายเปน ็ ่ ่ ี ่ กรอบคุณคาใหญทีก ากับการตความคุณคาตอทุกพระกรณยกิจของกรมหลวงชุมพรฯทั้งในเรื่อง ่ ่ ่ ี ็ กิจการทหารเรือและเรื่องอทธปาฏิหาริย์ โดยเฉพาะเรื่องราวหมอพร ซึงเปนพระกรณยกิจทีทรง ่ ิ ี ิ ่ กระท าประโยชน์ตอมวลชนโดยตรง ท าให้ตัวตนของหมอพรผู้ใช้ศาสตร์ความร้นอกระบบสมัยใหม่ ่ ู ได้รับการตความใหม่ โดยเริมหันเหมุมมองจากความส าเร็จอย่างอัศจรรย์ในการรักษาโรคไปสู ่ ี ่

1 ทวีทอง หงส์วิวัฒน์; และคณะ. (2524, ตุลาคม-ธันวาคม). วิเคราะห์โครงการสาธารณสุขมูลฐาน ิ ื ไทย. ใน สังคมศาสตร์การแพทย์. 3(3): 4-5. (อ้างองจาก ทวีศักดิ์ เผอกสม. (2550). เชื้อโรค ร่างกาย และรัฐเวช กรรม: ประวัติศาสตร์การแพทย์สมัยใหม่ในสังคมไทย. หน้า 298.) 2 รัตติยา ศีลสารร่งเรือง. (2543). 20 ปของเส้นทางสูการมีสุขภาพดีถ้วนหน้าของประชาชน. หน้า ี ุ ่ 41-47. (อ้างองจาก ทวีศักดิ์ เผอกสม. (2550). เชื้อโรค ร่างกาย และรัฐเวชกรรม: ประวัติศาสตร์การแพทย์ ื ิ สมัยใหม่ในสังคมไทย. หน้า 302.)

104

่ ่ ่ คุณประโยชน์ทีกรมหลวงชุมพรฯทรงกระท า และยกคุณคาการตั้งพระทัยอุทิศพระองค์เพือสร้าง ่ ิ ื ่ ิ ประโยชน์ต่อผู้คนเปนคุณสมบัตหลักทีก ากับการอธบายคุณสมบัตอน ๆ ของพระองค์ ็ ิ ่ ่ ตอมามุมมองนี้ได้กลายเปนมุมมองกระแสหลักทีขับเน้นคุณสมบัตความเปน ็ ็ ิ ี ุ ิ ็ วีรบุรษของพระองค์หลังจากทรงได้รับการเฉลิมพระเกยรตขึ้นเปน “พระบิดาแห่งกองทัพเรือไทย” ั ุ ิ ใน พ.ศ. 2536 จวบจนถึงปจจุบัน การขับเน้นคุณสมบัตความเปนวีรบุรษทหารเรือกับการอุทิศตน ็ ็ ่ เพือประโยชน์ตอส่วนรวมกลายเปนประเดนหลักในการเล่าเรื่องราวพระประวัตของกรมหลวงชุมพรฯ ่ ็ ิ ิ ่ ท าให้การเล่าเรื่องราวเชิงอทธปาฏิหาริย์เหนือจริงเริมมิได้รับการยอมรับในการเขียนพระประวัต ิ ิ ่ ่ ู ิ ฉบับทางการแม้กระแสความร้ความเข้าใจอยูยังด ารงอยูในสังคมและในงานเขียนพระประวัตโดย ่ ื บุคคลสาธารณะคนอนนอกกองทัพเรือกับราชสกุลอาภากร

ุ 4. สรปท้ายบท ิ งานเขียนพระประวัตของกรมหลวงชุมพรฯฉบับทางการได้แสดงถึงการเปลี่ยนแปลงการ ่ ่ สร้างความหมายตอตัวตนของพระองค์ในแตละช่วงเวลา โดยแบ่งการเปลี่ยนแปลงโครงเรื่องการ ี ่ ็ เล่าพระชนม์ชีพออกเปนสองด้าน ได้แก่ ด้านการเล่าเรื่องพระชนม์ชีพทัวไปและพระกรณยกิจด้าน กิจการทหารเรือ และด้านการเล่าเรื่องอิทธปาฏิหาริย์เหนือจริง ิ การเล่าเรื่องด้านแรกได้มีการเปลี่ยนแปลงแนวเรื่องจากสุขนาฏกรรม (Comedy) ในงาน ิ ่ เขียนพระประวัตช่วงก่อนทศวรรษ 2490 ไปสูแนวเรื่องวีรคต (Romance) ในช่วงหลังทศวรรษ ิ ่ 2490 ท าให้ตัวตนของพระองค์ในสองช่วงเวลาดังกล่าวถูกน าเสนอแตกตางกัน ตัวตนของพระองค์ ่ ่ ในฐานะเชื้อพระวงศ์แบบอย่างผู้น าความทันสมัยจากตะวันตกกลับมาสูสยามเพือสนองราชกิจของ ู พระมหากษัตริย์ได้รับการผลักดันไปสูตัวตนใหม่คอ ทหารเรือนักปฏิรปผู้วางรากฐานกิจการ ื ่ ุ ี ทหารเรือไทย โดยใช้ข้อสรปแบบ Formist อธบายความส าเร็จในพระกรณยกิจของพระองค์ด้วย ิ ิ คุณสมบัตความเปนวีรบุรษทีพระองค์ทรงมี เช่น ความกล้าหาญริเริมกระท าสิ่งตาง ๆ ทีเปน ็ ่ ่ ุ ็ ่ ่ ื ่ ่ ่ ประโยชน์ตอผู้อน, พระปรีชาสามารถด้านการทหารเรือ และความมุงมันกระท าสิ่งต่าง ๆ ให้ส าเร็จ ่ ดังพระประสงค์ เปนต้น และด าเนินเรื่องด้วยนัยยะอุดมการณ์แบบ Liberal-radical ด้วยการ ็ ิ ู ชี้ให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงของความร้ความสามารถของคนไทยจากเดมไม่สามารถเดนเรือใน ิ ็ ่ ี ทะเลลึกได้ไปสูการมีความสามารถนั้นพร้อมประเพณวัฒนธรรมทหารเรือทีเปนสากลและได้รับการ ่ ยอมรับจากนานาชาตนับตั้งแตในช่วงทีกรมหลวงชุมพรฯทรงมีพระชนม์ชีพ รวมถึงการ ิ ่ ่ เปลี่ยนแปลงกิจการทหารเรือจากเดมทีมิได้มีรากฐานใดจากราชการในอดตกลายเปนองค์กร ่ ี ิ ็ ราชการสมัยใหม่ทีมีเกยรติยศ ี ่

105

ื ้ การเปลี่ยนแปลงตัวตนนี้เกิดขึ้นภายใต้บริบททีกองทัพเรือพยายามฟนฟูขวัญก าลังใจ ่ ของบุคลากรองค์กรและตอรองสถานะของตนเองหลังความพ่ายแพ้ในเหตุการณ์กบฏแมนฮัตตัน ่ ื ้ พ.ศ. 2494 ขณะเดยวกัน กระแสการฟนฟูสถานะทางการเมืองของสถาบันพระมหากษัตริย์ทีเริม ่ ี ่ ื เกิดขึ้นในช่วงทศวรรษ 2490-2510 ได้เก้อหนุนผลักดันการเปลี่ยนแปลงตัวตนของกรมหลวงชุมพรฯ ็ ข้างต้นเนืองด้วยพระองค์ทรงเปนเชื้อพระวงศ์พระองค์หนึ่งในราชวงศ์จักรี และการน าเสนอบทบาท ่ ของพระองค์ในการน าความทันสมัยกลับมาสร้างความเจริญให้ประเทศชาตรอดพ้นจากการตก ิ เปนอาณานิคมก็ช่วยตอกย ้าความส าคัญของสถาบันพระมหากษัตริย์มากขึ้น ็ ส่วนด้านการเล่าเรื่องอทธปาฏิหาริย์เหนือจริงได้เริมปรากฏครั้งแรกใน พ.ศ. 2494 จาก ิ ่ ิ เรื่องเล่าความทรงจ าของนาวาตรี หลวงรักษาราชทรัพย์ โดยท่านใช้แนวเรื่องกึ่งสุขนาฏกรรม-เย้ยหยัน ิ ่ (Comedic-satire) อธบายถึงปรากฏการณ์ทีกรมหลวงชุมพรฯทรงได้รับการระลึกถึงในฐานะสิ่ง ่ ิ ่ ื ศักด์สิทธ์ในทศวรรษกอนหน้า และใช้แนวเรองสุขนาฏกรรม (Comedy) เล่าเรื่องพระชนม์ชีพของ ิ พระองค์ในช่วงทีทรงออกจากราชการไปประกอบอาชีพแพทย์แผนไทย การน าเสนอเรื่องราวทั้ง ่ ุ สองได้น าเสนอข้อสรปแบบ Formist อธบายปรากฏการณ์ทั้งสองด้วยคุณสมบัตของกรมหลวง ิ ิ ่ ่ ชุมพรฯทีทรงมีพระจริยวัตรเลื่อมใสศรัทธาไสยศาสตร์ และน ้าพระทัยโอบอ้อมอารีตอผู้คนอย่างไม่ ิ เลือกหน้า คุณสมบัตทั้งสองจึงท าให้พระองค์ทรงได้รับการเล่าลือในฐานะสิงศักด์สิทธ์ และสร้าง ิ ่ ิ ็ ู ตัวตนการเปนผู้ใช้ศาสตร์ความร้นอกระบบความเปนสมัยใหม่ตรงข้ามกับตัวตนของกรมหลวง ็ ิ ี ชุมพรฯได้แสดงในงานเขียนพระประวัตฉบับทางการ ขณะเดยวกัน ตัวตนการเปนผู้ใช้ศาสตร์ ็ ็ ู ความร้นอกระบบความเปนสมัยใหม่ได้แสดงนัยยะอุดมการณ์แบบ Anarchist สะท้อนถึงบริบทที ่ ่ ู คุณคาศาสตร์ความร้จารีตในสังคมไทยได้รับการให้ความส าคัญในช่วงทศวรรษ 2590-2500 ด้าน ่ หนึ่งคอ กระแสความต้องการสิ่งพึงพิงทางจิตใจของผู้คนทีเผชิญภยันตรายจากความรนแรงของ ่ ื ุ ่ ื อาชญากรรมทีเพิ่มสูงขึ้นหลังสงครามโลกครั้งที 2 เนืองด้วยการแพร่หลายของอาวุธปนสงคราม ่ ่ และความล้มเหลวของรัฐส่วนกลางในการสร้างระเบียบกับการบังคับใช้กฎหมายอย่างมี ่ ิ ี ประสิทธภาพ รวมถึงความขัดแย้งระหว่างกลุมการเมืองทหารบก, ต ารวจ และทหารเรือ อกด้าน ั ่ หนึ่งคอ การปะทะประสานคุณค่าระหว่างความร้แพทย์แผนไทยกับความร้การแพทย์ปจจุบันทีเริม ่ ื ู ู ่ ่ มีความเจริญและแพร่หลายสูชนบทมากขึ้นตั้งแตสหรัฐฯให้ความช่วยเหลือด้านการสาธารณสุข ของไทยตั้งแต่ทศวรรษ 2490 เมือถึงช่วงทศวรรษ 2520-2530 รัฐได้สร้างอุดมการณ์แห่งชาตชุดใหม่ขึ้น เพือ ่ ่ ิ ่ ิ ประนีประนอมกับกระแสการเรียกร้องประชาธปไตยทีเกิดขึ้นในช่วงทศวรรษ 2510 และตอบสนอง ตอการเปลี่ยนแปลงทางสังคมทีเกิดขึ้นรวดเร็วจากการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจในช่วงปลาย ่ ่

106

ทศวรรษ 2510 ถึงทศวรรษ 2530 อุดมการณ์ใหม่นี้ได้พยายามยกสถานะของสถาบัน ิ ็ ่ พระมหากษัตริย์ขึ้นสู่จุดสูงสุดของสังคมไทยด้วยการนิยามคุณสมบัตของการเปนผู้ปกครองทีดที ่ ี ิ ่ ่ ิ สืบทอดตอเนืองจากประวัตศาสตร์ คุณสมบัตการเปนผู้อุทิศตนเพือประโยชน์สุขของมวลชน ่ ็ ็ กลายเปนคุณสมบัติหลักทีก าหนดคุณค่าของชนชั้นน าทั้งในปจจุบันและในอดีต ่ ั ่ ิ กรอบคุณคานี้จึงได้ก ากับการเล่าเรื่องราวพระประวัตของกรมหลวงชุมพรฯทั้งหมด โดย ใช้แนวเรื่องวีรคต (Romance) กับสุขนาฏกรรม (Comedy) น าเสนอตัวตนของพระองค์ในฐานะ ิ ทหารเรือนักปฏิรป และตความพระกรณยกิจทั้งหมดของพระองค์ด้วยการน าเสนอข้อสรปแบบ ุ ี ู ี ่ Formist และนัยยะอุดมการณ์แบบ Liberal อธบายการกระท าพระกรณยกจเหล่านั้นเนืองด้วยพระ ี ิ ิ ่ ่ ่ หฤทัยของพระองค์ทีทรงอุทิศเพือประโยชน์ตอประเทศชาติ ไม่เพียงแต่เฉพาะด้านกิจการทหารเรือ ่ ่ ็ แตรวมถึงด้านสาธารณะประโยชน์ตอมวลชนด้วย เรื่องราวการเปนแพทย์แผนไทยของพระองค์จึง ิ ่ ิ ี ่ เริ่มได้รับการจัดกลุมใหม่ให้รวมกับพระกรณยกจอน ๆ ขณะทีเรื่องราวอทธปาฏิหาริย์เหนือจริงเริม ่ ิ ่ ื ถูกแยกออกจากงานเขียนพระประวัตฉบับทางการ โดยเฉพาะหลังจากกรมหลวงชุมพรฯทรงได้รับ ิ การเฉลิมพระเกยรตขึ้นเปน “พระบิดาแห่งกองทัพเรือไทย” ใน พ.ศ. 2536 ตัวตนของพระองค์ใน ็ ี ิ ฐานะทหารเรือนักปฏิรปได้เริมกลายเปนตัวตนหลักในงานเขียนพระประวัตฉบับทางการ ขณะที ่ ู ็ ิ ่ ่ ่ ็ ู ตัวตนผู้ใช้ศาสตร์ความร้นอกระบบความเปนสมัยใหม่ยังคงด ารงอยูในความทรงจ าของผู้คนทัวไป และงานเขียนพระประวัติโดยบุคคลอืน ่ จากการวิเคราะห์การเล่าเรื่องพระประวัตของกรมหลวงชุมพรฯโดยตลอดตั้งแต พ.ศ. ่ ิ ิ 2466-2536 เรื่องราวพระประวัตของกรมหลวงชุมพรฯเปนหนึ่งในเครื่องมือของกองทัพเรือในการ ็ ยกสถานะของตนให้ได้รับการยอมรับในสังคม ดังนั้น ผู้วิจัยจึงเห็นว่า ตัวตนของกองทัพเรือไทย ่ ี ิ แฝงอยูภายใต้การเล่าเรื่องพระชนม์ชีพและพระเกยรตคุณของกรมหลวงชุมพรฯ การเปลี่ยนแปลง ่ การเล่าเรื่องราวพระประวัตจึงย่อมส่งผลตอตัวตนของกองทัพเรือด้วย ในบทตอไป ผู้วิจัยจะ ิ ่ ิ วิเคราะห์ถึงตัวตนของกองทัพเรือทีแฝงอยูในเรื่องราวพระประวัตของกรมหลวงชุมพรฯและความ ่ ่ ุ พยายามยกสถานะของกองทัพเรือด้วยการยกสถานะกรมหลวงชุมพรฯ ซึงเปนวีรบุรษทาง ่ ็ ่ ุ ็ วัฒนธรรมขึ้นสูการเปนวีรบุรษแห่งชาติ

บทที่ 4

ี การเปล่ยนสถานะของกรมหลวงชมพรฯจากวรบรษทางวฒนธรรมสู ่ ุ ั ุ ี ุ ิ ุ วีรบุรษแห่งชาต: ตัวตนของกองทัพเรือในงานเขียนพระประวัติ ุ กรมหลวงชมพรฯและการยกสถานะของตนระหว่าง พ.ศ. 2503-2536

ในบทก่อนหน้า ผู้วิจัยได้วิเคราะห์โครงเรื่องของงานเขียนพระประวัติกรมหลวงชุมพรฯใน

่ แตละช่วงเวลาและพบว่า การเปลี่ยนแปลงตัวตนของพระองค์มีจุดเปลี่ยนทีส าคัญเกิดขึ้นสอง ่ ่ ็ ช่วงเวลา ช่วงแรกในช่วงทศวรรษ 2500 อันเปนช่วงเวลาทีตัวตนของพระองค์ได้เปลี่ยนแปลงจาก ่ เชื้อพระวงศ์แบบอย่างผู้น าความทันสมัยจากตะวันตกกลับมาสูสยามเพือสนองราชกิจของ ่ พระมหากษัตริย์ได้กลายเปนทหารเรือนักปฏิรปผู้วางรากฐานกิจการทหารเรือไทยพร้อมกับตัวตน ็ ู ็ การเปนผู้ใช้ศาสตร์ความร้นอกระบบความเปนสมัยใหม่ ช่วงหลังในทศวรรษ 2530 อันเปน ็ ู ็ ิ ช่วงเวลาทีอุดมการณ์แห่งชาตชุดใหม่เข้ามาก ากับการตความพระเกยรตคุณของพระองค์ในฐานะ ี ี ่ ิ ิ ่ การกระท าคุณประโยชน์ตอประเทศชาตและประชาชน ท าให้การเล่าพระชนม์ชีพของกรมหลวง ิ ่ ชุมพรฯมุงยังเรื่องราวเกร็ดพระประวัตมากขึ้น การเปลี่ยนแปลงตัวตนของพระองค์ทั้งสองช่วงนี้ ่ สะท้อนถึงบริบทของกองทัพเรือไทยทีประสงค์จะยกสถานะของตนให้ได้รับการยอมรับในสังคม ื ่ ่ เพือต่อรองสถานะกับกองทัพเหล่าอนทีด ารงบทบาทน าทางการเมือง โดยเฉพาะกองทัพบก ในการ ่ ็ ่ สร้างการยอมรับนี้ กองทัพเรือจ าเปนต้องน าเสนอตัวตนใหม่ลบเลือนความทรงจ าทีกองทัพเรือเปน ็ ผู้ก่อการในเหตุการณ์กบฏแมนฮัตตัน พ.ศ. 2494 ่ ในบทนี้ ผู้วิจัยจะวิเคราะห์การน าเสนอตัวตนของกองทัพเรือไทยทีแฝงอยูในเรื่องราวพระ ่ ่ ิ ่ ประวัตกรมหลวงชุมพรฯตั้งแตทศวรรษ 2500-2530 และความพยายามของกองทัพเรือทีจะยก สถานะของตนให้เปนยอมรับแพร่หลายในสังคม เพือตอรองกับกองทัพแหล่าอนทีมีบทบาทหลัก ื ่ ่ ็ ่ ่ ่ ่ ิ ในทางการเมือง โดยการสร้างประวัตศาสตร์ร่วมกับประชาชนท้องถินทีกองทัพเรือได้เข้าไป ปฏิสัมพันธ์เมือกองทัพเรือเข้าไปมีส่วนร่วมในการสร้างกรมหลวงชุมพรฯเปนวีรบุรษทางวัฒนธรรม ุ ่ ็ ประจ าท้องถินนั้น และเมือบริบททางการเมืองเปลี่ยนแปลงไป กองทัพเรือก็ได้ปรับเปลี่ยนการ ่ ่ ิ ุ ็ น าเสนอตัวตนของพระองค์ใหม่ไปสู่ความเปนวีรบุรษแห่งชาตด้วยการยกสถานะของพระองค์ขึ้น ี ่ ็ เปน “พระบิดาของกองทัพเรือไทย” ใน พ.ศ. 2536 พร้อมกับการริเริมสร้างพิธกรรมทีจะสร้าง ่ ่ ่ ็ ิ ความร้ความเข้าใจและความเปนอันหนึ่งภายในกองทัพเรือ ซึงจะน าไปสูการสร้างประวัตศาสตร์ ู ร่วมชุดใหม่กับประชาชนในอนาคต

108

ื ุ ั ื 1. ตัวตนของกองทพเรอในโครงเร่องพระประวัติกรมหลวงชมพรฯ ้ ั ื 1.1 ตัวตนของกองทพเรอไทยในงานเขียนพระประวัติก่อนการสรางโครงเร่อง ื แม่บทในทศวรรษ 2490 ิ งานเขียนพระประวัตกรมหลวงชุมพรฯช่วงก่อนทศวรรษ 2490 ซึงได้แก่ พระนิพนธ์ ่ ่ พระประวัติกรมหลวงชุมพรฯโดยสมเด็จฯ กรมพระยาด ารงราชานุภาพ และงานเขียนทีผลิตซ ้าพระ นิพนธ์นี้ ได้น าเสนอความเปลี่ยนแปลงของกิจการทหารเรือไทย เพือแสดงความส าเร็จในพระ ่ ุ ี ิ ่ กรณยกิจของพระองค์ โดยอธบายภาพรวมทัวไปของกิจการทหารเรือทั้งก่อนและหลังการปรับปรง ี โดยกรมหลวงชุมพรฯ และพิจารณาความส าเร็จในพระกรณยกิจจากการแก้ไขปญหาคนไทยไม่มี ั ิ ความสามารถในการเดนเรือ ท าให้ตัวตนของกิจการทหารเรือไทยเริมปรากฏในลักษณะราชการ ่ ทหารเรือสมัยใหม่ทีทัดเทียมกับชาติตะวันตก ่ ในการน าเสนอความเปลี่ยนแปลงกิจการทหารเรือไทย สมเดจฯ กรมพระยาด ารงราชา ็ ั ุ นุภาพทรงน าเสนอภาพปญหาของกิจการทหารเรือในช่วงก่อนการปรับปรงโดยกรมหลวงชุมพรฯว่า ่ ่ หน่วยงานส าหรับจัดการกิจการทหารเรือหรือเดนเรือกลไฟมิได้เคยมีมาแตอดต แตราชการอาศัย ิ ี ิ ่ ่ จ้างชาวตางชาตเข้ามาปฏิบัตหน้าทีนี้แทนโดยตลอด เนืองจากคนไทยไม่มีความร้หรือ ่ ิ ู ความสามารถในการเดนเรือ จนกระทังถึงรัชสมัยพระบาทสมเดจพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูหัว ่ ิ ่ ็ ่ ู ็ กิจการทหารเรือจึงได้ริเริมก่อรปร่างขึ้นด้วยการตั้งกรมทหารเรือ และมีโรงเรียนนายเรือเปนสถาบัน ึ ทีฝกหัดคนไทยให้มีความร้ด้านการทหารเรือเพือเข้ารับราชการด้านนี้ ู ่ ่

่ ...ด้วยก่อนนั้นมาบรรดาเรือรบกลไฟ ยังต้องหาฝรังมาเปนผู้บังคับการ ชาวประเทศนี้ทีสามารถเดิร ่ เรือทเลได้มีแต่พวกอาสาจามบางคน ซึงพอจะเดิรเรือได้ในทเลอ่าวสยาม โดยอาศรัยความช านาญ ่ อย่างเดียว แม้เมือตั้งกรมทหารเรือขึ้นในรัชการที 5 แลได้ตั้งโรงเรียนส าหรับนายทหารเรือแล้ว การ ่ ่ 1 ฝกสอนให้นายทหารเรือไทยร้วิธการเดิรเรือทเลก็ยังไม่ส าเร็จประโยชน์ได้... ี ึ ู

ขณะเดยวกัน สิ่งทีสมเดจฯ กรมพระยาด ารงราชานุภาพทรงน าเสนอนี้อาจสะท้อน ่ ี ็ ี ิ อีกแง่หนึ่งว่า กจการทหารเรือหรือการเดินเรือมิได้รับความส าคัญในสายตาของราชการไทยในอดต จนถึงรัชสมัยพระบาทสมเดจพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูหัว ซึงทรงมีพระราชประสงค์ทีจะปฏิรป ็ ่ ู ่ ่ ประเทศให้มีความทันสมัยให้มีความศวิไลซ์แบบตะวันตกในทุกด้าน กิจการทหารเรือไทยจึงได้รับ ิ ึ ็ ุ ความสนใจเปนครั้งแรก โดยกรมหลวงชุมพรฯทรงด าเนินการปรับปรงการฝกหัดคนไทยให้มีความร้ ู

ุ 1 สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาด ารงราชานุภาพ. (2466). จดหมายเหตุเรื่องเซอเชมสบรก ี เข้ามาท าสัญญาในรัชกาลที่ 3 เมื่อปจอ พ.ศ. 2393. หน้า 12.

109

็ ู ิ ความสามารถเดินเรือทะเลได้ ความร้ความสามารถในการเดนเรือทะเลนี้เปนหลักวิชาเชิงศาสตร์ แบบตะวันตกตรงข้ามกับ “ความช านาญ” ของอาสาจาม ซึงเปนประสบการณ์คุ้นเคยการเดินเรือ ่ ็ ่ ่ ่ ่ ่ เฉพาะพื้นทีอาวไทย ท าให้กิจการทหารเรือสามารถ “มีรากหยังลงแล้ว จะเปนทีมันสืบไปในภาย 1 ู หน้า” และ “นายทหารเรือมีความร้ความช านาญ สามารถเปนผู้บังคับบัญชาแลเปนครได้เปน ู ู ผลส าเร็จ ไม่ต้องใช้ชาวต่างประเทศเปนผู้บังคับบัญชา แลเปนครเหมือนแต่กาลก่อน” 2 ดังนั้น ตัวตนของกองทัพเรือไทยในงานเขียนพระประวัตกรมหลวงชุมพรฯช่วงก่อน ิ ็ ่ ิ ทศวรรษ 2490 จึงปรากฏลักษณะการเปลี่ยนแปลงจากกิจการทีจ้างชาวตางชาตด าเนินงานเปน ่ ่ หลักไปสู่ราชการทหารเรือของไทยทีเริมมีระเบียบแบบแผนความเจริญแบบตะวันตกและใช้ความร้ ู ่ หลักวิชาในการเดนเรือ กระนั้น เมือถึงช่วงปลายทศวรรษ 2490 ตัวตนนี้ของกองทัพเรือไม่อาจ ่ ิ ตอบสนองต่อบริบทการสูญเสียสถานะทางการเมืองของกองทัพเรือหลังเหตุการณ์กบฏแมนฮัตตัน พ.ศ. 2494 ได้ กองทัพเรือจึงได้พยายามสร้างประวัติศาสตร์และตัวตนขึ้นใหม่ตอบโต้ต่อบริบทนี้ 1.2 ตัวตนของกองทพเรอไทยในงานเขียนพระประวัติหลงการสรางโครงเร่อง ั ั ื ื ้ แม่บทในทศวรรษ 2490-2530 ความพ่ายแพ้ในเหตุการณ์กบฏแมนฮัตตัน พ.ศ. 2494 และการลดทอน ่ ่ แสนยานุภาพของกองทัพเรือโดยฝายรัฐบาลทีน าโดยกองทัพบกได้ท าให้กองทัพเรือสูญเสียสถานะ ่ ิ ่ ่ ทางการเมืองของตน และขวัญก าลังใจของบุคลากรทีปฏิบัตหน้าทีในองค์กรตกต าลงเนืองด้วย ่ ่ ความไม่มันคงในวิชาชีพและการมีภาพลักษณ์ตอสายตาของสังคมในฐานะผู้ก่อการกบฏ ่ ้ กองทัพเรือจึงจ าเปนต้องสร้างตัวตนและความทรงจ าใหม่ขึ้น เพือฟนฟูขวัญก าลังใจของบุคลากร ่ ื ็ ื ่ ่ ่ ็ และยกสถานะของตนเองให้เปนทียอมรับในสังคมตอรองกับกองทัพเหล่าอนทีมีบทบาทน าในทาง ่ ่ การเมืองตั้งแตทศวรรษ 2500 ตัวตนใหม่ทีกองทัพเรือน าเสนอจึงปรากฏในลักษณะหน่วยงานทีมี ่ ่ ความทันสมัยทัดเทียมกับกองทัพเรือของอารยประเทศ มีขนบประเพณเปนทียอมรับในระดับสากล ็ ่ ี ่ ็ ี และสามารถเปนตัวแทนแสดงเกยรติภูมิของประเทศไทยตอสายตาของนานาชาต ิ ในการน าเสนอตัวตนใหม่ข้างต้นนี้ กองทัพเรือได้ใช้เรื่องราวพระประวัตกรมหลวง ิ ิ ชุมพรฯเล่าประวัตศาสตร์ของตนเอง โดยสร้างเรื่องราวแม่บทเล่าถึงความเปลี่ยนแปลงของ ี ่ ู กองทัพเรือในอดตไปสูความทันสมัยด้วยการปฏิรปกิจการทหารเรือของกรมหลวงชุมพรฯ งาน ู ่ เขียนพระประวัติกรมหลวงชุมพรฯได้น าเสนอภาพของกิจการทหารเรือไทยกอนการปฏิรปตามพระ ็ นิพนธ์พระประวัตโดยสมเดจฯ กรมพระยาด ารงราชานุภาพในลักษณะกิจการทีจ้างชาว ิ ่

1 แหล่งเดิม. หน้า 13. 2 แหล่งเดิม. หน้า 15.

110

่ ่ ็ ่ ็ ี ตางประเทศด าเนินการเปนหลัก รวมถึงเปนกิจการทีไม่มีรากฐานมาแตอดตและมิเคยได้รับความ ่ ใส่ใจจากราชการ จนกระทังรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูหัว พระองค์จึงทรงมี 1 ่ ่ ิ ่ ู ึ พระบรมราโชบายทีจะฝกหัดคนไทยให้มีความร้ความสามารถในการเดนเรือ เพือเข้ารับราชการ ่ ทหารเรือแทนชาวตางประเทศ เนืองจาก “ชาวตางประเทศเปนผู้บังคับบัญชาการเรือและป้อมอยู ่ ่ ่ ็ ็ เปนอันมาก จึงไม่สู้จะมีความมันคงเท่าใดนัก” ่ 2 ่ ิ ความไม่มันคงนี้ได้รับการอธบายด้วยมุมมองของกองทัพเรือทีมีตอการปฏิบัติหน้าที ่ ่ ่ ่ ิ ่ ของชาวตางชาตในเหตุการณ์ ร.ศ. 112 ว่า “ชาวตางประเทศทีมารับราชการในประเทศไทยนั้น... ่ ่ 3 ่ ่ ่ เขาท างานเพือคาจ้างเท่านั้น ไม่ได้มาท างานเพือช่วยป้องกันบ้านเมืองซึงไม่ใช่ของเขา” นอกจาก ิ ึ ้ ื ิ ี เหตุการณ์ ร.ศ. 112 แล้ว นาวาเอก สวัสด์ จันทน ได้ย าถงความไม่มีประสิทธภาพของทหารเรอ ่ ชาวตางชาต โดยยกเหตุการณ์ช่วงทีกรมหลวงชุมพรฯทรงน าเรือหลวงพระร่วงกลับมาสยามใน ่ ิ พ.ศ. 2463 ว่า

่ ่ ิ ิ 1 งานเขียนพระประวัติกรมหลวงชุมพรฯสวนใหญจะผลตซ ้าค าอธบายนี้จากพระนิพนธ์พระประวัติ โดยสมเด็จฯ กรมพระยาด ารงราชานุภาพ จนกระทัง พ.ศ. 2527 พลเรือเอก ประพัฒน์ จันทวิรัชได้ขยายประเด็น ่ เรื่องนี้ให้ชัดเจนมากขึ้นในเรื่องการรับราชการของกรมหลวงชุมพรฯก่อนทรงด ารงต าแหน่งเจ้ากรมยุทธศึกษา โดยแสดงให้เห็นว่า กิจการทหารเรือไทยก่อนการปฏรปประสบความยากล าบากในการด าเนินงานอย่างมาก ู ิ ่ ิ ี ่ ่ เนืองจากไม่เคยมีรากฐานราชการจากอดีต อกทั้งเชื้อพระวงศ์ผู้ใหญไม่อาจใสใจปฏบัติงานกิจการทหารเรือได้ ่ ่ เต็มทีเนืองด้วยต้องด ารงต าแหน่งควบทั้งเสนาบดีกระทรวงกลาโหมและผู้บัญชาการทหารเรือ รวมถึงการขาด ่ แคลนความร้การทหารเรือสมัยใหม่ กรมหลวงชุมพรฯจึงทรงรับผดชอบภาระหน้าทีกิจการทหารเรือมากมายใน ู ิ ฐานะรองผู้บังคับบัญชากรมทหารเรือ ิ แม้พลเรือเอก ประพัฒน์จะอธบายว่า การจัดระเบียบราชการทหารเรือสวนใหญด าเนินส าเร็จ ่ ่ หลังจากสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระนครสวรรค์วรพินิต ทรงเข้ามาด ารงต าแหน่งผู้บัญชาการกรม ทหารเรือ แต่ด้วยการทีกรมหลวงชุมพรฯทรงงานระดับสูงมาก่อนหน้าและทรงเปนทีปรึกษาในการวางระเบียบ ่ ็ ่ ราชการทหารเรือร่วมกับกรมพระนครสวรรค์ฯ ท าให้งานเขียนพระประวัติกรมหลวงชุมพรฯในเวลาต่อมาได้ ู ิ ็ อธบายว่า พระองค์ทรงวางรากฐานทุกอย่างของกิจการทหารเรือ และกลายเปนความร้ความเข้าใจของสังคม ี ั จวบจนปจจุบัน (ดูรายละเอียดเพิ่มเติมใน พลเรือเอก ประพัฒน์. (2527). พระประวัติและพระกรณยกิจในสมัย ื รัชกาลที่ 5 ของพลเรอเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ รวบรวมจากเอกสารราชการ.) 2 กรมยุทธการทหารเรือ. (2506, กรกฎาคม). บุคคลทีน่าสนใจ: พระประวัติ พลเรือเอก พระเจ้าบรม ่ วงศ์เธอ กรมหลวงชุมพรเขตรอุดมศักดิ์. ใน นาวิกศาสตร์. 46(7): 203. 3 นาวาตรี ส าเนียง ฉายานนท์. (2499). ประวัติโรงเรียนนายเรือโดยสังเขป. หน้า 1.

111

่ ็ คนอังกฤษทีเปนลูกเรือก็เก หลับยามเก่ง ทีเรือบางครั้งผิดตั้ง 40 ไมล์ ได้ความว่าเขาหลับไปตั้ง ่ ๊ ชัวโมง ๆ เอาพังงาผูกติดไว้กับเก้าอี้ ปล่อยให้เรือแล่นไปอย่างกับม้าอุปการ เพราะไม่มีนายควบคุม พอ ่ ่ ื ่ ่ ตื่นขึ้นมาครั้งหนึ่งก็ถอท้ายให้ตรงเข็มทีสังไว้หนหนึ่ง นานเข้า ๆ ทีเรือจึงเฉไปจากแนวเดิมมาก ๆ อาศัย แต่ว่าคุณหลวงพลสินธุ์ฯ [พลเรือเอก หลวงสินธุสงครามชัย (สินธุ์ กมลนาวิน) – ผู้วิจัย] วัดแดดหาทีเรือ ่ 1 ทุกวัน จึงร้ว่าทีเรือผิด... ู ่

ื แม้เรองราวของนาวาเอก สวัสด์น้มิได้รับการผลิตซ าในงานเขยนพระประวัตกรม ่ ิ ้ ี ี ิ ื ่ ่ ่ หลวงชุมพรฯฉบับอน แตมุมมองแง่ลบตอการมีชาวตางชาตรับราชการทหารเรือก็ได้กลายเปน ิ ่ ็ ความร้ความเข้าใจกระแสหลักทีจะปรากฏในงานเขียนพระประวัตกรมหลวงชุมพรฯหลังทศวรรษ ่ ู ิ ั ั ่ ู ิ 2500 และอธบายสภาพปญหาของกิจการทหารเรือก่อนการปฏิรปในลักษณะปญหาทีมีความ ่ ่ ิ จ าเปนต้องได้รับการเร่งรัดแก้ไขว่า กิจการทหารเรือไทยแตเดมอยูในมือของชาวตางชาตและเปน ่ ิ ็ ็ ่ อันตรายตอความมันคงของประเทศ การปฏิรปการศึกษาของกรมหลวงชุมพรฯจึงเปนสิ่งทีเข้ามา ็ ่ ู ่ ่ ิ ั ื แก้ปญหานี้ถึงรากฐานคอ การทีคนไทยไม่มีความร้ความสามารถในการเดนเรือ โดยมีจุด ู ุ ื ่ เปลี่ยนแปลงส าคัญทีน าไปสูการสร้างกองทัพเรือสมัยใหม่คอ การ “รศักราช” ของกรมหลวงชุมพรฯ ่ ่ ซึงหมายถึงการสอบไล่นักเรียนนายเรือชั้นสูงสุดออกเข้ารับราชการทหารเรือและยุบนักเรียนนาย ่ เรือชั้นทีเหลือทั้งหมดมาเรียนด้วยหลักสูตรวิชาการทหารเรือใหม่ ความเปนสมัยใหม่ของกองทัพเรือไทยได้รับการขยายให้ชัดเจนมากขึ้นกว่าเรื่องราว ็ ทีปรากฏในพระนิพนธ์พระประวัตโดยสมเดจฯ กรมพระยาด ารงราชานุภาพ โดยให้รายละเอยด ่ ิ ี ็ การปฏิรปการศึกษาของโรงเรียนนายเรือเรื่องตาง ๆ เช่น ในเรื่องหลักสูตรการศึกษา กรมหลวง ่ ู ชุมพรฯทรงเพิ่มวิชาทีไม่เคยมีอยูในหลักสูตรเดม “เปนต้นว่า วิชาตรีโกณโนเมตรี แอลยิบร่า ยีโอเมตรี ่ ่ ิ ็ 2 ่ ่ ่ การเรือ ดาราศาสตร์ แผนทีภาษาอังกฤษ ช่างกล และอน ๆ ทีทรงเห็นส าคัญ” , ในเรื่องระเบียบ ื การปกครองนักเรียน พระองค์ทรงใช้ระเบียบแบบทหารเรือแทนระเบียบแบบทหารบกทีเคยปฏิบัต ิ ่ ึ ็ กันมา โดยแบ่งนักเรียนออกเปน 8 ตอนตามต าแหน่งบนล าเรือ และในเรื่องการฝกหัด พระองค์ทรง ี ึ ให้นักเรียนนายเรือทุกคนต้องฝกหัดการปนเสาและกางใบเรือจนช านาญ หากนักเรียนนายเรือช้า ่ หรือตดขัด พระองค์จะทรงให้เริมต้นการฝกใหม่ตั้งแตแรกจนกว่าจะคล่องแคล่ว ทั้งสามเรื่องนี้ได้ ิ ่ ึ แสดงว่า การประกอบวิชาชีพทหารเรือไทยสมัยใหม่จ าเปนต้องใช้หลักวิชาความร้ในการปฏิบัต ิ ู ็

1 นาวาเอก สวัสดิ์ จันทน. (2502, ธนวาคม). นทานชาวไร่. ใน นาวิกศาสตร์. 42(12): ไม่ปรากฏเลขหน้า. ั ี ิ ี ์ 2 กองทัพเรือ. (2503). อนุสรณพิธเปดกระโจมไฟชุมพรเขตอุดมศักดิ์ 20 พฤศจิกายน 2503. หน้า 16. ิ

112

ึ ่ หน้าทีและต้องฝกหัดทักษะตาง ๆ จนช านาญ รวมถึงมีระเบียบวินัยตลอดการประกอบอาชีพนี้ ่ ิ แตกต่างจากกิจการทหารเรือในอดีตและการปฏิบัตราชการทหารเรือของชาวตางชาติข้างต้น ่ ิ งานเขียนพระประวัตยังได้แสดงสิ่งทีพิสูจน์ความเปนสมัยใหม่ของกองทัพเรือผ่าน ็ ่ ความสามารถของนักเรียนนายเรือไทยในการเดนเรือในเรื่องกรมหลวงชุมพรฯทรงพานักเรียนนาย ิ ่ ิ ่ ่ เรือไปอวดธงทีตางประเทศเมือ พ.ศ. 2450 โดยน าเสนอว่า การเดนเรือครั้งนี้มีเพียงกรมหลวง ิ ิ ่ ชุมพรฯกับนักเรียนนายเรือคนไทยเท่านั้น และการเดนทางนี้มิใช่การเดนเรือในพื้นทีอาวไทย ่ ี หากแตไปยังทะเลตางประเทศถึงสิงค์โปร์และหมูเกาะอนเดยตะวันออก (ปจจุบันคอ ประเทศ ่ ่ ิ ่ ื ั อนโดนีเซีย) การเดนทางนี้จึงเปนสิ่งแสดงความส าเร็จของกรมหลวงชุมพรฯทีทรงพระปรีชา ิ ่ ็ ิ สามารถสร้างกองทัพเรือสมัยใหม่ขึ้นมาได้ นอกจากการแสดงความสามารถของนักเรียนนายเรือ ไทยแล้ว การปฏิบัตธรรมเนียมการยิงสลุตเมือแล่นเรือเข้าท่าเรือตางชาตและการเยียมเยือนเรือรบ ่ ิ ่ ิ ่ ี ็ ่ กับผู้ปกครองเมืองเปนอกสิ่งทีน าเสนอถึงความเปนสมัยใหม่ของกองทัพเรือ โดยแสดงเห็นว่า ็ ู ิ ่ ทหารเรือไทยมีความร้ความเข้าใจธรรมเนียมปฏิบัติสากลทีทหารเรือของชาติอารยะปฏิบัตต่อกัน ็ ิ ิ ี ี ขณะเดยวกัน การเดนทางครั้งนี้ยังเปนการแสดงเกยรตยศของกองทัพเรือและ ิ ี เกยรตภูมิของชาตครั้งแรกอกด้วย โดยตความการแสดงธงราชนาวีประจ าเรือในฐานะเครื่องแสดง ิ ี ี เกยรตภูมิของกองทัพเรือไทยทีสามารถสร้างบุคลากรทีเดนเรือในทะเลได้โดยมิต้องพึงพา ิ ี ่ ่ ่ ิ ิ ่ ิ ็ ี ่ ่ ชาวตางชาต และแสดงเกยรตภูมิความเปนเอกราชของชาตไทย เนืองจาก “ย่อมทราบกันทัวไปว่า ิ ประเทศทีเปน “เอกราช” เท่านั้น จึงจะมี “ธงราชนาวี” ของตนเองได้ ฉะนั้น เรือหลวง (มีธงราชนาวี ่ ็ ็ ่ ทุกล า) จึงเปนดุจประเทศเคลื่อนทีหรือรัฐลอยน ้า เมือไปปรากฏในประเทศสถานทีใด ๆ ก็เปน ่ ่ ็ 1 ตัวแทนของประเทศนั้น ๆ” ี ี ิ ิ การแสดงเกยรตภูมิของชาตไทยนี้เปนเกยรตยศและคุณประโยชน์หลักทีกองทัพเรือ ิ ่ ็ ิ ่ จะน าเสนอผ่านงานเขียนพระประวัตกรมหลวงชุมพรฯ เพือแสดงให้สาธารณชนเห็นว่า กองทัพเรือ ็ ่ ไทยในปจจุบันยังคงเปนราชการส าคัญทีจะผลักดันสถานะของประเทศให้เปนทียอมรับในสายตา ั ็ ่ ื ่ ่ ิ ของตางชาต และด้วยความมุงหมายนี้ ท าให้พระกรณยกิจอนในด้านกิจการทหารเรือ ่ ี ู ี นอกเหนือจากการปฏิรปการศึกษาของโรงเรียนนายเรือจะได้รับการตความในฐานะการสร้าง ี เกยรตยศของกองทัพเรือ หนึ่งในการน าเสนอเกยรตยศของกองทัพเรือคอ เรื่องเรือหลวงพระร่วง ี ิ ิ ื แม้กรมหลวงชุมพรฯทรงเปนผู้บังคับเรือล านี้จากยุโรปกลับมาสยามด้วยพระองค์เอง แตเมือ ่ ่ ็ พระองค์ทรงได้รับการเชิดชูขึ้นเปนปูชนียบุคคลของกองทัพเรือไทยตั้งแต พ.ศ. 2503 พระองค์ได้ ่ ็ ็ ิ ่ ิ ทรงเปนเสมือนตัวแทนของกองทัพเรือในการสร้างเกยรตภูมิตอประเทศชาต การน าเรือหลวงพระร่วง ี

1 แหล่งเดิม. หน้า 48.

113

่ ี ิ ื ็ ิ กลับสูสยามจึงถอเปนการแสดงเกยรตยศของกองทัพเรือในการรับใช้ประเทศชาตและ พระมหากษัตริย์ด้วยเช่นกัน โดยงานเขียนพระประวัตกรมหลวงชุมพรฯจ านวนหนึ่งจึงได้น าเสนอ ิ รายละเอยดของการจัดซื้อและงานฉลองสมโภชรับเรือรบล านี้ เพือน าเสนอถึงเกยรตยศของ ี ี ิ ่ กองทัพเรือทีประสบความส าเร็จในการเสริมสร้างเกยรติภูมิแก่ประเทศและพระมหากษัตริย์มากขึ้น ี ่ ื ็ ี ่ ็ ่ ิ เนืองด้วย “เปนครั้งแรกทีนายทหารเรือไทยสามารถเดนเรือทะเลได้ไกลถึงเพียงนี้ จึงถอเปนเกยรต ิ ี ิ ็ ่ ิ ็ ประวัตของราชนาวีไทย และเปนการปรากฏพระเกยรตคุณแห่งเสดจในกรมฯทีได้ทรงมอบไว้ให้ เปนมรดกตกทอดมา” ็ 1 ่ ท้ายทีสุด ความส าคัญของกองทัพเรือไทยจะได้รับการย ้าอีกครั้งในตอนท้ายของงาน ิ ่ เขียนพระประวัตกรมหลวงชุมพรฯส่วนใหญ โดยอธบายถงพระเกยรติคุณ วิสัยทัศน์ และน ้าพระทัย ึ ิ ี ่ ู ่ ่ ของกรมหลวงชุมพรฯทีทรงมีตอกองทัพเรือด้านตาง ๆ โดยเฉพาะเรื่องศาสตร์ความร้สมัยใหม่ใน การเดินเรือทะเล ซึงได้รับการเน้นความส าคัญด้วยการอธบายถงอันตรายจากความไม่แน่นอนของ ิ ึ ่ ่ ่

่ ็ ่ ่ ท้องทะเลว่า “ผืนน ้าอันกว้างใหญไพศาล แตภายใต้น ้าเตมไปด้วยหินเปนตะปุมตะปาโขดโคกตาง ๆ ็ ิ ื น ้าลึกบ้างต้นบ้าง เรือเมือเดนไปถ้าผิดร่องน ้าลึกแล้ว อาจเกยหินโสโครกได้เสมอ ภัยธรรมชาตใน ่ ิ 2 ่ ิ ทะเล คอคลื่น ลม ซึงจะเกิดขึ้นในนาทีใดก็ได้ ผู้เดนเรือได้ต้องประกอบด้วยหลักวิชานานาประการ” ื ี พระเกยรตคุณของกรมหลวงชุมพรฯนี้ได้ท าให้กองทัพเรือไทยยุคปจจุบันมีความเจริญก้าวหน้า และ ิ ั ิ สามารถเปนตัวแทนของประเทศแสดงเกยรตภูมิตอสายตานานาชาตได้อยางสมศักด์ศร ี ่ ิ ิ ี ็ ่ ิ ตัวตนของกองทัพเรือไทยปจจุบันในงานเขียนพระประวัตกรมหลวงชุมพรฯหลัง ั ทศวรรษ 2490-2530 มีลักษณะทีคล้ายคลึงกับตัวตนของกองทัพเรือก่อนทศวรรษ 2490 ใน ่ ื บางส่วน กล่าวคอ ตัวตนของกองทัพเรือน าเสนอผ่านการเปลี่ยนแปลงจากกิจการทีจ้าง ่ ็ ่ ิ ่ ชาวตางชาตด าเนินงานเปนหลักไปสูราชการทหารเรือของไทยทีมีความเจริญแบบตะวันตก แต ่ ่ ี ิ ตัวตนใหม่หลักทศวรรษ 2490 ได้เพิ่มเตมรายละเอยดและตอกย ้าความส าคัญมากขึ้นด้วยการ ่ ิ ่ ิ ่ น าเสนอความไม่มันคงของชาตอันเนืองมาจากกิจการทหารเรือทีอยูในมือของชาวตางชาตทีรับ ่ ่ ่ ู ราชการเพือผลประโยชน์ส่วนตน และความส าเร็จในการปฏิรปของกรมหลวงชุมพรฯได้ท าให้ ่ กิจการทหารเรือเปนกิจการของคนไทยอย่างแท้จริงในลักษณะหน่วยราชการสมัยใหม่ของชาติไทย ็ ่ ่ ี ทีมีความเจริญก้าวหน้าทัดเทียมกับกองทัพเรือของตางประเทศ มีขนบประเพณธรรมเนียมเปนที ่ ็ ยอมรับในระดับสากล และสามารถเปนตัวแทนแสดงเกยรตภูมิของประเทศไทยตอสายตาของ ิ ่ ี ็

1 กรมยุทธการทหารเรือ. (2522, พฤษภาคม). หน้าต่างประวัติศาสตร์ พลเรือเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์. ใน นาวิกศาสตร์. 62(5): ไม่ปรากฏเลขหน้า. 2 กองทัพเรือ. (2503). เล่มเดิม. หน้า 79.

114

่ ็ นานาชาตได้ ตัวตนนี้เปนตัวตนทีกองทัพเรือน าเสนอตลอดช่วงเวลานี้ และสามารถเห็นได้จากค า ิ ี ่ ิ ประกาศเกยรตคุณเนืองในโอกาสวันคล้ายวันสิ้นพระชนม์ของพระองค์วันที 19 พฤษภาคม พ.ศ. ่ ่ ่ 2535 ซึงสะท้อนว่า กองทัพเรือไทยมองตนเองในฐานะกิจการทีมีความก้าวหน้าทัดเทียมตางชาต ิ ่ ่ และเปนทียอมรับในระดับสากลดังนี้ ็

ทุกท่านคงได้เห็นแล้วว่า กองทัพเรือของเราเจริญก้าวหน้าจนสามารถกลาวได้ว่าทัดเทียม ่ ี ่ ี นานาอารยประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉยงใต้ ชือเสียงและเกยรติภูมิของ ่ ็ ่ ราชนาวีไทยก็เปนทียอมรับกันทัวไป แต่กว่าทีเราจะมาถึงจุดแห่งความภูมิใจนี้ได้ บรรพบุรษชาวเรือ ่ ุ ่ ่ ั ่ ่ ่ ของเราต่างต้องทุมเทก าลังกาย ก าลังใจ ใช้ความสามารถอย่างใหญหลวง เพือทีจะฟนฝาอุปสรรคทั้ง ิ มวลนับตั้งแต่ พลเรอเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ ได้ทรงก่อก าเนดกิจการ ื 1 ็ ทหารเรือเปนต้นมา...

อย่างไรก็ตาม การน าเสนอตัวตนของกองทัพเรือนี้ผ่านงานเขียนพระประวัตกรม ิ ี ่ หลวงชุมพรฯเพียงช่องทางเดยวมิอาจเพียงพอทีจะสร้างการยอมรับในสังคมวงกว้างได้ อกทั้ง ี ่ ่ ตัวตนของกองทัพเรือข้างต้นมุงหมายสร้างขวัญก าลังแก่บุคลากรให้เชือมันตอความส าคัญของ ่ ่ ่ วิชาชีพนี้ในสังคมไทย ขณะทีสาธารณชนภายนอกอาจมิได้รับประโยชน์ใดจากตัวตนของ ่ ็ กองทัพเรือนี้ กองทัพเรือจึงเห็นความจ าเปนทีจะต้องสร้างประวัตศาสตร์ร่วมกับประชาชนด้วยการ ิ ุ ยอมรับนับถอกรมหลวงชุมพรฯร่วมกันขึ้นในฐานะวีรบุรษทางวัฒนธรรม ื

็ ั 2. การยกสถานะของกองทพเรอด้วยการสรางกรมหลวงชมพรฯขึ้นเปนวีรบรษ ื ุ ุ ้ ุ ทางวัฒนธรรม การสร้างตัวตนของกรมหลวงชุมพรฯในฐานะวีรบุรษทางวัฒนธรรมเปนความพยายาม ็ ุ ่ ิ ่ ็ ่ ของกองทัพเรือทีจะสร้างประวัตศาสตร์ของตนเองให้เปนทียอมรับตอผู้คนในสังคม ด้านหนึ่งเพือ ่ ่ สร้างและตอกย ้าความทรงจ าใหม่แก่บุคลากรในกองทัพเรือ อกด้านหนึ่งเพือมุงหวังให้ผู้คนยอมรับ ี ่ ตัวตนของพระองค์ทีกองทัพเรือสร้างขึ้นและน าไปสูการสร้างความร้ความเข้าใจตอความส าคัญ ่ ู ่ ่ ่ ื ่ ของกองทัพเรือ เนืองจากพระองค์ทรงได้รับการเคารพนับถอแพร่หลายในหมูสาธารณชนทัวไป ่ กองทัพเรือจึงเชือว่า การท าให้สาธารณชนยอมรับตัวตนวีรบุรษทหารเรือและคุณประโยชน์ของกรม ุ ่

ี 1 พลเรือเอก วิเชษฐ การณยวนิช. (2535, พฤษภาคม). ค าประกาศเกยรติคุณ พลเรือเอก พระเจ้า ุ บรมวงศ์เธอ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ ในโอกาสวันคล้ายวันส้นพระชนม์ 19 พฤษภาคม 2535. ใน นาวิก ิ ศาสตร์. 75(5): ไม่ปรากฏเลขหน้า.

115

หลวงชุมพรฯในด้านกิจการทหารเรือได้ ย่อมท าให้สาธารณชนเห็นความส าคัญของกองทัพเรือใน ิ ่ ื ึ ่ ี ุ สังคมไทย กระนั้น สาธารณชนจะระลึกถงพระองค์ในฐานะสิงศักด์สิทธ์มากกวาวรบุรษทหารเรอ หาก ิ ุ กองทัพเรือจะประสงค์ให้ผู้คนยอมรับตัวตนของกรมหลวงชุมพรฯในฐานะวีรบุรษทหารเรือ กองทัพเรือ ่ ็ จ าเปนต้องยอมรับสิ่งทีผู้คนในสังคมเชือถอด้วย วัตถุประสงค์ทั้งสองข้างต้นท าให้กองทัพเรือไทย ื ่ ยอมรับคุณสมบัตของกรมหลวงชุมพรฯในฐานะวีรบุรษทางวัฒนธรรม และด าเนินกิจกรรมเชิดชู ิ ุ ่ ่ ึ กรมหลวงชุมพรฯตาง ๆ สองประการ ได้แก่ การสร้างพื้นทีอนุสรณ์ระลึกถงกรมหลวงชุมพรฯภายใน กองทัพเรือ และการเข้าไปมีส่วนร่วมในกิจกรรมเชิดชูบูชากรมหลวงชุมพรฯของประชาชน ั ้ ื ุ ึ ุ 2.1 การสรางพ้นที่อนสรณ์ระลกถงกรมหลวงชมพรฯภายในกองทพเรอ พ.ศ. ึ ื 2503-2510 ่ ิ ในช่วงทศวรรษ 2500 ด้วยความประสงค์ของกองทัพเรือรทีจะสร้างประวัตศาสตร์ ของตนขึ้นใหม่ด้วยการเชิดชูกรมหลวงชุมพรฯขึ้นเปนปูชนียบุคคล กองทัพเรือจึงได้สร้างพื้นที ่ ็ ่ ่ อนุสรณ์ระลึกถึงกรมหลวงชุมพรฯภายในพื้นทีของตนอย่างน้อยสี่แห่ง ซึงทั้งหมดอยูในพื้นอ าเภอ ่ ่ ่ ่ สัตหีบ จ.ชลบุรี การสร้างพื้นทีอนุสรณ์ในทีนี้มิได้หมายถึงการสร้างพื้นทีอนุสรณ์ขึ้นมาใหม่เพียง ่ อย่างเดยว แตรวมถึงการปรับเปลี่ยนพื้นทีทีด ารงอยูเดมให้กลายเปนพื้นทีอนุสรณ์ด้วย เช่น การ ่ ิ ่ ี ่ ็ ่ ็ ่ ่ ่ เปลี่ยนชือสถานทีนั้นให้เปนพระนามของกรมหลวงชุมพรฯ เปนต้น พื้นทีอนุสรณ์เหล่านี้ได้ให้ ็ คุณค่าความหมายของสัตหีบในฐานะ “บ้าน” ของกองทัพเรือไทย ่ ผู้วิจัยสามารถไล่เรียงล าดับเวลาของการสร้างพื้นทีอนุสรณ์ต่าง ๆ ดังนี้ ิ - (พ.ศ. 2503) สร้างกระโจมไฟชุมพรเขตอุดมศักด์กับศาลกรมหลวงชุมพรฯท ี ่ ่ แหลมปูเจ้า อ.สัตหีบ จ.ชลบุรี ็ ิ ี ่ - (พ.ศ. 2507) เปลี่ยนชือ “โรงพยาบาลสัตหีบ” เปน “โรงพยาบาลอาภากรเกยรตวงศ์” - (พ.ศ. 2508) ทีตั้งหน่วยทหารนาวิกโยธน อ.สัตหีบ จ.ชลบุรี ได้รับพระราชทาน ิ ่ ชือ “ค่ายกรมหลวงชุมพร” ่ - (พ.ศ. 2510) สร้างพระอนุสาวรีย์กรมหลวงชุมพรฯทีหน้ากองบังคับการสถานี ่ ทหารเรือสัตหีบ อ.สัตหีบ จ.ชลบุรี (ปจจุบันคือ กองบัญชาการฐานทัพเรือสัตหีบ) ั ่ ่ เมือพิจารณาถึงบริบททีกองทัพเรือถูกขับออกจากพื้นทีบริเวณเมืองหลวงมาตั้งอยู ่ ่ พื้นทีทุรกันดารและด าเนินชีวิตอย่างยากล าบากหลังเหตุการณ์กบฏแมนฮัตตัน พ.ศ. 2494 พื้นที ่ ่ อนุสรณ์ทั้งสี่แห่งนี้มีบทบาทในการสร้างความทรงจ าใหม่แก่บุคลากรภายในกองทัพเรือ โดย ่ ่ เชือมโยงกับเรื่องราวพระด าริของกรมหลวงชุมพรฯทีทรงประสงค์จะให้สัตหีบเปนฐานทัพเรือ ็ เรื่องราวได้อธบายและตอกย ้าว่า สัตหีบเปนพื้นทีมรดกทีกรมหลวงชุมพรฯทรงเห็นความส าคัญทาง ่ ็ ่ ิ ่ ยุทธศาสตร์และทรงมีประสงค์จะให้ตั้งเปนฐานทัพเรือตั้งแต่พื้นทีนี้ยังมิได้รับความสนใจใด ๆ ดังนี้ ็

116

อ่าวสัตหีบนี้ เสด็จในกรมฯทรงสนพระทัยมาก ถึงกับเอาแผนทีอ่าวมาทรงวางกะทีตั้งกอง ่ ่ ่ ่ ทหาร ทีตั้งป้อม และอื่น ๆ ตลอดจนหามุมทีข้าศึกจะยิงมาจากทางภายนอกไว้เรียบร้อย ทางวาง แผนการบนเรือเสอฯ [เรือหลวงเสอทะยานชล – ผู้วิจัย] ต่อหน้าผู้บังคับการและนายทหารตัวโปรด ื ื ปรานของพระองค์ท่าน...โดยมุ่งพระทัยและลงความเห็นพร้อมเพรียงกันว่า อ่าวสัตหีบเปนเลิศกว่าอ่าว ็ ็ ทั้งหลาย ทางฝงตะวันออก เพราะเปนทก าบังและซุ่มซ่อนดี เหมาะส าหรับตั้งเปนฐานทัพเรือในอนาคต ่ ั ี ่ ็ 1 ุ ึ ็ จึงคิดบ ารงและใช้เปนสถานีฝกหัดต่อมา

่ ่ ่ เรื่องราวความส าคัญของอาวสัตหีบนี้ท าให้พื้นทีนี้มีคุณคาความหมายในฐานะ ็ ิ ี ่ ่ ่ “บ้าน” ของกองทัพเรือไทยและเปนสถานทีอันมีเกยรตทีกรมหลวงชุมพรฯทรงประทานไว้ตั้งแตยัง ทรงมีพระชนม์ชีพ ดังนั้น การย้ายกองทัพเรือมาตั้งยังสัตหีบจึงเปนเสมือนการ “กลับบ้าน” เพือลบ ่ ็ เลือนความพ่ายแพ้จากเหตุการณ์กบฏแมนฮัตตันและการถูกขับไล่ออกจากพื้นทีในเขตกรงเทพฯ ่ ุ เรื่องราวความส าคัญของสัตหีบนี้ยังได้ถูกตอกย ้าผ่านอนุสรณ์สถานระลึกถึงกรม หลวงชุมพรฯสองแหงคอ กระโจมไฟชุมพรเขตอุดมศักด์กับศาลกรมหลวงชุมพรฯ และพระ ิ ื ่ อนุสาวรีย์หน้ากองบัญชาการฐานทัพเรือสัตหีบ กระโจมไฟชุมพรเขตอุดมศักด์เปนทั้งเครื่องมือในการเดินเรือและสัญลักษณ์ตอกย ้า ิ ็ ถึงความผูกพันทีกรมหลวงชุมพรฯทรงมีตอทหารเรือ กล่าวคอ กระโจมไฟเปนเครื่องหมายแสงไฟ ่ ื ็ ่ ช่วยอ านวยความสะดวกและความปลอดภัยแก่การเดนเรือ โดยจะท างานในฐานะหลักเขตอ้างอิง ิ ่ เพือบอกพื้นทีอันตรายหรือใช้อ้างองต าแหน่งของเรือบนแผนทีเดนเรือ การน าพระนามของกรม ่ ิ ิ ่ ี ิ ่ ่ หลวงชุมพรฯตั้งเปนชือของกระโจมไฟจึงเปนวิธตอกย ้าพระเกยรตคุณของกรมหลวงชุมพรฯทีทรง ็ ี ็ ่ ่ ็ ทรงมีตอกิจการทหารเรือและทรงประทานสัตหีบเปนสถานทีตั้งของกองทัพเรือ เนืองจากกระโจม ่ ่ ี ่ ็ ไฟชุมพรเขตอุดมศักด์เปนสัญลักษณ์ทเหนได้ชัดเจนเมือเดนเรือผ่านเข้าออกสัตหีบ ทหารเรือทีพบ ิ ่ ิ ็ เห็นกระโจมไฟนี้ก็จะสามารถระลึกถึงพระองค์ได้ อกทั้งการน าพระนามของพระองค์มาตั้งยังเปน ็ ี สาธารณสถานก็เปนการอุทิศคุณประโยชน์ของกระโจมไฟให้เปนบุญกุศลถวายแด่พระองค์ ็ ็

1 กองทัพเรือ. (2503). เล่มเดิม. หน้า 51-52.

117

ภาพประกอบ 3 ภาพถ่ายศาลกรมหลวงชุมพรฯบนยอดเขาแหลมปูเจ้า อ.สัตหีบ จ.ชลบุรี ่ โดยพลเรือตรี กรีฑา พรรธนะแพทย์ เมือ พ.ศ. 2533 ่

่ ทีมา: พลเรือตรี กรีฑา พรรธนะแพทย์. (2537, พฤษภาคม). ภาพชุด “ศาลกรมหลวง ชุมพรฯ”. ใน นาวิกศาสตร์. 77(5): 21.

่ ็ ยิ่งไปกว่านั้น พื้นทีตั้งกระโจมไฟยังเปนทีตั้งของศาลกรมหลวงชุมพรฯด้วย ศาลแห่งนี้ ่ ็ ่ เปนสิ่งทีแสดงให้เห็นว่า พระวิญญาณของพระองค์ได้ทรงสถิตอยู่ทีสัตหีบ และจะให้ความคุ้มครอง ่ ่ ่ แก่ทหารเรือทุกคน เนืองด้วยคุณสมบัตพระอัธยาศัยของพระองค์ทีทรงรักใคร่ทหารเรือประหนึ่ง ิ ่ ึ ิ ่ ิ ี บิดากับบุตร นอกจากน้ ความศักด์สิทธ์ของศาลแหงน้ได้รับการตอกย ามากข้นเมือมีการเล่าวา ่ ี ้ พระอัฐของกรมหลวงชุมพรฯได้เก็บรักษาไว้ในศาลแห่งนี้ เรื่องนี้ปรากฏครั้งแรกในบทความ “บุคคล ิ ิ ่ ิ ่ ี ทนาสนใจ: พระประวัต พลเรอเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงชุมพรเขตรอุดมศักด์” ในวารสาร ื ี นาวิกศาสตร์ ปที 46 ฉบับเดอนตุลาคม พ.ศ. 2506 โดยอ้างถึงค าบอกเล่าของนาวาเอก พระยาศรา ื ่ ิ ภัยพิพัฒ (เลื่อน ศราภัยวานิช) นายทหารเรือทีได้เคยตดตามเสดจของกรมหลวงชุมพรฯไปยังสัตหีบ ็ ่ ่ ่ และได้ยินพระองค์ทรงมีรับสังว่า “ถ้าฉันตาย ขอให้เอากระดูกของฉันมาไว้บนยอดเขาแหลมปูเฒ่า

118

1 ิ ิ นี้นะ” และงานเขียนพระประวัตในสมัยหลังก็มีการระบุถึงช่องเก็บพระอัฐของกรมหลวงชุมพรฯที ่ ศาลแห่งนี้ แม้พระอัฐของพระองค์จะถูกย้ายออกไปเมือ พ.ศ. 2546 แตพระอัฐนี้ได้ตอกย ้าถึงการ ิ ิ ่ ่ ็ ่ ด ารงอยูของพระวิญญาณกรมหลวงชุมพรฯทีสัตหีบอย่างเปนรปธรรม และท าให้พื้นทีสัตหีบเปน ่ ่ ู ็ พื้นที “บ้าน” ของกองทัพเรือ ่

ภาพประกอบ 4 ภาพในหนังสือ พระประวัติ พลเรือเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าองภากร

ื ิ ่ ิ ิ ิ ี ี เกยรตวงศ์ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักด์ เทดพระเกยรต และเผยแพร่พระเกยรตคุณเนองใน ิ ี ี "วันอาภากร" และครบรอบ 90 ป ของการสิ้นพระชนม์ (19 พฤษภาคม พ.ศ. 2466 - 19 พฤษภาคม ิ พ.ศ. 2556) ประกอบเรื่องการสร้างกระโจมไฟชุมพรเขตอุดมศักด์กับศาลกรมหลวงชุมพรฯบน แหล่มปูเจ้า อ.สัตหีบ จ.ชลบุรี และอธบายถึงสถานทีเก็บพระอัฐของกรมหลวงชุมพรฯภายใน ่ ่ ิ ิ ศาลเคารพบูชาพระองค์แห่งนี้

่ ทีมา: นาวาเอก (พิเศษ) ไชยา เต้ยมฉายพันธ์; นาวาโท สุริยะ ค าสอน; และ นาวาตรี ี สุรพงษ์ สุขสงวน. (2556). พระประวัติ พลเรือเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าองภากรเกียรติ ี วงศ์ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ เทิดพระเกยรติ และเผยแพรพระเกยรติคุณเนื่องใน "วัน ่ ี อาภากร" และครบรอบ 90 ป ของการสิ้นพระชนม์ (19 พฤษภาคม พ.ศ. 2466-19 พฤษภาคม ี พ.ศ. 2556). หน้า 381.

่ 1 กรมยุทธการทหารเรือ. (2506, ตุลาคม). บุคคลทีน่าสนใจ: พระประวัติ พลเรือเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงชุมพรเขตรอุดมศักดิ์. ใน นาวิกศาสตร์. 46(10): 207.

119

ี ่ ี ่ ็ ่ อยางไรกตาม กระโจมไฟชุมพรเขตอุดมศักด์เปนพื้นทอนุสรณ์ทเข้าถงได้ยากล าบาก ิ ็ ึ ็ เนืองจากต าแหน่งของกระโจมไฟตั้งอยูเปนเอกเทศแหลมปูเจ้าลึกเข้าไปในพื้นทีฐานทัพเรือสัตหีบ ่ ่ ่ ่ ่ และตั้งอยูสูงขึ้นบนเขา ท าให้เส้นทางถนนมีลักษณะไตขึ้นเขาและมีอันตรายจากความชันของ ่ ิ ั เส้นทางแม้ในปจจุบัน ความอันตรายของเส้นทางนี้ได้สะท้อนผ่านเล่าลือเรื่องเล่าอทธปาฏิหาริย์ ิ ื ของเจ้าพ่อกรมหลวงชุมพรฯด้วย คอ เรื่องอุบัตเหตุรถแทร็คเตอร์ตกเขา ซึงกล่าวถึงในหนังสือ เจ้า ิ ่ พ่อกรมหลวงชุมพรฯ (พ.ศ. 2504) โดยสิงห์ ผูกพานิช สิงห์ได้แรงบันดาลใจเขียนพระประวัตกรม ิ ู ่ ็ ี่ ิ ิ หลวงชุมพรฯจากเรื่องเล่าลืออทธปาฏิหาริย์เกยวกับพระองค์และเรื่องนี้เปนเรื่องหนึ่งทีเขารับร้ช่วง ่ ่ ทีเขียนพระประวัต โดยเล่าว่า ขณะทีทหารช่างก าลังขับรถแทร็คเตอร์ท าเส้นทางอ านวยความ ิ ่ สะดวกในการขึ้นเขาแหลมปูเจ้า รถแทร็คเตอร์พลัดตกเขาลงเหวลึก แตทหารช่างผู้นั้นรอดชีวิตได้ ่ 1 ปลอดภัย เพราะเจ้าพ่อกรมหลวงชุมพรฯคุ้มครอง ี อกทั้งตัวตนของพระองค์ ณ ศาลกรมหลวงชุมพรฯน าเสนอคุณสมบัตของพระองค์ ิ ื ุ ิ ี ็ ในด้านความเปนสิงศักด์สิทธ์มากกวาความเปนวรบุรษ เนองจากศาลออกแบบมาเพือสร้างพื้นท ่ ี ่ ิ ่ ่ ่ ็ ่ ่ ่ ิ ่ ่ ิ ่ ิ ี ศักด์สิทธ์ตดตอสือสารส่วนบุคคลระหวางผู้เคารพเลือมใสกับพระองค์เทานั้น โดยมีพื้นทเพียง ่ ี เล็กน้อยภายในศาลเพียงให้ผู้คนกระท าพิธเคารพบูชาพระองค์ พื้นทีศาลกรมหลวงชุมพรฯจึงมี ่ ิ ่ ลักษณะเปนพื้นทีเชิงศาสนาให้ผู้เยียมเยือนตดตอร้องขอความช่วยเหลือจากอ านาจความ ่ ็ ่ ่ ี ิ ิ ิ ศักด์สิทธ์ของพระองค์มากกวามีวัตถุประสงค์เพือเผยแพร่พระเกยรตคุณของพระองค์ ความ ยากล าบากในการเข้าถึงและวัตถุประสงค์ของพื้นทีอนุสรณ์นี้ทีขัดแย้งกับเป้าหมายของกองทัพเรือ ่ ่ ทีจะสร้างความทรงจ าใหม่แก่บุคลากรจึงเปนเหตุปจจัยทีท าให้กองทัพเรือจ าเปนต้องสร้างพื้นที ่ ็ ่ ั ่ ็ อนุสรณ์ทีเข้าถึงได้สะดวกมากขึ้นและสนองตอบวัตถุประสงค์ นันคอ พระอนุสาวรีย์กรมหลวง ่ ื ่ ่ ชุมพรฯทีหน้ากองบัญชาการฐานทัพเรือสัตหีบ ่ พระอนุสาวรีย์แห่งนี้เปนพื้นทีอนุสรณ์ระลึกถึงกรมหลวงชุมพรฯทีเข้าถึงได้สะดวกกว่า ็ ่ ็ ่ ่ ่ โดยตั้งอยูทีลานกว้างหน้าอาคารกองบัญชาการฐานทัพเรือสัตหีบ และได้กลายเปนพื้นทีหลักของ กองทัพเรือในการระลึกถึงพระเกยรตคุณของพระองค์และความส าคัญของสัตหีบ โดยแสดงผ่าน ี ิ ู พระรปกรมหลวงชุมพรฯและค าจารึกทีฐานพระอนุสาวรีย์ ่ ็ ู ู ในด้านพระรปกรมหลวงชุมพรฯ พระรปจะมีภาพรวมสื่อถึงความเปนตัวแทนของ ่ ่ กองทัพเรือและเชือมโยงกับเรื่องราวพระด าริของพระองค์ทีให้ความส าคัญกับสัตหีบ โดยมีฉลอง ิ ่ พระองค์เครื่องแบบเต็มพระยศทหารเรือประดับเครื่องราชอสริยาภรณ์ตาง ๆ พร้อมสายโยงยศ ซึง ่ องค์ประกอบเครื่องแบบเหล่านี้เปนเครื่องบ่งชี้ถึงสถานะของพระองค์ในฐานะนายทหารเรือชั้น ็

1 ทานตะวัน. (2504). เจ้าพ่อกรมหลวงชุมพรฯ. หน้า ฎ.

120

่ ่ ่ ู ผู้ใหญ และต าแหน่งของพระรปอยูสูงจากพื้นประมาณ 5 เมตร แสดงต าแหน่งแห่งทีของกรมหลวง ็ ่ ชุมพรฯโดดเด่นเหนือบุคคลอืน ท าให้พระองค์ทรงเปนเสมือนตัวแทนของกองทัพเรือ พระพักตร์ของ ่ ู ่ พระรปทีหันมองตรงไปทิศตะวันตกยังอาวสัตหีบสะท้อนถึงวิสัยทัศน์ของพระองค์ทีทรงเห็น ่ ่ ิ ความส าคัญของอาวสัตหีบตามเรื่องราวพระประวัต ขณะเดยวกัน พระอนุสาวรีย์มีค าจารึกทีฐาน ่ ี ็ ู ของพระรปแสดงความส าคัญของกรมหลวงชุมพรฯด้วยว่า พระองค์ “ทรงเปนพระบุพพาจารย์ของ ็ ่ 1 ทหารเรือไทย ทรงสถาปนาสัตหีบเปนฐานทัพเรือ เมือพุทธศักราช 2465” ค าจารึกนี้จึงสื่อถึงพระ ี ิ เกยรตคุณทีพระองค์ทรงมีตอกิจการทหารเรือ ปลูกฝงให้บุคลากรในกองทัพเรือจดจ าพระองค์ใน ั ่ ่ ็ ฐานะครอาจารย์ผู้ริเริมอบรมบ่มเพาะสร้างบุคคลให้มีความร้ความสามารถเปนทหารเรืออาชีพ ่ ู ู ่ ็ และเปนผู้ริเริ่มท าให้สัตหีบเปนพื้นทีตั้งของทหารเรือ ็

ภาพประกอบ 5 พระอนุสาวรีย์กรมหลวงชุมพรฯทีสถานีทหารเรือสัตหีบ พ.ศ. 2510 ่

ทีมา: กองทัพเรือ. (2510). พิธีเปดอนุสาวรีย์ พลเรือเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวง ิ ่ ชุมพรเขตอุดมศักดิ์ วันพุธที่ 19 เมษายน พ.ศ. 2510. หน้า 15.

1 กองทัพเรือ. (2510). พิธเปดอนุสาวรย์ พลเรอเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ ิ ี ื ี วันพุธที่ 19 เมษายน พ.ศ. 2510. หน้า 19.

121

ี ี ่ ิ ิ ่ ี ี พระอนุสาวรย์แหงน้ได้สร้างพื้นทศักด์สิทธ์ทกองทัพเรือจะให้ในการปลูกฝงความ ่ ั ทรงจ าใหม่ โดยใช้พื้นทีของพระอนุสาวรีย์เปนสถานทีจัดพิธระลึกถึงพระองค์ด้วยการแสดงความ ่ ่ ี ็ ี ็ เคารพและวางพวงมาลาเบื้องหน้าพระอนุสาวรีย์ทุกวันที 19 พฤษภาคมของทุกปอันเปนวันคล้าย ่ ่ ่ วันสิ้นพระชนม์ของพระองค์ เพือระลึกถึงพระเกยรตคุณของพระองค์ทีทรงมีตอกิจการทหารเรือ ี ิ ่ ไทยและตระหนักถงความส าคัญของสัตหีบในฐานะมรดกทีพระองค์ทรงมีพระด าริเห็นความส าคัญ ่ ึ ็ ี ่ และความเหมาะสมทีตั้งเปนฐานทัพเรือ รวมทั้งในวันเดยวกันนี้ กองทัพเรือยังได้ร่วมกับพระญาต ิ ่ ี ของกรมหลวงชุมพรฯประกอบพิธบ าเพ็ญกุศลถวายแดพระองค์ด้วย ณ สุสานหลวง วัดราชบพิธ สถิตมหาสีมาราชราชวรวิหาร กรงเทพฯ ุ การสร้างพื้นทีอนุสรณ์และพิธการระลึกถึงกรมหลวงชุมพรฯข้างต้นเปนเชิดชู ี ่ ็ พระองค์ขึ้นเปนปูชนียบุคคลอย่างเปนรปธรรมและตอกย ้าความทรงจ าเรื่องความส าเร็จกับพระ ็ ็ ู ่ ิ ็ ่ ่ เกยรตคุณของพระองค์ทีมีตอวิชาชีพทหารเรือ รวมถึงเรื่องพระด าริของพระองค์ทีจะให้สัตหีบเปน ี ฐานทัพเรือ ท าให้บุคลากรมีความตระหนักร้ใหม่ว่า สัตหีบมิใช่สถานทีทีพวกเขาถูกเนรเทศจาก ่ ่ ู ่ ความพ่ายแพ้ในเหตุการณ์กบฏแมนฮัตตัน หากแตเปนบ้านของกองทัพเรือทีกรมหลวงชุมพรฯทรง ่ ็ มีวิสัยทัศน์รังสรรไว้ตั้งแตอดตแล้ว ขณะเดยวกัน การเชิดชูพระองค์ขึ้นเปนปูชนียบุคคลนี้ยังได้ท า ี ี ่ ็ ็ ให้พระองค์ทรงกลายเปนตัวแทนของวิชาชีพทหารเรือและกองทัพเรือไทยด้วย โดยเห็นได้จากการ ่ ี เยียมเยือนกองทัพเรือโดยบุคคลส าคัญภายนอก เมือกองทัพเรือจัดพิธต้อนรับบุคคลส าคัญทาง ่ ทหารทีเข้ามาเยียมเยือนหน่วยงานของตน กองทัพเรือจะจัดให้มีผู้เยียมเยือนเคารพสักการะพระ ่ ่ ่ อนุสาวรีย์กรมหลวงชุมพรฯด้วยการวางพวงมาลาหน้าพระอนุสาวรีย์ ตัวอย่างเช่น เมือ พ.ศ. 2513 ่ จอมพล ถนอม กิตตขจร ซึงด ารงต าแหน่งผู้บัญชาการทหารสูงสุด ณ เวลานั้น เดนทางมาตรวจเยียม ่ ิ ่ ิ ิ ก าลังทางเรือและนาวิกโยธน ท่านต้องถวายการสักการะพระอนุสาวรีย์กรมหลวงชุมพรฯด้วยพวง มาลาก่อน แล้วจึงเดนทางลงเรือตรวจการใกล้ฝง ต.91 ออกตรวจก าลังทางเรือและนาวิกโยธนตอไป ิ ิ ่ ่ ั 1 นอกจากบุคคลส าคัญทางทหารของไทยแล้ว กองทัพเรือก็จัดพิธเคารพสักการะพระอนุสาวรีย์ที ่ ี ่ ่ สถานีทหารเรือสัตหีบให้แก่บุคคลส าคัญทางทหารตางชาติทีเดินทางมาเยียมเยือนด้วยเช่นกัน ่ ่ ขณะทีการสร้างความทรงจ าใหม่จากการสร้างพื้นทีอนุสรณ์ระลึกถึงกรมหลวงชุมพรฯ ่ ี่ ด าเนินอยู ความพยายามแก้ไขความทรงจ าเกยวกับเหตุการณ์กบฏแมนฮัตตัน พ.ศ. 2494 ก็ ่ ่ ด าเนินไปพร้อมกัน ด้านหนึ่งคอ การละทีกล่าวถึงเหตุการณ์กบฏนั้น ดังเช่นในบทความ “วัฏของ ื ื การทหารเรือไทย” โดยพลเรือเอก ประพัฒน์ จันทวิรัช ในวารสาร นาวิกศาสตร์ ปที 53 ฉบับเดอน ี ่

่ 1 ผบ.ทหารสูงสุด และคณะตรวจเยียมก าลังทางเรือและก าลังของนาวิกโยธนทีสัตหีบ. (2513, ่ ิ กันยายน). ใน กระดูกงู. 15(171): 24.

122

่ ิ พฤศจิกายน พ.ศ. 2513 เมือท่านได้อธบายถึงการชะงักของการพัฒนากองทัพเรือช่วงทศวรรษ ่ 2490 ท่านละทีจะกล่าวถึงชือเหตุการณ์สาเหตุดังนี้ “เกิดเหตุการณ์ร้ายแรงขึ้นในวันที 29 มิถุนายน ่ ่ ื ี 1 ่ พ.ศ. 2494 ท าให้การทหารเรือเกอบเข้าสภาพ “แพแตก” ไปชัวขณะ” อกด้านหนึ่งคือ การชี้ให้เห็น ่ ว่า การกบฏเกิดขึ้นจากความไม่พอใจของทหารเรือเพียงบางคนบางกลุม โดยปรากฏร่องรอยใน ่ บทความ “กองสัญญาณแตก” โดยเรือโท สวง เซ็นสาส์น ในวารสาร กระดูกงู ปที 21 ฉบับ 239 ี พ.ศ. 2519 ท่านได้เล่าเหตุการณ์ทีกองสัญญาณทหารเรือถูกโจมตจากทหารบกฝายรัฐบาลเนือง ่ ี ่ ่ ด้วยเหตุการณ์กบฏแมนฮัตตัน และได้อธบายว่า เหตุการณ์กบฏแมนฮัตตันเกิดขึ้นจากทหารเรือ ิ ่ ู ่ เพียงบางคนบางกลุมเท่านั้น แตทหารเรือทีเหลือมิได้ร้เห็นกับกลุมก่อกบฏกลับถูกกล่าวหาเหมา ่ ่ รวมเปนฝายกบฏไปทั้งหมด และถูกโจมตจากฝายทหารบก-ต ารวจก่อน รวมทั้งการตอบโต้ของ ี ่ ่ ็ ี ทหารเรือจ านวนหนึ่งกระท าไปเพือปกป้องเกยรตยศศักด์ศรของตนเอง ความพยายามแก้ไขความ 2 ิ ี ิ ่ ่ ทรงจ าเกยวกับเหตุการณ์กบฏแมนฮัตตันนี้ได้คอย ๆ ท าให้เรื่องราวนี้เริมเลือนหายไปจากการรับร้ ู ่ ี่ ิ ็ ของบุคลากรทหารเรือ และการเล่าเรื่องประวัตศาสตร์การทหารเรือไทยฉบับทางการกลายเปนการ เล่าเรื่องความต่อเนืองของความเจริญก้าวหน้าและคุณประโยชน์ของกิจการนี้ ่ ในเวลาเดียวกัน การสร้างพระอนุสาวรีย์กรมหลวงชุมพรฯทีหน้ากองบัญชาการฐาน ่ ทัพเรือสัตหีบได้แสดงให้กองทัพเรือเห็นว่า ผู้คนในสังคมจะให้ความร่วมมือกับกองทัพเรือหาก ู กองทัพเรือแสดงถึงการมีความเชือและความร้ความเข้าใจเกยวกับกรมหลวงชุมพรฯในลักษณะ ่ ี่ ่ ี เดยวกับประชาชน ดังนั้น กองทัพเรือจึงอาจเชือว่า ตนเองจะมีบทบาทน าในการก าหนดสถานะ ่ ของตนมากขึ้นเมือสามารถแสดงให้ประชาชนเห็นถึงพระทัยของกรมหลวงชุมพรฯทีทรงให้ ่ ความส าคัญต่อกิจการทหารเรือไทย โดยพยายามสร้างประวัตศาสตร์ร่วมกันกับประชาชนด้วยการ ิ ิ ี ่ น าเสนอเรื่องราวพระกรณยกิจและพระเกยรตคุณของพระองค์ทีทรงมีตอทหารเรือเพิ่มเตมเข้าไป ่ ิ ี ในความร้ความเข้าใจของประชาชน ขณะเดยวกัน กองทัพเรือก็จะยอมรับความเลื่อมใสศรัทธาของ ี ู ิ ่ ่ ่ ิ ผู้คนตอพลังอทธปาฏิหาริย์ของกรมหลวงชุมพรฯ เพือโน้มน้าวให้ประชาชนเชือมันว่า กองทัพเรือ ่ ่ ู ื มิได้ประสงค์จะปฏิเสธความเชือถอศรัทธาของประชาชน หรือบังคับให้ประชาชนมีความร้ความ เข้าใจต่อกรมหลวงชุมพรฯแบบเดียวกับกองทัพเรือ

1 พลเรือเอก ประพัฒน์ จันทวิรัช. (2513, พฤศจิกายน). วัฏของการทหารเรือไทย. ใน นาวิกศาสตร์. 53(11): 9. 2 เรือโท สวง เซ็นสาส์น. (2519, พฤษภาคม). กองสัญญาณแตก. ใน กระดูกงู. 21(239): 27-30.

123

่ 2.2 การเข้าไปมีสวนรวมในกิจกรรมเชิดชูบูชากรมหลวงชมพรฯของประชาชนใน ุ ่ ทศวรรษ 2510-2530 ภายหลังจากการสร้างพระอนุสาวรีย์กรมหลวงชุมพรฯทีหน้ากองบัญชาการสถานี ่ ี่ ทหารเรือสัตหีบ พ.ศ. 2510 กองทัพเรือก็ได้ให้การสนับสนุนการสร้างอนุสรณ์สถานเกยวกับกรม หลวงชุมพรฯโดยประชาชนด้วย ด้านหนึ่งกองทัพเรือได้รับประโยชน์จากการทีอนุสรณ์สถานเหล่านี้ ่ ี ็ ิ ่ ิ เปนขวัญก าลังใจแก่ทหารเรือทีเดนทางมาปฏิบัตหน้าทีในบริเวณใกล้เคยงกับพื้นทีตั้งอนุสรณ์ ่ ่ ี สถาน ขณะเดยวกัน กองทัพเรือก็เห็นว่า การมีส่วนร่วมสร้างอนุสรณ์สถานกรมหลวงชุมพรฯกับ ็ ่ ภาคประชาชนเปนส่วนหนึ่งของงานสร้างสาธารณประโยชน์ทีจะท าให้กองทัพเรือมีภาพลักษณ์ทีด ี ่ และสามารถผลักดันสถานะของตนให้ได้รับการยอมรับจากสังคมมากขึ้น เพราะกองทัพเรือได้มี บทบาทหน้าทีด้านสาธารณประโยชน์ต่อประชาชนอยู่แล้ว ่ ี ดังเช่นในรายงานการพิจารณาความก้าวหน้ารอบป พ.ศ. 2512 เมือกองทัพเรือมี ่ ึ กิจกรรมการฝกซ้อมภาคทะเล ก็ได้ช่วยเหลือเก้อกูลประชาชนในพื้นทีฝกซ้อมด้วย เช่น หมูเรือฝก ื ึ ึ ่ ่ ั ิ ่ ่ เดนทางไกลไปปฏิบัตราชการชายฝงตะวันตกของไทยได้แวะเยียมเยือนเมืองท่าในจังหวัด ิ ่ ็ ่ ชายทะเล แจกจ่ายสิ่งของจ าเปนในการด ารงชีวิตประจ าวันแก่ประชาชนทีขาดแคลน และหมูเรือที ่ ่ ั ิ ่ ิ เดินทางฝกทักษณ 12 ทีจังหวัดปตตานีกับนราธวาสได้ช่วยเหลือเรือประมงทีหายไปในทะเลและ ึ ่ พากลับเข้าฝงอย่างปลอดภัย นอกจากการช่วยเหลือประชาชนแล้ว กองทัพเรือก็ยังช่วยเหลือด้าน ั ่ ่ ท านุบ ารงพุทธศาสนาเนืองด้วยกองทัพเรือได้อาศัยพื้นทีของวัดตั้งเปนสถานทีท าการของ ุ ็ ่ ิ ่ ุ กองทัพเรือ โดยขอพระราชทานผ้าพระกฐนถวาย ณ วัดโมลีโลกยาราม กรงเทพฯ ตั้งแต พ.ศ. 2510 และบ ารงซ่อมแซมโบสถ์จนเสร็จสิ้น 1 ุ ่ การทกองทัพเรือเข้าไปมีส่วนร่วมในการสร้างพื้นทีอนุสรณ์ระลึกถึงกรมหลวงชุมพรฯ ี ่ ื จึงถอได้ว่า เปนส่วนหนึ่งในบทบาทหน้าทีของกองทัพเรือตอสังคม ในเวลาเดียวกัน กองทัพเรือก็ใช้ ่ ่ ็ ิ โอกาสนี้พยายามสร้างประวัติศาสตร์ร่วมกับประชาชน โดยพยายามอธบายความสัมพันธ์ระหว่าง ิ กรมหลวงชุมพรฯ กองทัพเรือ และประชาชน พร้อมกันนี้ก็หยิบยกน าเสนอคุณสมบัตความเปน ็ วีรบุรษทหารเรือแก่ประชาชน เพือแสดงให้เห็นว่า พระองค์ทรงให้ความส าคัญแก่ทหารเรือกับ ุ ่ ็ ิ ่ ็ ี ่ กองทัพเรือมากเพียงใด ขณะเดยวกัน กยอมรับคุณสมบัตความเปนสิงศักด์สิทธ์จากความเชือ ิ ิ ื ความศรัทธาของประชาชนด้วย เพือแสดงให้เห็นว่า กองทัพเรือกับประชาชนเคารพนับถอกรม ่ หลวงชุมพรฯในลักษณะเดียวกัน และโน้มน้าวประชาชนให้ยอมรับกองทัพเรือมากขึ้น

ี 1 กองทัพเรือ. (2512, มกราคม). กองทัพเรือในรอบป 2512. ใน นาวิกศาสตร์. 53(1): ไม่ปรากฏเลขหน้า.

124

ในช่วงเวลาระหว่างทศวรรษ 2510-2530 กองทัพเรือเข้าไปมีส่วนร่วมในการสร้าง ่ อนุสรณ์สถานกรมหลวงชุมพรฯหลายแห่ง ซึ่งเท่าทีผู้วิจัยสามารถสืบค้นและก าหนดช่วงเวลาได้มีดังนี้ - (พ.ศ. 2512) ศาลเสดจพ่อกรมหลวงชุมพรเขตรอุดมศักด์ ต.ปากน าประแสร์ ้ ็ ิ อ.แกลง จ.ระยอง - (พ.ศ. 2523) ศาลกรมหลวงชุมพรฯทีหาดทรายรี ต.หาดทรายรี อ.เมืองชุมพร ่ จ.ชุมพร

- (พ.ศ. 2529) พลับพลาทีประทับกรมหลวงชุมพรฯทีสะพานหิน อ.เมืองภูเก็ต ่ ่ จ.ภูเก็ต

- (พ.ศ. 2530) พระอนุสาวรีย์กรมหลวงชุมพรฯทีสวนสาธารณะหนองตะเคยน ี ่ ต.สัตหีบ อ.สัตหีบ จ.ชลบุรี ่ - (พ.ศ. 2532-2533) พระอนุสาวรีย์และศาลกรมหลวงชุมพรฯทีสวนสองทะเล แหลมสนอ่อน ต.บ่อยาง อ.เมืองสงขลา จ.สงขลา

่ ผู้วิจัยจะขอเลือกวิเคราะห์พื้นทีอนุสรณ์สองแห่งได้แก่ ศาลเสดจพ่อกรมหลวงชุมพร ็ ี ิ ้ ็ เขตรอุดมศักด์ ต.ปากน าประแสร์ จ.ระยอง และศาลกรมหลวงชุมพรฯทหาดทรายร จ.ชุมพร เปน ี ่ ่ ็ ่ ่ ตัวอย่าง เนืองจากสองแห่งนี้เปนพื้นทีอนุสรณ์ทีมีหนังสือทีระลึกร่วมสมัยช่วงเวลาทีก่อสร้าง ่ ่ ็ ่ ่ หลงเหลืออยู โดยพื้นทีปากน ้าประแสร์เปนแห่งแรกทีกองทัพเรือเข้าไปมีส่วนร่วมการสร้างอนุสรณ์กับ ่ ี่ ่ ประชาชน และพื้นทีหาดทรายรีเกยวข้องกับพระประวัตของกรมหลวงชุมพรฯโดยตรงในฐานะสถานที ่ ิ ่ ่ สิ้นพระชนม์ และได้รับความส าคัญจากบุคคลหลายกลุมทีมีความเลื่อมใสศรัทธาตอพระองค์ ่ 2.2.1 ศาลเสด็จพอกรมหลวงชมพรเขตรอุดมศักดิ์ ต.ปากน้าประแส อ.แกลง ่

ุ จ.ระยอง ่ ่ ศาลแห่งนี้เปนศาลเคารพบูชากรมหลวงชุมพรฯทีประชาชนในพื้นทีริเริ่มสร้างขึ้น ็ ี จากความเชือความศักด์สิทธ์ของพระองค์และเปนหนงในพื้นทสาธารณะภาคประชาชนแหงแรกท ี ่ ่ ่ ่ ิ ิ ่ ึ ็ ่ ่ ิ กองทัพเรือเข้าไปมีบทบาทร่วม เพือสร้างประวัตศาสตร์ร่วมกับประชาชนในท้องถิน หนังสือ ื อนุสรณ์ งานพิธีประดิษฐานพระรูป พลเรอเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงชุมพรเขตรอุดมศักดิ์ ที่ศาลต าบลปากน ้าประแสร อ าเภอแกลง จังหวัดระยอง (พ.ศ. 2512) ได้เล่าประวัตของศาลจาก ิ ์ ค าบอกเล่าของผู้คนในต าบลนี้ว่า ศาลแห่งนี้แรกเริ่มสร้างโดยนายหลอง ทรัพย์เจริญ อดีตทหารเรือ ิ ทีปลดประจ าการมาประกอบอาชีพชาวประมง ได้บนบานอธษฐานขอให้เจ้าพ่อกรมหลวงชุมพรฯ ่ ่ ทรงดลบันดาลช่วยเหลือเรื่องการท ามาหากิน และจะสร้างศาลเคารพบูชาพระองค์ตอบแทน เมือเขามี ี ่ ุ ฐานะดขึ้น กลับเจ็บปวยรนแรงอย่างไม่ทราบสาเหตุ เขาได้ขอค าปรึกษาจากร่างทรงคนหนึ่ง จึงจ า ่ ่ ได้ว่า ตนเองผิดค าบนบานตอเจ้าพ่อกรมหลวงชุมพรฯ เพราะไม่ได้สร้างศาลตามค าทีบนบาน เมือ ่

125

่ ่ ได้ทราบเช่นนี้แล้ว นายหลองจึงได้สร้างศาลบูชาพระองค์ขึ้นทีแหลมเมือง ต.ปากน ้าประแส เมือ ิ ็ ็ ่ พ.ศ. 2494 และสักการะบูชาเปนประจ า หลังจากนั้นไม่นานเขาก็หายจากอาการเจ็บปวยเปนปกต ศาล ่ ่ ่ แห่งนี้มีผู้คนในพื้นทีมาสักการะบูชาและประสบเหตุการณ์อภินิหารเกิดขึ้นบ่อยครั้ง แตเมือมีปลวก ่ กัดกินส่วนประกอบทีเปนไม้ในศาลและแม่น ้ากัดเซาะดนทีตั้งศาล ก็ท าให้ศาลแห่งนี้พังลง ผู้คนที ่ ่ ิ ็ ี เลื่อมใสศรัทธากรมหลวงชุมพรฯในจังหวัดระยองกับจังหวัดใกล้เคยงจึงรวบรวมทรัพย์บริจาคสร้าง ่ ่ ่ 1 ศาลแห่งใหม่ขึ้นในพื้นทีใกล้กับทีตั้งศาลเดิมและสร้างเขือนกันน ้าเซาะดิน ซึ่งเสร็จสิ้นใน พ.ศ. 2511 กระนั้น ศาลยังไม่มีพระรปประดษฐาน ผู้แทนของคณะกรรมการสร้างศาลเสดจ ็ ู ิ ในกรมหลวงชุมพรฯจึงได้มาแสดงความประสงค์กับหม่อมช้อย อาภากร หม่อมคนหนึ่งของกรม ิ หลวงชุมพรฯ และได้รับค าแนะน าให้ตดตอกับกองทัพเรือแทน เพราะกองทัพเรือเคยสร้างพระรป ู ่ ่ ่ ่ ่ กรมหลวงชุมพรฯ กองทัพเรือเห็นโอกาสทีจะสร้างภาพลักษณ์ทีดให้เปนทียอมรับตอประชาชน จึง ็ ี ิ เข้ามามีบทบาทช่วยเหลือในการสร้างพระรปกรมหลวงชุมพรฯและการจัดพิธการประดษฐานพระ ู ี ู รป เพือมุงหวังให้ “ศาลและพระรป...ช่วยอ านวยประโยชน์สุขแก่ประชาชนชาวไทยทัวหน้า และ ่ ู ่ ่ ็ เปนก าลังขวัญส่วนหนึ่งในการป้องกันชาตไทยเมืองไทย” โดยมีพลเรือตรี ชินวัตร วงษ์เพ็ญศรี ผู้ 2 ิ ็ บังคับการสถานีทหารเรือสัตหีบ ณ เวลานั้น เปนประธานคณะกรรมการด าเนินงาน และมี คณะกรรมการสนับสนุนงานพิธนี้ประกอบด้วยบุคลากรทหารเรือจากสถานีทหารเรือสัตหีบทั้งหมด ี ี ตั้งแตการก ากับดูแลงานพิธให้เปนไปอย่างเรียบร้อย, การก่อสร้างตกแตงสถานที และการ ่ ่ ่ ็ ี ด าเนินงานพิธ ตลอดจนการเตรียมการปฐมพยาบาล, การจัดยานพาหนะขนส่ง และรักษาความ 3 ปลอดภัยในพื้นทีงานพิธ ่ ี งานพิธของศาลแห่งนี้เปนงานส าคัญทีประชาสัมพันธ์ให้รับร้กว้างขวางตั้งแต ่ ่ ี ู ็ ู ู การขอการสนับสนุนการหล่อพระรปจนถึงงานพิธประดษฐานพระรปในศาล โดยมีการบอกกล่าว ิ ี ขอการสนับสนุนด้วยกรรมการด าเนินงานเอง, การส่งหนังสือแจ้งขอการสนับสนุนถึงพระประยูร ญาต ข้าราชการทหารและพลเรือน ตลอดจนประชาชนทัวไปแทบทุกจังหวัด และการขอให้ ่ ิ สื่อมวลชนประกาศแจ้งข่าว เมือถึงวันพิธประดษฐานพระรป 19 ธันวาคม พ.ศ. 2519 งานพิธก็จัด ่ ิ ี ี ู ็ ขึ้นเปนพิธส าคัญ โดยคณะกรรมการด าเนินการกราบบังคมทูลอัญเชิญพระบาทสมเดจพระ ็ ี ุ ิ ิ ี ปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช กับสมเด็จพระนางเจ้าสิริกต์ พระบรมราชินนาถทรงพระกรณาโปรด

ี ์ 1 อนุสรณ งานพิธประดิษฐานพระรูป พลเรอเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงชุมพรเขตรอุดมศักดิ์ ื ที่ศาลต าบลปากน ้าประแสร์ อ าเภอแกลง จังหวัดระยอง วันศุกร์ที่ 19 ธันวาคม 2512. (2512). หน้า 73-74. 2 แหล่งเดิม. หน้า 45. 3 แหล่งเดิม. หน้า 54, 68-71.

126

ี ู ี เกล้าฯเสด็จพระราชด าเนินมาทรงประกอบพิธประดิษฐานพระรป ภายหลังจากงานพิธประดิษฐาน ู พระรปแล้ว คณะกรรมการด าเนินงานกจัดให้มีงานมหรสพสมโภชทีบริเวณศาลกรมหลวงชุมพรฯนี้ ่ ็ ่ ่ ี ื อก 5 วัน 5 คนตั้งแตวันที 19-23 ธันวาคม พ.ศ. 2519 รวมถึงช่วยเหลือเรื่องการให้ข้อมูลพระ ่ ี ประวัตของกรมหลวงชุมพรฯและการจัดพิธของฝายกองทัพเรือให้แก่คณะกรรมการฝายประชาชน ิ ่ ็ ี ี ต าบลปากน ้าประแส เพือตพิมพ์เปนหนังสือทีระลึกถึงงานพิธนี้ ในปจจุบัน กองทัพเรือร่วมกับ ่ ่ ั ่ ี คณะกรรมการของท้องถินปากน ้าประแสจะจัดพิธเฉลิมฉลองการตั้งศาลในวันที 10-20 ธันวาคมของ ่ ี ี ทุกป โดยจัดพิธบวงสรวงพระวิญญาณของกรมหลวงชุมพรฯและงานมหรศพสมโภชน์เปนประจ า 1 ็

่ ภาพประกอบ 6 ภาพถ่ายศาลกรมหลวงชุมพรฯที ต.ปากน ้าประแส จ.ระยอง ่ โดยพลเรือตรี กรีฑา พรรธนะแพทย์เมือ พ.ศ. 2536

ทีมา: พลเรือตรี กรีฑา พรรธนะแพทย์. (2537, พฤษภาคม). ภาพชุด “ศาลกรมหลวงชุมพรฯ”. ่

ใน นาวิกศาสตร์. 77(5): 26.

ี 1 กระทรวงการท่องเทียวและกฬา. (2563). ศาลสมเด็จกรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ หมูบ้านปากน ้า ่ ่ ประแส หมู 3 ต.ปากน ้ากระแส อ.แกลง จ.ระยอง 21170. สบค้นเมือ 4 พฤษภาคม 2563, จาก ื ่ ่ https://thailandtourismdirectory.go.th/th/info/attraction/detail/itemid/3759.

127

่ ี่ ิ พื้นทีปากน ้าประแสมิได้เกยวข้องกับพระประวัตของกรมหลวงชุมพรฯโดยตรง แตเนืองจากชาวปากน ้าประแสมีความเลื่อมใสศรัทธาต่อกรมหลวงชุมพรฯและได้สร้างพระองค์ขึ้น ่ ่ ่ ี ็ ิ ่ ิ เปนวรบุรษทางวัฒนธรรมด้วยการสร้างศาลเคารพบูชาพระองค์ในฐานะสิงศักด์สิทธ์ เมือ ุ กองทัพเรือเข้ามามีส่วนร่วมในการสร้างพื้นทีอนุสรณ์ กองทัพเรือได้พยายามสร้างประวัตศาสตร์ ่ ิ ิ ็ ร่วมกับประชาชนด้วยการน าเสนอคุณสมบัตความเปนทหารเรือนักปฏิรปของกรมหลวงชุมพรฯ ู ่ เพือยกสถานะของตนเอง และสร้างสายความสัมพันธ์ระหว่างกรมหลวงชุมพรฯ กองทัพเรือ และ ิ ชาวปากน ้าประแสใหม่ผ่านการประดษฐานพระรปนี้ โดยด้านหนึ่งอธบายความสัมพันธ์เชือมโยง ิ ู ่ ระหว่างกันทีมีมาแต่อดีตและการมีความเลื่อมใสศรัทธาต่อกรมหลวงชุมพรฯร่วมกัน ขณะทีอีกด้าน ่ ่ หนึ่งก็ยอมรับความเชือความศรัทธาของชาวปากน ้าประแสต่อพระองค์ในเรื่องอิทธปาฏิหาริย์ ่ ิ ในการน าเสนอคุณสมบัตของกรมหลวงชุมพรฯ กองทัพเรือได้น าเรื่องราวพระ ิ ประวัตมาลงประกอบในหนังสือ อนุสรณ์งานพิธีประดิษฐานพระรูปฯ จังหวัดระยอง (พ.ศ. 2512) ิ โดยหยิบยกเรื่องราวแม่บทจากงานเขียนพระประวัตก่อนหน้า ด้านหนึ่งกองทัพเรือหยิบยกเรื่องราว ิ ู ็ ขับเน้นคุณสมบัตความเปนทหารเรือนักปฏิรปด้วยการเล่าเรื่องการปฏิรปการศึกษาของโรงเรียน ู ิ นายเรือ น าเสนอความเจริญก้าวหน้าของกิจการทหารเรือ พร้อมแสดงคุณสมบัติทีท าให้ทหารเรือมี ่ ความเคารพรักใคร่ตอพระองค์ โดยเล่าเรื่องราวบางส่วนของพระกรณยกิจทีแสดงคุณสมบัตนั้น ี ่ ่ ิ เช่น เรื่องราวการฝกหัดนักเรียนนายเรือแสดงความทุมเทพระทัยฝกหัดนักเรียนนายเรือจนส าเร็จ ึ ่ ึ ็ เปนทหารเรือได้อย่างแท้จริง, เรื่องราวการตั้งกองทหารทีบางพระแสดงความรักห่วงพระทัยตอ ่ ่ ่ ทหารเรือและการไม่ถอพระองค์ทีจะคลุกคลีใกล้ชิดสนิทสนมกับทหารเรือผู้น้อย และเรื่องการตั้ง ื ิ ื ี ื ี ิ ี ิ ี แผนกฌาปนกจทหารเรอแสดงพระทัยทจะให้ทหารเรอมีเกยรตยศศักด์ศรเช่นเดยวกับทหารเหล่าอน ่ ่ ื ี ่ ่ อกด้านหนึ่งกองทัพเรือน าเสนอพระทัยของพระองค์ทีทรงมุงหวังสร้างคุณประโยชน์ตอชาต ิ ่ ็ บ้านเมือง เช่น พระอัธยาศัยปลอมพระองค์เยียงสามัญชนเสดจไปสืบเรื่องราวตาง ๆ จากราษฎร ่ ่ ่ เพือทรงจะระงับเหตุร้ายได้ล่วงหน้า, การตั้งกองดับเพลิงเพือช่วยเหลือราษฎรดับเพลิงไหม้ใน ่ ่ กรงเทพฯกับธนบุรี และเมือต้องทรงออกจากราชการ ก็ยังทรงมีพระทัยช่วยเหลือผู้คน โดยทรง ุ ประกอบอาชีพเปนหมอรักษาผู้คนอย่างไม่เลือกหน้า ็ ็ อย่างไรก็ตาม กองทัพเรือให้คุณคาคุณสมบัตด้านกิจการทหารเรือเปนด้าน ิ ่ ิ ่ ี ุ ั ส าคัญทีสุดและน าไปสูข้อสรปว่า พระเกยรตคุณด้านนี้ท าให้กองทัพเรือไทยสามารถลงหลักปก ่ ่ ่ ื ่ ฐานลงได้ส าเร็จ และเปนทีเคารพนับถอในหมูทหารเรือ กองทัพเรือพยายามน าเสนอคุณคาของ ็ ิ กรมหลวงชุมพรฯในด้านนี้เข้าไปประสานกับความร้ความเข้าใจเดมของชาวปากน ้าประแส แสดง ู ี ถึงความส าคัญของกิจการทหารเรือในฐานะพระกรณยกิจทีพระองค์ทรงให้ความส าคัญมากทีสุด ่ ่

128

ู ่ ี ่ เพือยกสถานะของตนเอง คุณคานี้ยังได้รับการตอกย ้าผ่านพิธการประดิษฐานพระรปและพยายาม สร้างความทรงจ าใหม่แก่ชาวปากน ้าประแสด้วย ่ ี ู ิ ในพิธการประดษฐานพระรปนี้ จอมพล ถนอม กิตตขจร ได้กราบบังคมทูลตอ ิ ิ ิ ็ ็ ี พระบาทสมเดจพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช กับสมเดจพระนางเจ้าสิริกต์ พระบรมราชินนาถ ิ อธบายความสัมพันธ์ใกล้ชิดระหว่างกรมหลวงชุมพรฯและกองทัพเรือไทยกับชาวปากน ้าประแสว่า พระองค์ทรงเปนสัญลักษณ์ของทหารเรือ เนืองด้วยทรงสร้างความเจริญก้าวหน้าแก่กองทัพเรือและมี ็ ่ ่ ความเมตตากรณาตอทหารเรือดังบิดากับบุตร ท าให้ทหารเรือทั้งหลายตางมีความเคารพเทิดทูน ่ ุ ่ ่ ่ ่ ระลึกถึงพระองค์ ทหารเรือจ านวนหนึ่งทีออกจากราชการมาด ารงชีพอยูทีปากน ้าประแสก็ยังคงมี ่ ความเลื่อมใสศรัทธาตอพระองค์ สร้างศาลเคารพบูชาพระองค์ขึ้น เมือศาลเก่าพังลง ประชาชนชาว ่ ั ่ ่ ื ปากน ้าประแสก็ร่วมกันสร้างขึ้นใหม่ แสดงถึงความเคารพนับถอพระองค์สืบตอเนืองมาถึงปจจุบัน

พลเรอเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงชุมพรเขตรอุดมศักดิ์ ทรงเปนองค์สัญญลักขณ์ของ ็ ื ทหารเรือ การทีกองทัพเรือได้เจริญก้าวหน้ามาจนปจจุบันนี้ก็ด้วยพระปรีชาสามารถ และวิริยะ ่ ั ิ อุตสาหะของพระองค์ท่าน...พระจริยานุวัติทีทรงแสดงต่อทหารเรือทั้งหลายก็ทรงปฏบัติด้วยความ ่ ุ ่ เมตตากรณากรณาเยียงบิดากับบุตร...ซึงนับว่าบรรดานายทหารมีความเคารพรักและเทอดทูน ุ ่ ิ ็ พระองค์ท่านเปนพระบดาของทหารเรืออีกด้วย แม้ว่าพระองค์ท่านจะส้นพระชนม์ล่วงมาเปนเวลานาน ็ ิ ี ่ ถึง 46 ปแล้วก็ตาม ทหารเรือทุกคนและประชาชนทัวไปยังระลึกถึงพระคุณของพระองค์ท่านอยู่ตลอด ่ ่ ็ ่ มา โดยเฉพาะประชาชนชาวต าบลปากน ้าประแสร์ ซึงบรรดาผู้ชายสวนมากผานการเปนทหารเรือ 1 มาแล้ว ถึงกับสร้างศาล...ส าหรับเปนทเคารพสักการะเมือระลึกถึงพระองค์ท่าน เปนเวลาช้านานแล้ว ็ ่ ็ ่ ี

ค ากราบบังคมทูลนี้ได้ตอกย ้าคุณคาความส าคัญของกองทัพเรือในฐานะพระ ่ ี่ ี กรณยกิจส าคัญของกรมหลวงชุมพรฯ และพยายามเปลี่ยนแปลงความทรงจ าบางส่วนเกยวกับ ความสัมพันธ์ระหว่างกองทัพเรือกับชาวปากน ้าประแสใหม่ กล่าวคอ เมือเปรียบเทียบกับเรื่องเล่า ่ ื ประวัตการตั้งศาลกรมหลวงชุมพรฯโดยชาวบ้าน (เรื่องนายหลอง ทรัพย์เจริญบนบานเจ้าพ่อกรม ิ ั หลวงชุมพรฯ) แสดงถึงความเลื่อมใสศรัทธากรมหลวงชุมพรฯเริมต้นจากความเชือเชิงปจเจกที ่ ่ ่ ตอมาได้แพร่หลายเปนความเลื่อมใสของผู้คนในชุมชน ขณะทีค ากราบบังคมทูลได้น าเสนอเรื่อง ่ ่ ็ ่ เล่าใหม่แสดงความสืบเนืองของความเลื่อมใสศรัทธาจากภายในกองทัพเรือออกมาสู่ชาวบ้าน โดย

ื 1 อนุสรณงานพิธประดิษฐานพระรูปพลเรอเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงชุมพรเขตรอุดมศักดิ์ ที่ ์ ี ต าบลปากน ้าประแสร์ อ าเภอแกลง จังหวัดระยอง วันศุกร์ที่ 19 ธันวาคม 2512. (2512). หน้าค ากราบบังคมทูลของ ี ู ื ิ ฯพณฯ นายกรัฐมนตร ในพธประดิษฐานพระรปพลเรอเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงชุมพรเขตรอุดมศักดิ์. ี

129

่ ่ ให้คุณคาความหมายใหม่แก่ความเลื่อมใสศรัทธาของชาวบ้านตอกรมหลวงชุมพรฯว่า กองทัพเรือ ิ ่ ี ิ กับชาวปากน ้าประแสตางเคารพนับถอพระองค์จากพระเกยรตคุณและคุณสมบัตของพระองค์ ื ี ื แบบเดยวกัน คอ พระองค์ทรงมีพระปรีชาสามารถ, พระทัยทีวิริยะอุตสาหะ และพระอัธยาศัย ่ ั เมตตากรณาตอทหารเรือ ท าให้กิจการทหารเรือไทยสามารถรกหลักปกฐานได้ส าเร็จ สร้างความ ่ ุ ็ เคารพเลื่อมใสแก่เหล่าทหารเรือ และกองทัพเรือได้ยกย่องเชิดชูพระองค์เปนปูชนียบุคคลของ ่ ่ กองทัพเรือ ความเคารพเลื่อมใสนี้ก็ได้สืบทอดมาทีปากน ้าประแสเมือมีทหารเรือจ านวนหนึ่งออก ่ จากราชการมาตั้งรกรากทีแห่งนี้ และศาลเคารพบูชากรมหลวงชุมพรฯแห่งนี้คอเครื่องแสดงความ ื ่ เลื่อมใสศรัทธาตอพระองค์ทีสืบเนืองมาจากกองทัพเรือ ค ากราบบังคมทูลนี้จึงได้สร้าง ่ ่ ความสัมพันธ์พวกพ้องระหว่างกองทัพเรือกับชาวปากน ้าประแสด้วยการมีประวัตศาสตร์ร่วมกัน ิ ุ และเคารพบูชาวีรบุรษคนเดียวกัน ี ขณะเดยวกัน กองทัพเรือก็ยอมรับความเชือความศรัทธาของประชาชนตอ ่ ่ อิทธปาฏิหาริย์ของกรมหลวงชุมพรฯด้วย โดยน าเสนอเรื่องเล่าการประสบเหตุการณ์อิทธปาฏิหาริย์ ิ ิ ี ของพลเรือตรี ชินวัตร วงษ์เพ็ญศรี ผู้บัญชาการทหารเรือ ลงตพิมพ์ในหนังสือ อนุสรณ์ งานพิธี ประดิษฐานพระรูปฯ (พ.ศ. 2512) พร้อมกับเรื่องเล่าอทธปาฏิหาริย์อนทีชาวปากน ้าประแสประสบ ิ ่ ิ ่ ื ่ ่ ท่านเล่าถึงเหตุการณ์อภินิหารทีท่านได้รับการช่วยชีวิตจากกรมหลวงชุมพรฯในช่วงทีท่านพักรักษา ี ่ ่ ิ ่ โรคมาเลเรียทีโรงพยาบาลอาภากรเกยรตวงศ์เมือสงครามโลกครั้งที 2 ขณะทีพลเรือตรี ชินวัตร ่ ก าลังเพ้อจากพิษไข้มาเลเรียและก าลังจะกระโดดจากระเบียงตึก พระองค์ทรงดลบันดาลภาพ 1 ่ ่ ุ ่ ่ ่ ่ นิมิตรพาท่านลงมานังทีม้านังบริเวณทีนังพักรอตรวจคนไข้จนกระทังร่งเช้า การเล่าเรื่องราวนี้จึง เปนการโน้มน้าวให้ชาวปากน ้าประแสเห็นว่า กองทัพเรือก็มีความเชือศรัทธาต่ออิทธปาฏิหาริย์ของ ิ ็ ่ กรมหลวงชุมพรฯเช่นเดียวกัน ็ ่ เราจะเห็นได้ว่า แม้พื้นทีปากน ้าประแสจะมิได้เปนพื้นทีอนุสรณ์เกยวกับเรื่องราว ่ ี่ ิ ุ พระประวัตของกรมหลวงชุมพรฯโดยตรง แตพระองค์ก็ทรงเปนวีรบุรษทางวัฒนธรรมของพื้นทีแห่งนี้ ่ ่ ็ ด้วยการสร้างประวัตศาสตร์ร่วมกันระหว่างกองทัพเรือกับชาวปากน ้าประแส โดยอธบาย ิ ิ

1 พลเรือตรี ชินวัตรได้เลาว่า ขณะทีท่านเพ้อไม่ได้สติและก าลังจะกระโดดจากระเบียงตึกลงมา ่ ่ ข้างลาง เพราะ “เพ้อไปว่าจะเหาะไปเทียวทางด้านทะเล” ท่านได้ยินเสยงดนตรีแว่วมาจากบันได จึงได้คลานลง ่ ่ ี บันไดและเห็นว่า ข้างลางก าลังจัดงานเนวีบอล “มีทหารเรือหลายท่านในเครื่องแบบราตรีสโมสรสมัยก่อนก าลัง ่ ่ ่ ่ ี ่ ลลาศกันอยู และได้เห็นภาพเสด็จในกรมฯทางเบื้องพระปฤษฎางค์แว่บหนึ่ง” จากนั้นท่านก็นังมึนงงอยูทีม้านัง ่ ่ ่ ุ บริเวณนั้น จนกระทังร่งเช้านายแพทย์มาพบท่าน จึงได้ประคองท่านกลับไปทีห้องตามเดิม (ใน อนุสรณ์งานพิธี ื ประดิษฐานพระรูปพลเรอเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงชุมพรเขตรอุดมศักดิ์ ที่ต าบลปากน ้าประแสร์ ์ อ าเภอแกลง จังหวัดระยอง วันศุกรที่ 19 ธันวาคม 2512. (2512). หน้า 41.)

130

่ ความสัมพันธ์พวกพ้องระหว่างกองทัพเรือกับชาวปากน ้าประแส ให้คุณคาความหมายแก่ความ ่ เลื่อมใสศรัทธาของชาวบ้านให้สอดคล้องกับคุณค่าความหมายทีกองทัพเรือเชิดชูพระองค์ และการ ี ิ แสดงความเชือศรัทธาอ านาจอทธปาฏิหาริย์ของพระองค์เช่นเดยวกัน กรมหลวงชุมพรฯในฐานะ ่ ิ ่ วีรบุรษทางวัฒนธรรมจึงได้รับการสถาปนาอย่างมันคงพร้อมความสัมพันธ์ใหม่ระหว่างกองทัพเรือ ุ ่ กับชาวปากน ้าประแส ซึงสามารถเห็นได้จากภาพถ่ายศาลเมือ พ.ศ. 2536 โดยพลเรือตรี กรีฑา ่ ู ิ พรรธนะแพทย์ข้างต้น ภาพถ่ายนี้แสดงฉากหลังพระรปกรมหลวงชุมพรฯทีประดับด้วยธงชาตไทย ่ ู ทางด้านซ้ายกับธงราชนาวีไทยทางด้านขวา และเครื่องหมายราชการของกองทัพเรือไทยรป ิ สมอเรือคล้องจักรใต้พระมหาพิชัยมงกุฎทีตดอยูทีหน้าจัวของศาล องค์ประกอบเหล่านี้เปนสิ่งบ่ง ่ ่ ่ ็ ่ ็ บอกความสัมพันธ์ระหว่างกรมหลวงชุมพรฯ กองทัพเรือไทย และชาวปากน ้าประแสผู้เปนเจ้าของศาล ่ ี อกทั้งในเวลาตอมา กองทัพเรือได้เข้ามามีบทบาทในการจัดพิธบวงสรวงพระวิญญาณของกรม ี ี ็ หลวงชุมพรฯทีศาลแห่งนี้เปนประจ าทุกป ซึ่งได้ตอกย ้าความสัมพันธ์ระหว่างทั้งสองมากขึ้นด้วย ่ ุ ี ุ 2.2.2 ศาลกรมหลวงชมพรเขตอุดมศักดิ์ ต.หาดทรายร อ.เมืองชมพร ุ จ.ชมพร ่ ศาลแห่งนี้เปนศาลกรมหลวงชุมพรฯอกแห่งหนึ่งทีสร้างขึ้นจากความเลื่อมใส ี ็ ่ ศรัทธาความศักด์สิทธ์ตอพระองค์โดยข้าราชการของการรถไฟแหงประเทศไทยกับคณะและ ิ ่ ิ ประชาชนชาวชุมพร จนกระทัง พ.ศ. 2523 เมือกองทัพเรือได้เข้ามามีบทบาทด้วยการน าเรือหลวง ่ ่ ชุมพรมาประดิษฐานถวายแด่กรมหลวงชุมพรฯตามค าเรียกร้องของประชาชน และให้ความส าคัญ ี่ ่ ่ ต่อพื้นทีนี้มากขึ้น เนืองด้วยพื้นทีหาดทรายรีเกยวข้องกับข้อเท็จจริงเรื่องพระชนม์ชีพของกรมหลวง ่ ชุมพรฯโดยตรง และประชาชนท้องถินชุมพรมีความเลื่อมใสศรัทธากรมหลวงชุมพรฯอยูก่อนแล้ว ่ ่ ิ ่ กองทัพเรือจึงพยายามสร้างประวัตศาสตร์ร่วมกับประชาชนท้องถินและเผยแพร่เรื่องราวพระ กรณยกิจของกรมหลวงชุมพรฯให้ประชาชนท้องถินเห็นความส าคัญของกองทัพเรือ ่ ี ็ ในเรื่องความเปนมาของศาลกรมหลวงชุมพรฯแห่งนี้ พันเอก แสง จุละจาริตต์ อดตผู้ว่าการรถไฟแห่งประเทศไทย ได้เล่าประวัตศาลแห่งนี้ครั้งแรกในหนังสือ ที่ระลึกงานสร้าง ี 1 ิ ื พระรูปพลเรอเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ น าไปประดิษฐาน ณ หาด ่ ิ ทรายรี จังหวัดชุมพร (พ.ศ. 2506) ว่า ศาลแรกเริมสร้างขึ้นโดยนายทหารเรือลูกศษย์ของพระองค์ ็ ็ ่ กับผู้เลื่อมใสศรัทธา เนืองจากหาดทรายรีเปนสถานทีสิ้นพระชนม์ของพระองค์ โดยเปนศาลขนาด ่ ็ ่ เล็กตั้งอยูใต้ต้นหูกวางใกล้กับพื้นทีทีเคยเปนพระต าหนักของพระองค์เมือทรงลาพักตากอากาศใน ่ ่ ่

็ ่ 1 ในช่วงทีพันเอกสร้างศาลกรมหลวงชุมพรฯใน พ.ศ. 2502 ท่านยังด ารงยศพันตรีและมีต าแหน่งเปน รองผู้ว่าการรถไฟแห่งประเทศไทย

131

่ ุ ุ พ.ศ. 2466 แตศาลนี้ช ารดทรมโทรมลงจากการไม่มีผู้ดูแลและการเดินทางไปเคารพสักการะท าได้ ล าบาก จนกระทัง พ.ศ. 2502 พันเอก แสงกับคณะคนรถไฟ (ครฟ.) ได้เดนทางไปสักการะ ด้วย ่ ิ ่ ิ ่ ึ ่ ิ ็ ความเลือมใสความศักด์สิทธ์ของพระองค์และทรงเปนเชื้อพระวงศ์ผู้ใหญพระองค์หนงในราชวงศ์ จักรี ท่านกับคณะคนรถไฟจึงตัดสินใจสร้างศาลเคารพสักการะกรมหลวงชุมพรฯหลังใหม่ใน พ.ศ. 2502 และกลับมาซ่อมแซมศาลจากเหตุการณ์มหาวาตภัยแหลมตะลุมพุก พ.ศ. 2505 พร้อมหล่อ ่ ู พระรปมาประดษฐานทีศาลแห่งนี้ ตอมาใน พ.ศ. 2515 นายชวน พรพงศ์ ผู้ว่าราชการจังหวัด 1 ่ ิ ิ ชุมพร ณ เวลานั้น ได้พิจารณาให้สร้างศาลกรมหลวงชุมพรฯอกแห่งบริเวณเชิงเขาใกล้กับศาลเดม ี ่ ของพันเอก แสง เพือให้ศาลมีความโดดเดนสง่างาม ศาลแห่งนี้ได้สร้างเสร็จใน พ.ศ. 2516 และมี ่ 2 การประดิษฐานพระรปในอีก 2 ปต่อมา ี ู ่ กองทัพเรือได้เข้ามามีบทบาท ณ ศาลกรมหลวงชุมพรฯแห่งนี้เมือประชาชนจังหวัด ิ ่ ชุมพรร้องขอเรือหลวงชุมพรน ามาประดษฐานทีศาล เพือเปนอนุสรณ์ระลึกถึงพระองค์ใน พ.ศ. ่ ็ ่ ่ ่ 2518 เนืองจากเรือรบมีชือคล้องกับพระนาม เมือรัฐบาลได้อนุมัตให้ยกเรือหลวงชุมพรให้แก่ ิ ่ ิ ประชาชนใน พ.ศ. 2522 กองทัพเรือจึงท าการตกแตงเรือหลวงชุมพรใหม่ด้วยการตดตั้งอาวุธ ู ประจ าเรือกลับคนให้เรือมีรปลักษณ์เหมือนช่วงทียังมิได้ปลดระวาง นอกจากนี้ กองทัพเรือยัง ่ ื ิ ประสานงานกับทางจังหวัดชุมพรทั้งในการหาทุนทรัพย์และการประดษฐานเรือบนหาดทรายรี จน ในทีสุด เรือหลวงชุมพรสามารถประดษฐานทีหาดทรายรีใกล้กับศาลกรมหลวงชุมพรฯหลังเดมได้ ่ ิ ่ ิ ็ ี ส าเร็จใน พ.ศ. 2523 และมีพิธการส่งมอบเรือให้แก่ประชาชนชาวจังหวัดชุมพรอย่างเปนทางการ ่ ตอมาใน พ.ศ. 2528 กองทัพเรือได้ร่วมกับจังหวัดชุมพรและการท่องเทียวแห่งประเทศไทยจัดงาน ่ ่ ิ ็ ี เทิดพระเกยรตกรมหลวงชุมพรฯขึ้นทีหาดทรายรีครั้งแรกและเปนงานสมโภชน์เรือหลวงชุมพรที ่ 3 น ามาถวายแด่พระองค์ด้วยพร้อมกัน

1 คนรถไฟ. (2507). ที่ระลกงานสร้างพระรูป พลเรอเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงชุมพรเขต ึ ื อุดมศักดิ์. หน้า 20-21. 2 นาวาเอก (พิเศษ) ไชยา เตี้ยมฉายพันธ์; นาวาโท สุริยะ ค าสอน; และ นาวาตรี สุรพงษ์ สุขสงวน. (2556). พระประวัติ พลเรือเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าองภากรเกียรติวงศ์ กรมหลวงชุมพรเขตอุดม ศักดิ์ เทิดพระเกียรติ และเผยแพรพระเกียรติคุณเนื่องใน "วันอาภากร" และครบรอบ 90 ป ของการสิ้นพระชนม์ ่ ี (19 พฤษภาคม พ.ศ. 2466 - 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2556). หน้า 377. 3 หลังจากงานเทิดพระเกยรติกรมหลวงชุมพรฯใน พ.ศ. 2528 กองทัพเรือได้เข้ามาสนับสนุนการสร้าง ี ิ ่ ิ ศาลกรมหลวงชุมพรฯแห่งใหม่ทีหาดทรายรีในช่วง พ.ศ. 2532-2533 โดยพลเอก ชวลต กับคุณหญง พันธุ์เครือ ่ ยงใจยุทธ นายกรัฐมนตรีและภริยา และมีงานเขียนทีระลึกการสร้างศาลครั้งนี้เก็บรักษาอยูในหอจดหมายเหตุ ่ ่ แห่งชาติ แต่เนืองด้วยสถานการณ์การยับยั้งการแพร่เชื้อไวรัสโคโรน่า (COVID-19) ท าให้กรมศิลปากรมีประกาศ

132

ภาพประกอบ 7 ภาพถ่ายศาลกรมหลวงชุมพรฯศาลล่างทีหาดทรายรี จ.ชุมพร ่ ่ โดยพลเรือตรี กรีฑา พรรธนะแพทย์เมือ พ.ศ. 2536

ทีมา: พลเรือตรี กรีฑา พรรธนะแพทย์. (2537, พฤษภาคม). ภาพชุด “ศาลกรมหลวง ่ ชุมพรฯ”. ใน นาวิกศาสตร์. 77(5): 33.

่ พื้นทีหาดทรายรีแรกเริมได้รับการจดจ าจากชาวชุมพรทั้งในฐานะพื้นทีบรรจุ ่ ่ ่ ความสถานททกรมหลวงชุมพรฯสิ้นพระชนม์และในฐานะพื้นทศักด์สิทธ์ทพระวญญาณของ ิ ี ่ ิ ิ ี ่ ี ่ ี พระองค์ยังคงสถิตอยู โดยหนังสือ ที่ระลึกงานสร้างพระรูปฯ จังหวัดชุมพร (พ.ศ. 2506) ได้อธบาย ิ ่ ็ ่ ่ ี ิ ิ ่ ความเชือความศรัทธาของชาวชุมพรว่า พื้นทีหาดทรายรีเปนพื้นทีศักด์สิทธ์ทพระวญญาณของกรม ิ ่ ่ ่ หลวงชุมพรฯยังคงสถิตอยู เนืองจากพระองค์ทรงให้ความส าคัญตอสถานทีนี้ในฐานะสถานที ่ ่ ่ พักผ่อนประจ าในยามทีทรงว่างจากราชการ ภายหลังการสิ้นพระชนม์ ทหารเรือและผู้ทีเลื่อมใส ่ ่

่ ิ ็ ่ ปดให้บริการหอจดหมายเหตุแห่งชาติเปนการชัวคราวตั้งแต่วันที 3 เมษายน ถึง 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2563 ตาม พระราชก าหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉน พ.ศ. 2548 ผู้วิจัยจึงไม่สามารถเข้าไปสบค้นหลักฐาน ิ ื ่ ข้างต้นได้ และจะศึกษาวิเคราะห์จากหลักฐานเท่าทีสามารถสืบค้นมาได้

133

่ ิ พระองค์ได้เดนทางมาเคารพสักการะด้วยการสร้างศาลเคารพบูชาพระองค์ทีใต้ต้นหูกวางใกล้กับ ็ 1 ่ ่ ต าแหน่งทีเคยเปนทีตั้งพระต าหนัก ความศักด์สิทธ์น้ได้รับการตอกย ามากข้นด้วยการสร้างศาลหลังใหม่โดยคณะ ิ ี ้ ิ ึ คนรถไฟและเรื่องเล่าการประสบเหตุการณ์อทธปาฏิหาริย์ของคณะคนรถไฟ ซึงประสบปญหาภัย ่ ิ ิ ั ธรรมชาตระหว่างการด าเนินการก่อสร้างศาลหลังใหม่เมือ พ.ศ. 2502 และได้พบกับนายเสือ คน ่ ิ ่ ทรงส่วนพระองค์ของเจ้าพ่อกรมหลวงชุมพรฯ นายเสือได้บอกฤกษ์ยามวันเวลาในการออกเรือ เมือ 2 ่ คณะคนรถไฟได้ออกเรือตามวันเวลาทีได้รับมา ก็สามารถเดินทางมาถึงหาดทรายรีได้อย่างราบรื่น ื ิ ี ิ ่ ตอมาใน พ.ศ. 2506 คณะคนรถไฟได้ประสบเหตุการณ์อทธปาฏิหาริย์อกครั้ง คอ กรมหลวง ุ ชุมพรฯทรงประทับทรงเข้าร่างนายสุรัติ รัตนอุดม ผู้ช่วยช่างชั้น 3 แขวงสารวัตรบ ารงทางชุมพร เพือ ่ ่ ่ ่ ่ ตรัสถามจุดประสงค์ทีคณะคนรถไฟเดนทางมาทีศาลทีหาดทรายรี เมือได้ทรงทราบว่า คณะคน ิ ุ ู ่ รถไฟจะมาซ่อมบ ารงรักษาศาลและจะหล่อพระรปพระองค์มาประดษฐานทีศาลแห่งนี้ ก็ทรงพอ ิ 3 ิ พระทัยและเสด็จออกจากร่างนายสุรัต ่ ่ ่ เมือกองทัพเรือเข้ามาร่วมสร้างพื้นทีอนุสรณ์ทีหาดทรายรีด้วยการน าเรือหลวง ิ ิ ชุมพรเข้ามาประดษฐาน กองทัพเรือได้พยายามสร้างประวัตศาสตร์ร่วมกับประชาชนชาวชุมพร ี ิ ด้วยวิธการทีคล้ายคลึงกับทีปากน ้าประแส นันคอ การน าเสนอพระเกยรตคุณกับคุณสมบัตของ ่ ี ่ ิ ่ ื ่ ิ ื กรมหลวงชุมพรฯทีท าให้ทรงเปนทีเคารพนับถอในหมูทหารเรือผ่านเรื่องราวพระประวัต และการ ่ ็ ่ ่ ิ อธบายความสัมพันธ์ระหว่างกองทัพเรือกับประชาชนท้องถินใหม่ ่ ิ ี ในการน าเสนอพระเกยรตคุณกับคุณสมบัติของกรมหลวงชุมพรฯ กองทัพเรือมุง ็ ิ ิ น าเสนอคุณสมบัตและพระเกยรตคุณเกยวข้องกับกิจการทหารเรือเปนหลักผ่านงานเขียนพระ ี่ ี ประวัตสองชิ้น ได้แก่ หนังสือ อนุสรณ์การมอบเรือหลวงชุมพร ณ หาดทรายรี จังหวัดชุมพร 27 ิ กันยายน 2523 (พ.ศ. 2523) และหนังสือ พระประวัติโดยสังเขป นายพลเรือเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ (พ.ศ. 2528) โดยผลิตซ ้าเรื่องราวแม่บทจากงานเขียนพระประวัตที ่ ิ ่ ิ ผลิตขึ้นก่อนหน้า และขับเน้นคุณสมบัตความเปนทหารเรือนักปฏิรป คุณสมบัตทีได้รับการขับเน้น ิ ู ็ ่ ่ ื มากทีสุดคอ ความทุมเทพระทัยพัฒนาความก้าวหน้าให้แก่กิจการทหารเรือไทย ซึงน าเสนอผ่าน ่ ิ ็ ู เรื่องราวการปฏิรปการศึกษาของโรงเรียนนายเรือ, การขอพระราชทานพระราชวังเดมมาตั้งเปน

1 คนรถไฟ. (2506). ที่ระลกงานสร้างพระรูปพลเรอเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงชุมพรเขตอุดม ึ ื ศักดิ์ น าไปประดิษฐาน ณ หาดทรายล จังหวัดชุมพร. หน้า 20 ี 2 แหล่งเดิม. หน้า 22. 3 แหล่งเดิม. หน้า 25-26.

134

ึ ุ ่ โรงเรียนนายเรือ, การฝกหัดนักเรียนนายเรือด้านตาง ๆ, การปรับปรงแก้ไขระเบียบราชการ ทหารเรือ และการขอพระราชทานพื้นทีสัตหีบให้เปนทีตั้งฐานทัพเรือในอนาคต รวมถึงเกร็ดพระ ่ ็ ่ ประวัติเรื่องการตั้งแผนกฌาปนกิจทหารเรือ กองทัพเรือเลือกน าเสนอคุณสมบัตนี้ประสานความร้ความเข้าใจกับชาวชุมพร ิ ู เพือโน้มน้าวให้ชาวชุมพรเห็นถึงความส าคัญของกองทัพเรือผ่านคุณสมบัตทีทรงมุงมันพระทัย ่ ่ ่ ิ ่ ี ่ ิ ิ สร้างความเจริญแก่กจการทหารเรือและเรื่องราวความส าเร็จในพระกรณยกจด้านนี้ รวมถึงมุงหวัง ิ ู ่ ให้ชาวชุมพรยกย่องเชิดชูพระองค์ด้วยความร้ความเข้าใจเดียวกับกองทัพเรือ ตอมาคุณสมบัตกับ ิ ู ่ ี พระเกยรตคุณของพระองค์ในฐานะทหารเรือนักปฏิรปก็ได้รับการตอกย ้ามากขึ้นเมือกองทัพเรือมี ี ิ ส่วนร่วมในการจัดงานเทิดพระเกยรตกรมหลวงชุมพรฯทีหาดทรายรี พ.ศ. 2528 โดยจัดแสดง ่ ่ นิทรรศการพระประวัตและสิ่งของเครื่องใช้ของกรมหลวงชุมพรฯ เรื่องราวพระประวัตทีเผยแพร่ใน ิ ิ ครั้งนี้ก็ได้ตอกย ้าความส าคัญของกองทัพเรือมากขึ้นด้วยเรื่องราวการศึกษาวิชาการทหารเรือของ พระองค์ทีประเทศอังกฤษ ซึ่งได้เรียบเรียงขึ้นจากงานเขียนพระประวัติกรมหลวงชุมพรฯโดยพลเรือ ่ เอก ประพัฒน์ จันทวิรัชในช่วงเวลาเดียวกัน เรื่องราวนี้น าเสนอความพยายามผลักดันของราชการ ไทยทีจะให้พระองค์ได้ทรงศึกษาวิชาการทหารเรือทีประเทศอังกฤษและความทุมเทพระทัยใน ่ ่ ่ 1 การศึกษาวิชาทหารเรือ ทั้งสองประเดนนี้ได้ขับเน้นความส าคัญของการสร้างความเจริญแก่ ็ ั กิจการทหารเรือไทยให้มีความก้าวหน้า และอธบายความส าคัญของกองทัพเรือไทยในปจจุบัน ิ พร้อมกันนี้กองทัพเรือก็พยายามสร้างความสัมพันธ์ใกล้ชิดระหว่างตนเองกับ ประชาชนชาวชุมพรผ่านพิธการมอบเรือหลวงชุมพรว่า กองทัพเรือกับชาวชุมพรมีความสัมพันธ์แน่น ี แฟ้นระหว่างกันมาเปนเวลานานเนืองจากตางนับถอกรมหลวงชุมพรฯเหมือนกันและมีปฏิสัมพันธ์ ่ ็ ื ่ ่ ิ ่ กันมาโดยตลอด เมือชาวชุมพรประสงค์จะขอเรือหลวงชุมพรมาประดิษฐาน เพือเปนเกยรตประวัต ิ ี ็ และอนุสรณ์แด่พระองค์ กองทัพเรือจึงมีความยินดีและด าเนินการมอบเรือตามความประสงค์

ตามปกติทหารเรือมีความสัมพันธ์แน่นแฟ้นกับชาวจังหวัดชุมพรมานาน เปรียบเสมือนญาติพีน้องอัน ่ ิ ื สนิท โดยมีความเคารพนับถอ พลเรือเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ พระบดา ่ ่ ของกองทัพเรือไทยเช่นเดียวกัน ปหนึ่ง ๆ จะมีทหารเรือผานมาแวะเยียมชาวจังหวัดชุมพรหลายครั้ง ี ได้รับการต้อนรับด้วยอัธยาศัยไมตรีอันดีงามมาโดยตลอด ทหารเรือทุกคนจึงซาบซึ้งในน ้าใจของชาว จังหวัดชุมพรทุกคน ดังนั้นเมือชาวจังหวัดมีความประสงค์จะขอเรือล านี้มาประดิษฐาน ณ บริเวณศาล ่

1 ดูรายละเอียดเพิ่มเติมใน งานเทิดพระเกียรติ พลเรือเอกพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงชุมพรเขตร อุดมศักดิ์ 16-22 พฤษภาคม 2528 ณ บริเวณหาดทรายรี อ.เมือง จ.ชุมพร. (2528).

135

...เพือเปนเกยรติประวัติและเปนอนุสรณ์แด่พระองค์ท่าน...กองทัพเรือจึงมีความยินดีมอบเรือหลวง ็ ็ ี ่ 1 ชุมพรให้แก่จังหวัดชุมพร...

ค ากล่าวข้างต้นนี้ยังได้แสดงให้เห็นว่า กองทัพเรือมุงหวังให้เรือหลวงชุมพรเปน ็ ่ สื่อกลางความสัมพันธ์อันดระหว่างตนเองกับชาวชุมพรฯ และเปนอนุสรณ์ทีจะถ่ายทอดพระเกยรต ิ ี ็ ่ ี ่ คุณของกรมหลวงชุมพรฯทีทรงมีตอกองทัพเรือ ให้ชาวชุมพรเห็นความส าคัญของกองทัพเรือ เพือ ่ ่ ่ ็ ยกสถานะของกองทัพเรือให้เปนทียอมรับในสังคม ่ เราจะเห็นได้ว่า พื้นทีหาดทรายรีเปนพื้นทีบรรจุความทรงจ าทั้งเรื่องข้อเท็จจริง ่ ็ ่ ื ี ่ ิ ิ ในฐานะสถานทสิ้นพระชนม์ของกรมหลวงชุมพรฯและเรองความศรัทธาความศักด์สิทธ์จากความ ่ ็ ่ ุ เชือการด ารงอยูของพระวิญญาณ รวมทั้งกรมหลวงชุมพรฯทรงได้รับการสร้างเปนวีรบุรษทาง ่ ิ วัฒนธรรมมาก่อนหน้า เมือกองทัพเรือประสงค์จะสร้างประวัตศาสตร์ร่วมกับชาวชุมพร กองทัพได้ใช้ ื ่ ็ ี ่ ่ วิธการคล้ายคลึงกับทีด าเนินการทีปากน ้าประแส นันคอ การน าเสนอคุณสมบัติความเปนทหารเรือ ิ นักปฏิรปกับพระเกยรตคุณของกรมหลวงชุมพรฯ สร้างความร้ความเข้าใจร่วมกับชาวบ้าน เพือให้ ู ู ่ ี ชาวบ้านยกย่องเชิดชูพระองค์ด้วยมุมมองเดียวกับกองทัพเรือ และเห็นความส าคัญของกองทัพเรือ ิ ็ ่ ในฐานะพระกรณยกิจทีพระองค์ทรงทุมเทให้สร้างขึ้นจนส าเร็จ ขณะเดียวกัน กอธบายความผูกพัน ่ ี ็ ี ่ ่ ่ ่ ระหว่างกองทัพเรือกับชาวชุมพรทีด าเนินตอเนืองมาตลอดตั้งแตอดต เพือแสดงความเปนพวกพ้อง ่ เดยวกัน วิธการข้างต้นนี้ท าให้กรมหลวงชุมพรฯได้รับการสถาปนาขึ้นเปนวีรบุรษทางวัฒนธรรม ี ุ ็ ี ่ อย่างมันคงพร้อมความสัมพันธ์ระหว่างกองทัพเรือกับชาวชุมพร ุ ็ การทีกองทัพเรือเข้ามามีส่วนร่วมในการสร้างกรมหลวงชุมพรฯขึ้นเปนวีรบุรษทาง ่ ่ ่ วัฒนธรรมของประชาชนท้องถินทั้งสองแห่งนี้เปนความพยายามของกองทัพเรือทีจะสร้าง ็ ื ุ ื ่ ประวัตศาสตร์ร่วมกับท้องถินผ่านการนับถอวีรบุรษคนเดียวกัน คอ กรมหลวงชุมพรฯ เราจะเห็นได้ ิ ่ ็ ว่า ท้องถินทั้งสองแห่งได้ริเริ่มสร้างกรมหลวงชุมพรฯขึ้นเปนวีรบุรษทางวัฒนธรรมตั้งแต่แรก ขณะที ่ ุ ่ ่ กองทัพเรือเข้ามามีส่วนสนับสนุนความเชือความศรัทธาของประชาชนท้องถินตามการเรียกร้อง ใน ิ ิ ี โอกาสนี้กองทัพเรือหยิบยกคุณสมบัตกับพระเกยรตคุณของกรมหลวงชุมพรฯด้านความเปน ็ ู ทหารเรือนักปฏิรปน าเสนอแก่ประชาชน สร้างความร้ความเข้าใจร่วมกันในเรื่องความส าคัญของ ู กรมหลวงชุมพรฯต่อกองทัพเรือ โดยมุ่งหวังทีจะให้ประชาชนเห็นคุณค่าของกองทัพเรือและยอมรับ ่ ่ ิ ในฐานะราชการส าคัญของชาต ขณะเดยวกัน กองทัพเรือก็ผูกสัมพันธ์กับประชาชนท้องถินใหม่ ี

1 อนุสรณ์การมอบเรือหลวงชุมพร ณ หาดทรายรี จังหวัดชุมพร 27 กันยายน 2523. (2523). หน้าค า กล่าวของประธานในพิธมอบเรือหลวงชุมพรให้จังหวัดชุมพร ี

136

่ ่ ็ ี ิ ่ ด้วยการอธบายถึงสายสัมพันธ์กองทัพเรือกับประชาชนท้องถินมีมาแตอดต เพือสร้างความเปน ี ี ี พวกพ้องเดยวกัน และโน้มน้าวให้ประชาชนมองกองทัพเรือในแง่ด อกทั้งได้ยอมรับเรื่องราว ิ ิ อทธปาฏิหาริย์ตาง ๆ เกยวกับกรมหลวงชุมพรฯ โดยมีทัศนคตมองว่า แม้เรื่องราวอทธปาฏิหาริย์ ิ ี่ ่ ิ ิ 1 ่ ็ เหล่านี้จะเกินจริง แต่ก็เปนเครื่องสะท้อนถึงความเลื่อมใสศรัทธาทีผู้คนมีต่อพระองค์ อย่างไรก็ตาม ผู้วิจัยได้ตั้งข้อสังเกตว่า กองทัพเรือร่วมน าเสนอเรื่องราวอิทธปาฏิหาริย์ ิ ี ิ ี่ ู ่ เกยวกับกรมหลวงชุมพรฯในงานเขียนอนุสรณ์งานพิธประดษฐานพระรปทีปากน ้าประแส พ.ศ. 2512 เพือแสดงถึงการยอมรับความเชือความศรัทธาของชาวปากน ้าประแสทีมีตอพระองค์ และ ่ ่ ่ ่ ่ สร้างน ้าหนักการโน้มน้าวมากขึ้น แตในงานเขียนอนุสรณ์การมอบเรือหลวงชุมพร พ.ศ. 2523 และ ิ งานเขียนทีระลึกงานเทิดพระเกยรตกรมหลวงชุมพรฯ พ.ศ. 2528 กองทัพเรือมิได้น าเสนอเรื่อง ่ ี ่ ี ่ ี ิ ่ ิ ิ ี ี อทธปาฏิหาริย์ใด ๆ ทั้งทพื้นทหาดทรายรได้รับการจดจ าในฐานะพื้นทศักด์สิทธ์ตามความเชือของ ิ ่ ิ ่ ่ ชาวชุมพร เมือพิจารณาถึงบริบททีรัฐส่วนกลางก าลังสร้างอุดมการณ์ของชาตขึ้นใหม่ตั้งแตช่วง ่ ่ ่ ่ ปลายทศวรรษ 2520 และให้คุณคาตอสถาบันพระมหากษัตริย์ในฐานะสถาบันทีสร้างประโยชน์สุข ิ ี ิ ็ ต่อสังคม จึงเปนไปได้ว่า กองทัพเรือเลือกน าเสนอคุณสมบัตและพระเกยรตคุณของกรมหลวงชุมพร ฯให้สอดคล้องกับอุดมการณ์ของชาต เพือจะเริมเชิดชูพระองค์ขึ้นสู่สถานะใหม่คอ วีรบุรษแห่งชาติ ิ ื ่ ุ ่ ู ่ หรือ “พระบิดาของกองทัพเรือไทย” อันเปนพระเกยรติยศทีรับร้แพร่หลายในสังคมไทย ็ ี

ั ิ ุ ิ ื ็ 3. การเชดชูกรมหลวงชมพรฯขึ้นเปน “พระบดาของกองทพเรอไทย” ทศวรรษ 2530 ภายใต้บริบทการเมืองใหม่ทีรัฐส่วนกลางสร้างขึ้นเพือยกสถาบันพระมหากษัตริย์ให้ ่ ่ ได้รับการยอมรับในสังคมวงกว้างและสร้างความมันคงแก่สถาบัน กองทัพเรือได้สร้างกรมหลวง ่ ็ ชุมพรฯให้สอดคล้องบริบทน้และผลักดันให้พระองค์ขึ้นเปน “พระบิดาของกองทัพเรือไทย” ใน พ.ศ. ี ่ ็ 2536 ทหารเรือได้ใช้ค าว่า “พระบิดา” เปรียบเปรยคุณคาของพระองค์อย่างไม่เปนทางการมา ่ ตั้งแต่ทศวรรษ 2500 และมิได้มีความหมายตายตัว เช่น เปรียบเปรยพระอัธยาศัยทีทรงรักใคร่คลุก คลีใกล้ชิดกับทหารเรือผู้น้อยประดุจบิดากับบุตร หรือเปรียบเปรยพระกรณยกิจของพระองค์ทีทรง ่ ี ็ ิ ึ ประสบความส าเร็จในการฝกหัดทหารเรือไทยให้มีความร้ความสามารถในการเดนเรือได้เปนครั้ง ู แรก เปนต้น จนกระทังใกล้ทศวรรษ 2530 นิยามความหมายของ “พระบิดา” เริมได้รับการนิยาม ็ ่ ่ ชัดเจนถึงการเปนผู้วางรากฐานกองทัพเรือไทย และได้นิยามชัดเจนเมือกองทัพเรือประกาศเฉลิม ็ ่ พระเกยรตยศพระองค์ขึ้นเปน “พระบิดาของกองทัพเรือไทย” ใน พ.ศ. 2536 โดยให้ความหมายว่า ็ ี ิ

1 ส านักงานเลขานุการกองทัพเรือ. (2516, พฤษภาคม). พระประวัติ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวง ชุมพรเขตรอุดมศักดิ์. ใน นาวิกศาสตร์. 56(5): 51.

137

่ ่ พระองค์ “ทรงริเริมวางรากฐานกิจการทหารเรือให้มีความเข้มแข็ง มันคง มีสมรรถภาพ ท าให้ 1 ่ ็ ่ กิจการกองทัพเรือมีความเจริญก้าวหน้าเปนทีประจักษ์ทัวไปมาจนทุกวันนี้” ี ในการสร้างกรมหลวงชุมพรฯและผลักดันพระองค์ข้างต้น กองทัพเรือได้ใช้วิธการสอง ่ ิ ประการทีด าเนินไปพร้อมกัน ได้แก่ การเลือกสรรน าเสนอคุณสมบัตของพระองค์ และการสร้าง ี่ ่ อนุสรณ์สถานระลึกถึงพระองค์เพือถ่ายทอดความร้ความเข้าใจเกยวกับพระองค์ ู 3.1 การปะทะแข่งขันในการเชิดชูวีรบุรษผูก่อตั้งกองทพเรอไทยก่อนทศวรรษ 2530 ั ุ ้ ื ็ ในการผลักดันให้กรมหลวงชุมพรฯทรงสามารถขึ้นเปน “พระบิดาของกองทัพเรือ” ได้นั้น ู กองทัพเรือเริมสร้างและตอกย ้าการรับร้ตัวตนของพระองค์ในฐานะทหารเรือนักปฏิรปทั้งภายใน ่ ู กองทัพเรือเองและต่อสังคม กองทัพเรือจึงด าเนินการเลือกสรรคุณสมบัติของกรมหลวงชุมพรฯทีจะ ่ ่ ่ น าเสนอตอทั้งภายในกองทัพเรือและในสังคม เพือสร้างความร้ความเข้าใจร่วมกันถึงความส าคัญ ู ่ ่ ิ และพระเกยรตคุณของพระองค์ทีทรงมีตอกองทัพเรือ รวมถึงให้สอดคล้องกับบริบททางการเมือง ี ณ ช่วงเวลานี้ ่ บริบทการสร้างอุดมการณ์ของชาตขึ้นใหม่เข้ามาก ากับบทบาทและคุณคาของ ิ ่ ่ ่ สถาบันพระมหากษัตริย์ในฐานะสถาบันทีสร้างคุณประโยชน์ตอประเทศชาตตอเนืองมานับตั้งแต ่ ิ ่ อดต ท าให้กรมหลวงชุมพรฯในฐานะเชื้อพระวงศ์แห่งราชวงศ์จักรีจ าเปนต้องได้รับการให้คุณคา ี ่ ็ ใหม่สอดคล้องกับอุดมการณ์นี้ งานเขียนพระประวัตกรมหลวงชุมพรฯโดยกองทัพเรือและงานเขียน ิ ทีกองทัพเรือมีส่วนร่วมผลิตในช่วงทศวรรษ 2530 จึงพยายามขับเน้นคุณสมบัติความเปนทหารเรือ ่ ็ ่ ู ่ นักปฏิรป เช่น พระปรีชาสามารถด้านทหารเรือ, ความมุงมันตั้งพระทัยสร้างความเจริญแก่ ทหารเรือ, ความรักใคร่ห่วงใยทหารเรือ และความรักชาติ พร้อมกันนี้ก็น าเสนอพระทัยของพระองค์ ทีทรงมุ่งหวังสร้างประโยชน์ต่อมวลชนด้วย ่ ิ ิ ี วิธการขับเน้นคุณสมบัตทีน ามาใช้ในงานเขียนพระประวัตโดยกองทัพเรือช่วงเวลานี้ ่ มีอย่างน้อยสามประการ ประการแรกคอ การผลิตซ ้าเรื่องราวพระกรณยกิจด้านกิจการทหารเรือ ื ี จากงานเขียนพระประวัตก่อนหน้า โดยด้านหนึ่งน าเสนอเรื่องราวแม่บทความเปลี่ยนแปลงของ ิ ่ ่ ิ ่ ่ กิจการทหารเรือไทยจากกิจการทีชาวตางชาตเปนผู้ด าเนินการไปสูกิจการทีด าเนินการโดย ็ ่ นายทหารเรือไทย และอธบายถึงพระปรีชาสามารถกับพระเกยรตคุณของกรมหลวงชุมพรฯทีทรง ิ ี ิ วางรากฐานกิจการทหารเรือหลายด้าน และท าให้กิจการทหารเรือไทยมีความเจริญก้าวหน้า

์ 1 พลเรือตรี กรีฑา พรรธนะแพทย์. (2537). นานไปเขาไม่ลืม...วันอาภากร. ใน อนุสรณท่านหญิงเริง. หน้า 355.

138

ิ ่ ่ ่ ิ ี ทัดเทียมนานาชาต เพือแสดงพระเกยรตคุณทีทรงมีตอกองทัพเรือไทยและสะท้อนถึงความส าคัญ ของกองทัพเรือทีมีต่อประเทศชาต ิ ่ ตัวอย่างเช่น ในบทความเรื่อง “เกร็ดพระประวัติพลเรือเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรม ี ิ หลวงชุมพรเขตรอุดมศักด์” โดยกองบรรณาธการวารสารนาวกศาสตร์ ตพิมพ์ลงในวารสาร นาวิก ิ ิ ่ ี ็ ศาสตร์ ปที 74 ฉบับเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2534 ได้ยกเรื่องราวพระกรณยกิจด้านทหารเรือขึ้นเปน ี หัวเรื่องเฉพาะและน าเสนอเรื่องราวแม่บทความเปลี่ยนแปลงของกิจการทหารเรือไทยจากกิจการที ่ ็ ่ ่ ิ จ าเปนต้องจ้างชาวตางชาตไปสูกิจการทีด าเนินการโดยนายทหารเรือไทย โดยอธบายเหตุแห่ง ิ ่ ่ ความส าเร็จนี้มาจากการปฏิรปของกรมหลวงชุมพรฯที “พระองค์ได้ทรงวางระเบียบแบบแผนต่าง ๆ ู ของทหารเรือ ปรับปรงวิชาการฝายทหารเรือ และวิชาช่างกลให้เจริญมากขึ้น และทรงจัดการศึกษา ุ ่ ็ ทางยุทธศาสตร์ และยุทธวิธกระบวนรบ จนนายทหารเรือไทยมีความร้ความช านาญสามารถเปน ู ี ็ ผู้บังคับบัญชาทหารและเปนครได้” อกทั้งพระองค์ทรงแสดงวิสัยทัศน์เลือกสัตหีบเปนทีตั้งฐาน ็ 1 ี ู ่ ่ ทัพเรือ และขอพระราชทานพื้นทีนี้จากพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว พระปรีชาสามารถ ็ ของพระองค์ด้านวิสัยทัศน์นี้เปนทีประจักษ์เมือสหรัฐอเมริกาได้เลือกสัตหีบเปนฐานส่งก าลังบ ารง ่ ่ ุ ็ ่ และขอสร้างสนามบินทอู่ตะเภา ี ี นอกจากความส าเร็จในด้านพระกรณยกิจแล้ว พระอัธยาศัยของกรมหลวงชุมพรฯที ่ ทรงมีตอทหารเรือก็ได้รับการขับเน้นด้วย พระอัธยาศัยทีได้รับการหยิบยกขึ้นมาคอ ความรักใคร่ ่ ่ ื ่ ห่วงใยทีทรงมีตอทหารเรือ และการไม่ถอพระองค์อยูเหนือกว่าทหารเรือผู้อน โดยส่วนหนึ่งผลิตซ ้า ่ ื ่ ื ่ ิ หรือขยายความจากเรื่องราวพระประวัตบางเรื่องทีเคยเผยแพร่ในงานเขียนก่อนหน้า เช่น เรื่องการ ่ ื ิ ตั้งแผนกฌาปนกจทหารเรอน าเสนอพระด าริททรงให้ความส าคัญตอศักด์ศรของทหารเรอทควร ิ ื ี ี ่ ่ ่ ี ได้รับเท่าเทียมกับกองทัพเหล่าอน โดยทรงตั้งแผนกฌาปนกิจนี้ขึ้นและบริจาคเงินสนับสนุนเพือจัด ่ ่ ื ่ ่ ึ ี ี ิ พิธศพแก่ทหารเรือทีเสียชีวิตให้ได้รับการยกย่องเกยรตยศ และเรื่องการฝกหัดทหารเรือทีบางพระ ิ ื ่ ่ น าเสนอพระอัธยาศัยของพระองค์ทีไม่ทรงถอพระองค์ โดยทรงโปรดให้ชาวบ้านบางพระปฏิบัตตอ ่ ื ่ ื ่ พระองค์เช่นเดียวกับทหารเรือคนอน เมือทรงรับข้าวห่อจากชาวบ้าน ก็ทรงน ามารวมกับข้าวห่ออน ๆ ็ ทีทหารเรือได้รับมา และเลือกหยิบด้วยพระองค์เอง รวมทั้งพระองค์ทรงแสดงความเปนกันเองกับ ่

1 กองบรรณาธการวารสารนาวิกศาสตร์. (2534, พฤษภาคม). เกร็ดพระประวัติพลเรือเอก พระเจ้า ิ บรมวงศ์เธอ กรมหลวงชุมพรเขตรอุดมศักดิ์. ใน นาวิกศาสตร์. 74(5): 6.