24 ม.16 ถ.อ นทราวาส4 แขวนบางระมาด เขตตล งช น กทม

ตารางที่ 1-4 จาํ นวนชุมชน หนว ยอยูอาศยั แบบประเมินผล และแบบสอบถาม ชมุ ชนเขมแขง็ พงึ่ พาตนเองอยา งยัง่ ยืน

ชุมชนเขมแขง็ พึ่งพาตนเองอยา งย่ังยนื จาํ นวนชมุ ชน หนว ยอยูอาศยั จํานวน (ระดบั ท่ี 3) (แบบประมวลผล) แบบสอบถาม อาคารชดุ อาคารแนวราบ ชมุ ชนในพน้ื ท่ี กรุงเทพฯ - ปริมณฑล 14 1,316 10,432 687

ชุมชนในพน้ื ท่ี ภมู ภิ าค 35 4,461 9,313 2,094

รวม 49 14,893 10,000 3,410

ชช.1 4 0 1,497 250

ชช.2 15 4,053 3,374 1,006

ชช.3 8 0 2,222 400

ชช.4 22 10,840 2,907 1,754

รวม 49 14,893 10,000 3,410

การจัดเกบ็ ขอ มูลจากแบบสอบถามหรอื แบบดจิ ติ อลจากผอู ยูอ าศยั ในแตละชุมชนมหี ลักเกณฑด ังนี้ 1. จํานวนหนว ย 1-500 หนวย เกบ็ แบบสอบถาม 50 ชุด 3. จํานวนหนว ยตั้งแต 1,001 หนวยข้นึ ไป เก็บ 2. จาํ นวนหนว ย 501-1,000 หนว ย เก็บแบบสอบถาม 100 ชดุ แบบสอบถาม 10% แตไมเ กิน 400 ชดุ

1.4 วิธีการดาํ เนินงาน 1.4.1 ศึกษาจากแหลงขอมูล ประกอบดวย ขอมูลรายงานผลการศึกษา สถิติท่ีเกี่ยวของกับการประเมินผล

โครงการประเมนิ ผลระดบั ความสาํ เรจ็ ในการพัฒนาชมุ ชนเขมแข็งพึ่งพาตนเองอยางยั่งยืนของปท่ีผาน ๆ มา ตลอดจน นโยบาย/แผนงานของรฐั บาล

1.4.2 ศึกษาจากแหลงกลุมเปาหมาย ไดแก ประชากรผูอยูในพ้ืนที่เปาหมายท่ีเขารวมกิจกรรมตามตัวช้ีวัด ชมุ ชนเขมแข็งพึ่งพาตนเองอยางย่งั ยืน ผูบริหารเคหะจังหวัด/นครหลวง ผูปฏิบตั ิงานดา นการบริหาร/พัฒนาชุมชนใน พนื้ ทเี่ ปาหมาย และภาคีรวมพฒั นาทีเ่ กี่ยวของ

1.4.3 ในการสัมภาษณ การสํารวจ การจัดเก็บขอมูลภาคสนาม แบบดิจิตอล จากประชากรกลุมเปาหมาย ตามขอ 1.4.2 คณะที่ปรึกษาเปนผูนําเสนอวิธีการสัมภาษณ การสํารวจ การจัดเก็บขอมูลภาคสนาม รวมถึงการสุม ตัวอยางท่ีเหมาะสม โดยใชแบบประเมินและแบบสอบถามที่การเคหะแหงชาติกําหนด ไดแก แบบประเมินผลชุมชน เขม แขง็ พึ่งพาตนเองอยางยัง่ ยนื ระดบั ที่ 3 (ภาพท่ี 1) และแบบสอบถามผูอ ยอู าศัยในชมุ ชนระดบั ที่ 3 (ภาพท่ี 2)

1.4.4 คณะท่ีปรึกษาไดดําเนินการประเมินชุมชน ตามตารางที่ 1-2 ถึง 1-4 ทั้งนี้การเคหะแหงชาติไดเปนผู กําหนดวันและเวลาในการลงพน้ื ทป่ี ระเมนิ ชมุ ชน

1.4.5 คณะทป่ี รกึ ษาไดด าํ เนินการประมวลผลวเิ คราะห สงั เคราะห และสรปุ ผล ตามตารางที่ 1-2 ถงึ 1-4 1.4.6 ในการปฏิบตั ิงานในพืน้ ทท่ี ุกครัง้ คณะที่ปรึกษาไดแ จงใหการเคหะแหงชาติทราบลวงหนาไมนอยกวา 5 วันทําการ และการเคหะแหงชาติไดมอบหมายใหผูปฏิบัติงานของการเคหะแหงชาติเขารวมสังเกตการณการเก็บ รวบรวมขอมูลในภาคสนามตามทเ่ี ห็นสมควร โดยการเคหะแหงชาติเปนผูรับผิดชอบคาใชจายในสวนของผูปฏิบัติงาน ของการเคหะแหง ชาติทัง้ หมด 1.4.7 คณะท่ีปรึกษาไดจ ัดใหมีผูประสานงาน และ/หรือ ผูชวยวิจัย 1 คน ทําหนาที่ ตดิ ตอ ติดตาม รวบรวม ขอมูล เอกสาร และอ่ืน ๆ ทเ่ี กยี่ วของในการประสานงานกับสํานกั งานเคหะจังหวัด/นครหลวง

1.5 ผลท่ีไดรับ 1.5.1 การเคหะแหงชาติมีรายงานการประเมินผลระดับความสําเรจ็ ในการพัฒนาชุมชน ตามตัวชว้ี ัดชุมชน

เขมแข็งพงึ่ พาตนเองอยา งยั่งยืนของการเคหะแหงชาติ ระดบั ที่ 3 ชมุ ชนเขม แขง็ พัฒนาตนเองอยางย่งั ยนื 1.5.2 การเคหะแหงชาติมีขอมูลสําหรับพัฒนาคณุ ภาพชีวิตของผูอยูอาศัยในชุมชนใหดีย่ิงข้ึน ตรงตามความ

ตองการของชุมชน และสอดคลองกบั ตัวชีว้ ดั ชมุ ชนเขม แข็งพึ่งพาตนเองอยา งยง่ั ยืน ของการเคหะแหงชาติ

4

ภาพที่ 1-1 แบบประเมนิ ผลชมุ ชนเขมแข็งพ่งึ พาตนเองอยางย่ังยืน ระดับท่ี 3

แบบประเมินผลชุมชนเขมแข็งพ่งึ พาตนเองอยางยัง่ ยนื (ระดบั ที่ 3)

คะแนนสว นท่ี 1 : การประเมนิ โดยผูเชย่ี วชาญโดยใชแ บบประเมิน (3 มิติ มิติละ 20 คะแนน รวม 60 คะแนน)

มิติตวั ช้วี ัด

มิติผนู ําและการบรหิ ารจดั การชมุ ชน (Management: 20 คะแนน) เกณฑการใหคะแนน

M1: การทํางาน/การใหบ รกิ ารตอ ชุมชนของคณะกรรมการมีการรบั ฟง ความคิดเห็นจากผอู ยูอาศยั 0 0.5 1 1.5 2 คะแนน และนําขอคิดเห็น มาปรับปรุงการทาํ งานอยา งตอ เนอ่ื งสม่ําเสมอ (10 คะแนน) ทีไ่ ด (ประเมินหลกั ฐานการดาํ เนินการใน 5 ประเดน็ ดา นลาง)

• มชี องทางรบั ฟง ความคดิ เหน็ จากผอู ยอู าศัยมากกวา 1 ชอ งทาง

• มีการประชาสัมพันธช องทางแสดงความคดิ เห็นใหผอู ยอู าศยั ไดรับทราบ

• มีการประชุม/วเิ คราะห/พจิ ารณาขอ คดิ เหน็ /ขอ เสนอแนะทไ่ี ดร บั จากผอู ยอู าศยั 0 0.5 1 1.5 2 คะแนน • มกี ารนําขอ คดิ เห็นมาใชใ นการปรับปรุงการทํางาน/การใหบริการ ทีไ่ ด

• มกี ารทํางานในลักษณะตอยอด/ปอ งกนั นอกเหนือจากการแกไขปญหา

M2: มีการดาํ เนนิ โครงการ/จดั กิจกรรมชมุ ชนท่ีครอบคลุมผูอยอู าศัยกลุม ตาง ๆโดยไดร บั ความ รว มมือ จากภาคีเครอื ขายในภาคสว นตา งๆ (10 คะแนน) (ประเมินหลกั ฐานการดาํ เนนิ การใน 5 ประเด็นดา นลาง)

• มกี ารจัดกจิ กรรมภายในชมุ ชนตลอดท้ังปไมน อยกวา 6 กจิ กรรม • มกี ารจัดกิจกรรมเพ่อื ประโยชนชุมชนในลกั ษณะอืน่ ๆนอกเหนือจากกิจกรรมวันสําคญั หรอื กิจกรรม ตามประเพณี • มีการจัดกิจกรรมชุมชนท่คี รอบคลุมผูอ ยอู าศัยอยา งนอ ย 2 กลมุ เชน กลมุ เยาวชน กลุมผูสูงวยั กลมุ ครอบครัว กลุมคนทํางาน • มกี ารประเมินผลกิจกรรมทจ่ี ดั ในแตล ะคร้งั เพอ่ื ปรับปรงุ การจดั กิจกรรมในครัง้ ตอๆไป

• มีภาคเี ครอื ขายเขารว มกจิ กรรมไมนอ ยกวา รอยละ 50 ของจาํ นวนกิจกรรมที่จัด

มิติเศรษฐกจิ (Economic: 20 คะแนน) เกณฑก ารใหคะแนน

E1: การยกระดับเศรษฐกจิ ภายในชมุ ชน(10 คะแนน) 0 0.5 1 1.5 2 คะแนน (ประเมนิ หลกั ฐานการดาํ เนินการใน 5 ประเดน็ ดา นลา ง) ที่ได • มพี ื้นท/ี่ ระบบเพื่อสรางและสนับสนุนผปู ระกอบการในชุมชน

• มผี ปู ระกอบการในชุมชนที่เกดิ จากระบบ/พน้ื ทที่ จ่ี ดั ให

• ผูประกอบการมีการรวมกลุม เพอ่ื สรา งความเขมแขง็

• ผปู ระกอบการสามารถสรา งรายไดจ ากภายนอกชุมชน

• ผูป ระกอบการสามารถสรา งตราสนิ คา/บรกิ ารทเ่ี ปน ของชมุ ชน

5

ภาพท่ี 1-1 แบบประเมนิ ผลชุมชนเขม แขง็ พงึ่ พาตนเองอยางยง่ั ยนื ระดับท่ี 3

มติ ิตวั ช้วี ัด

E2: การยกระดับการออมภายในชมุ ชน(10 คะแนน) 0 0.5 1 1.5 2 คะแนน (ประเมินหลักฐานการดาํ เนนิ การใน 5 ประเด็นดา นลา ง) ทีไ่ ด

• มีกลมุ ออมทรพั ยรูปแบบใดรูปแบบหน่ึงในชุมชน

• มีระบบบนั ทึกบัญชที ต่ี รวจสอบได

• มีการเปด เผยขอมูลผลการดําเนินงานของกลุม ออมทรพั ยต อ สมาชิก/สาธารณชนอยา งนอ ยปล ะ 1 ครั้ง

• มกี ารจดั สรรเงินจากกลุมออมทรัพยมาชว ยกจิ กรรมพฒั นาชุมชน • มกี ารลงทนุ /หารายไดจากภายนอกชุมชนทีม่ ากกวาการนําเงนิ ไปฝากธนาคาร

มิติคุณภาพชวี ติ และส่งิ แวดลอ ม (Quality of Life: 20 คะแนน) เกณฑการใหค ะแนน Q1: การปลอดยาเสพติดและอบายมุข (10 คะแนน) (ประเมนิ หลักฐานการดาํ เนินการใน 5 ประเด็นดานลาง) 0 0.5 1 1.5 2 คะแนน • มีระบบ/ขัน้ ตอน/กลมุ /ผทู ําหนาที่ตรวจสอบดูแลภายในชุมชน ที่ได

• มีการทํางานประสานรวมกบั หนว ยงานภายนอก เชนตาํ รวจ

• มกี จิ กรรมในเชงิ ปอ งกนั และเสริมสรา งการใชเวลาท่ดี ี

• มีกจิ กรรมรว มกับเครือขา ยภายนอกชุมชนอยางนอ ยปละ 1 ครง้ั

• ไมพบ/ไมมรี ายงานคดสี าํ คัญ/รายแรงทเี่ กิดขน้ึ ภายในชมุ ชน Q2: การจัดการขยะภายในชุมชน (10 คะแนน) (ประเมินหลักฐานการดาํ เนนิ การใน 5 ประเดน็ ดานลาง) • มีระบบจัดการขยะทไี่ มทําใหเกิดมลพษิ หรือความรําคาญ 0 0.5 1 1.5 2 คะแนน • มกี ิจกรรมใหค วามรูและสงเสริมการคัดแยก/จัดการขยะ ทีไ่ ด

• มกี ารทาํ งานประสานรวมกบั หนวยงานภายนอกอยา งเปน ระบบ

• มีระบบ/ข้นั ตอนวธิ กี ารสรางรายไดจ ากการจัดการขยะ

• มีการนํารายไดจ ากขยะมาสนบั สนนุ กิจกรรมชมุ ชน

คะแนนรวม

6

โครงการพัฒนาชมุ ชนเขม แข็งพง่ึ พาตนเองอยา งยั่งยนื ป 2564

ภาพที่ 1-2 แบบสอบถามผอู ยูอ าศยั ระดบั ท่ี 3 (ดา นหนา)

7

โครงการพฒั นาชมุ ชนเขม แข็งพ่ึงพาตนเองอยา งย่งั ยนื ป 2564

ภาพที่ 1-2 แบบสอบถามผอู ยอู าศยั ระดบั ท่ี 3 (ดา นหลัง)

8

โครงการพัฒนาชมุ ชนเขม แข็งพ่ึงพาตนเองอยางย่งั ยนื ป 2564

บทท่ี 2 หลกั การและทฤษฎที ใี่ ชในการดาํ เนนิ โครงการ

ในการเตรียมความพรอมเพ่ือดําเนินโครงการพัฒนาชุมชนเขมแข็งพ่ึงพาตนเองอยางย่ังยืน ป 2564 คณะที่ปรึกษาไดทําการศึกษาขอกําหนดโครงการ ทบทวนทฤษฎีและวรรณกรรมท่ีเกี่ยวของ ศึกษาผลการ ประเมินในปกอนหนา เพื่อสรรหาแนวคิด ทฤษฎี และวิธกี ารตาง ๆ ที่เหมาะสมสาํ หรับนาํ มาใชใ นป 2564 ดังนี้ 2.1 เปา หมายการพัฒนาทย่ี ่ังยืนของสหประชาชาติ

สหประชาชาติไดกาํ หนดวาระการพัฒนาภายหลังป พ.ศ.2558 (Post-2015 Development Agenda) ตามกระบวนทัศน “การพัฒนาทยี่ ั่งยืน” โดยประเด็นสําคัญของวาระการพัฒนาภายหลังป พ.ศ.2558 คือ การ จดั ทาํ เปาหมายการพัฒนาท่ยี ัง่ ยืน (Sustainable Development Goals–SDGs) 17 เปาหมาย (ภาพที่ 3) ภาพที่ 3 เปาหมายการพฒั นาท่ียั่งยนื ของสหประชาชาติ

9

โครงการพัฒนาชุมชนเขมแข็งพ่ึงพาตนเองอยา งยง่ั ยืน ป 2564

การเคหะแหงชาตเิ ปนองคก รท่มี สี วนเกย่ี วของกับเปาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน 17 ขอน้ี ท้ังทางตรงโดย ผานภารกิจหลกั ดานการพัฒนาอสังหาริมทรัพยเ พื่อผูมีรายไดนอย และทางออมโดยผานโครงการพัฒนาชุมชน ตา งๆ เชน โครงการประเมินผลระดับความสําเร็จในการพัฒนาชุมชนเขมแข็งพ่ึงพาตนเองอยางยั่งยนื เปาหมาย การพัฒนาทย่ี ัง่ ยืน เปาหมายทัง้ 17 น้ี ไดแ ก 1. ขจัดความยากจน (No Poverty) 10. ลดความเหล่ือมลํา้ ทัง้ ภายในและระหวา งประเทศ 2. ขจัดความอดอยากสรา งความมั่นคงทางอาหาร (Reduced Inequality) (Zero Hunger) 11. สรางเมอื งและการตั้งถิ่นฐานทป่ี ลอดภัย 3. สงเสรมิ ความเปน อยูท ่ดี ขี องทกุ คน (Sustainable Cities and Communities) (Good Health and Well-being) 12. สรางรปู แบบการผลิตและการบริโภคทีย่ ่ังยืน 4. สง เสริมโอกาสในการเรยี นรู (Quality Education) (Responsible Consumption and Production) 5. สรา งความเทา เทยี มทางเพศสตรีและเด็กหญิงทุกคน 13. ดาํ เนนิ การอยางเรงดว นเพอื่ แกป ญหาโลกรอ น (Gender Equality) (Climate Action) 6. จดั การนํ้าอยา งย่งั ยืนและพรอ มใชส าํ หรบั ทกุ คน 14. อนรุ ักษแ ละใชป ระโยชนจากทรพั ยากรทางทะเลอยา งย่งั ยนื (Clean Water and Sanitation) (Life below Water) 7. ใหท ุกคนเขา ถงึ พลังงานท่ียงั่ ยนื ไดต ามกาํ ลังของตน 15. สงเสริมการใชประโยชนทยี่ ่ังยนื ของระบบนเิ วศนบนบก (Affordable and Clean Energy) (Life on Land) 8. สง เสริมการเจรญิ เติบโตทางเศรษฐกจิ ทยี่ งั่ ยนื 16. สงเสริมสันตภิ าพและการเขา ถงึ ระบบยุตธิ รรมอยา งเทาเทียม (Decent Work and Economic Growth) (Peace Justice and Strong Institutions) 9. สง เสริมอตุ สาหกรรมที่ย่งั ยนื และนวัตถกรรม 17. สรางความรว มมือระดับสากลตอการพฒั นาที่ยัง่ ยนื (Industry Innovation and Infrastructure) (Partnership for the Goals)

สําหรับเปาหมายการพัฒนาท่ีย่งั ยืนของสหประชาชาติ (SDGs) ทส่ี ามารถเช่ือมโยงไปยงั ตัวช้ีวัดของโครงการ พฒั นาชมุ ชนเขม แข็งพง่ึ พาตนเองอยางยง่ั ยนื มดี งั ตอไปน้ี (ภาพที่ 4)  เปาหมายที่ 1 ขจัดความยากจน (No Poverty) ภารกิจ  เปาหมายที่ 11 สรางเมืองและการต้ังถิ่นฐานที่ปลอดภัย หลกั ของการเคหะแหงชาติคือการพัฒนาอสังหาริมทรัพย (Sustainable Cities and Communities) ผานโครงการ คอื การมุง เนนใหผ ทู มี่ ีรายไดน อยสามารถเปนเจาของที่อยู พัฒนาตาง ๆ ทที่ าํ ใหชุมชนมคี วามเขมแขง็ และสามารถพึ่งพา อ า ศั ย แ ล ะ ส ง เ ส ริ ม ใ ห ชุ ม ช น มี ส ถ า น ที่ สํ า ห รั บ ตนเองอยางยัง่ ยนื ผูประกอบการ และรวมตัวเปน กลมุ อาชพี  เปา หมายท่ี 12 สรางรปู แบบการผลิตและการบริโภคที่ย่ังยืน  เปา หมายที่ 3 สงเสรมิ ความเปนอยูที่ดีของทุกคน (Good (Responsible Consumption and Production) โครงการ Health and Well-being) ผานกิจกรรมดานตาง ๆ ดานเศรษฐกิจถือเปนการสงเสริมการบริโภคและการผลิต โดยเฉพาะดานกีฬา การปลอดยาเสพติด และการปลอด การสนับสนุนใหมีกลุมออมทรัพย เปนการสงเสริมใหการ อาชญากรรมรา ยแรง บรโิ ภคและการผลติ เปน ไปอยางมีความรบั ผดิ ชอบ

 เปาหมายที่ 4 สงเสริมโอกาสในการเรียนรู (Quality  เปาหมายท่ี 13 ดําเนินการอยางเรงดวนเพ่ือแกปญหาโลก Education) กิจกรรมตาง ๆ ถือเปนการเรียนรูและเปน รอน (Climate Action) โครงการดานส่ิงแวดลอม การใหมี องคประกอบหน่งึ ของระบบการศกึ ษา พ้นื ทีส่ เี ขียว ถือเปนสวนหนึ่งที่ชวยเร่ืองการเปล่ียนแปลงของ สภาพอากาศ  เปาหมายท่ี 8 สงเสริมการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจที่ ย่ังยืน (Decent Work and Economic Growth) ผาน  เปาหมายท่ี 15 สงเสริมการใชประโยชนท่ียั่งยืนของระบบ การสนับสนุนพื้นที่สําหรับผูประกอบการ การรวมกลุม นิเวศนบนบก (Life on Land) จากการใหความสําคัญกับ เพื่อประกอบการ การสรางเคร่ืองหมายการคาชุมชน พืน้ ทสี่ เี ขียวภายในชมุ ชน และการสนบั สนุนใหม ีกลมุ ออมทรัพย  เปาหมายท่ี 16 สงเสริมสันติภาพและการเขาถึงระบบ  เปาหมายท่ี 9 สงเสริมอุตสาหกรรมที่ยั่งยืนและนวัตถกร ยตุ ิธรรมอยางเทาเทียมกัน (Peace Justice and Strong รม (Industry Innovation and Infrastructure) Institutions) การใหความสําคญั เรื่องความปลอดภัย ความ โครงการเพือ่ ท่อี ยอู าศัยถอื เปนโครงสรางพน้ื ฐาน รว มมอื กบั ตาํ รวจทอ งที่ และองคการปกครองสว นทอ งถ่นิ

 เปา หมายที่ 10 ลดความเหลื่อมลํ้าทัง้ ภายในและระหวาง  เปาหมายท่ี 17 สรา งความรว มมือระดับสากลตอการพัฒนาท่ี ประเทศ (Reduced Inequality) การมีท่ีอยูอาศัยเปน ย่งั ยืน (Partnerships for the Goals) ผานการสนับสนุน ของตนเอง และโครงการดา นเศรษฐกิจตางๆ ถือเปนการ เพื่อใหชุมชนมีความรวมมือกับภาคเครือขายตาง ๆ ลดความเหล่ือมลํา้

10

ตาราง 2-1 ความเกยี วขอ้ งของตวั ชวี ดั โครงการฯ กับเป้าหมายการพัฒนาทยี งั ยนื (SDGs)

มติ ิ ตวั ชวี ดั เชอื มโยง SDGs คะแนน

M1 มชี อ่ งทางรับฟังความคดิ เห็นจากผอู ้ ยอู่ าศยั มากกวา่ 1 ชอ่ งทาง 3 11 17 2.00

M1 มกี ารประชาสมั พันธช์ อ่ งทางแสดงความคดิ เห็นใหผ้ อู ้ ยอู่ าศัยไดร้ ับทราบ 3 11 17 2.00

M1 มกี ารประชมุ /วเิ คราะห/์ พจิ ารณาขอ้ คดิ เห็น/ขอ้ เสนอแนะทไี ดร้ ับจากผอู ้ ยอู่ าศัย 3 11 17 2.00

M1 มกี ารนําขอ้ คดิ เห็นมาใชใ้ นการปรับปรงุ การทาํ งาน/การใหบ้ รกิ าร 3 11 17 2.00

M1 มกี ารทาํ งานในลกั ษณะตอ่ ยอด/ป้องกนั นอกเหนอื จากการแกไ้ ขปัญหา 3 11 17 2.00

M2 มกี ารจัดกจิ กรรมภายในชมุ ชนตลอดทงั ปีไมน่ อ้ ยกวา่ 6 กจิ กรรม 4 11 2.00

M2 มกี ารจดั กจิ กรรมเพอื ประโยชนช์ มุ ชนในลกั ษณะอนื ๆ นอกเหนอื จากวนั สาํ คญั /ตามประเพณี 4 11 2.00

M2 มกี ารจัดกจิ กรรมทคี รอบคลมุ ผอู ้ ยอู่ าศยั อยา่ งนอ้ ย 2 กลมุ่ เชน่ กลมุ่ เยาวชน, กลมุ่ ผสู ้ งู วยั ฯลฯ 4 11 2.00

M2 มกี ารประเมนิ ผลกจิ กรรมทจี ดั ในแตล่ ะครังเพอื ปรับปรงุ การจัดกจิ กรรมในครังตอ่ ๆไป 4 11 2.00

M2 มภี าคเี ครอื ขา่ ยเขา้ รว่ มกจิ กรรมไมน่ อ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 50 ของจํานวนกจิ กรรมทจี ดั 11 17 2.00

E1 มพี นื ท/ี ระบบเพอื สรา้ งและสนับสนุนผปู ้ ระกอบการในชมุ ชน 1 8 10 12 2.00

E1 มผี ปู ้ ระกอบการในชมุ ชนทเี กดิ จากระบบ/พนื ทที จี ดั ให ้ 1 8 10 12 2.00

E1 ผปู ้ ระกอบการมกี ารรวมกลมุ่ เพอื สรา้ งความเขม้ แขง็ 1 8 10 12 2.00

E1 ผปู ้ ระกอบการสามารถสรา้ งรายไดจ้ ากภายนอกชมุ ชน 1 8 10 12 2.00

E1 ผปู ้ ระกอบการสามารถสรา้ งตราสนิ คา้ /บรกิ ารทเี ป็ นของชมุ ชน 1 8 10 12 2.00

E2 มกี ลมุ่ ออมทรัพยร์ ูปแบบใดรูปแบบหนงึ ในชมุ ชน 1 8 10 17 2.00

E2 มรี ะบบบนั ทกึ บญั ชที ตี รวจสอบได ้ 1 8 10 17 2.00

E2 มกี ารเปิดเผยขอ้ มลู ผลการดาํ เนนิ งานตอ่ สมาชกิ /สาธารณชนอยา่ งนอ้ ยปีละ 1 ครัง 1 8 10 17 2.00

E2 มกี ารจดั สรรเงนิ จากกลมุ่ ออมทรัพยม์ าชว่ ยกจิ กรรมพัฒนาชมุ ชน 1 8 10 17 2.00

E2 มกี ารลงทนุ /หารายไดจ้ ากภายนอกชมุ ชนทมี ากกวา่ การนําเงนิ ไปฝากธนาคาร 1 8 10 17 2.00

Q1 มรี ะบบ/ขนั ตอน/กลมุ่ /ผทู ้ าํ หนา้ ทตี รวจสอบดแู ลภายในชมุ ชน 11 16 2.00

Q1 มกี ารทาํ งานประสานร่วมกบั หน่วยงานภายนอก เชน่ ตํารวจ 16 17 2.00

Q1 มกี จิ กรรมในเชงิ ป้องกนั และเสรมิ สรา้ งการใชเ้ วลาทดี ี 3 4 2.00

Q1 มกี จิ กรรมร่วมกบั เครอื ขา่ ยภายนอกชมุ ชนอยา่ งนอ้ ยปีละ 1 ครัง 3 17 2.00

Q1 ไมพ่ บ/ไมม่ รี ายงานคดสี าํ คญั /รา้ ยแรงทเี กดิ ขนึ ภายในชมุ ชน 16 17 2.00

Q2 มรี ะบบจดั การขยะทไี มท่ ําใหเ้ กดิ มลพษิ หรอื ความรําคาญ 13 2.00

Q2 มกี จิ กรรมใหค้ วามรแู ้ ละสง่ เสรมิ การคดั แยก/จัดการขยะ 13 2.00

Q2 มกี ารทาํ งานประสานร่วมกบั หน่วยงานภายนอกอยา่ งเป็ นระบบ 13 17 2.00

Q2 มรี ะบบ/ขนั ตอนวธิ กี ารสรา้ งรายไดจ้ ากการจดั การขยะ 8 13 2.00

Q2 มกี ารนํารายไดจ้ ากขยะมาสนับสนุนกจิ กรรมชมุ ชน 8 13 2.00

M3 1.1 การใหบ้ รกิ ารแกผ่ อู ้ ยอู่ าศยั 3 11 17 3.00

M3 1.2 การดแู ลกายภาพและความรม่ รนื ภายในโครงการ 3 11 17 3.00

M3 1.3 การดแู ลใหเ้ ป็ นไปตามกฏระเบยี บ/วฒั นธรรมการอยรู่ ว่ มกันทดี ี 3 11 17 3.00

M3 1.4 การสอื สารและสรา้ งการมสี ว่ นร่วมของชมุ ชน 3 11 17 3.00

M3 1.5 การจดั โครงการและกจิ กรรมเพอื เพมิ คณุ ภาพชวี ติ ในชมุ ชน 3 4 11 3.00

M3 1.6 ความซอื สตั ย์ โปร่งใส มจี รยิ ธรรมในการทาํ งาน 3 11 16 5.00

Q3 2.1 ความสะอาดภายในโครงการ 3 9 15 3.00

Q3 2.2 ไฟฟ้าและแสงสวา่ งในโครงการ 3 7 9 3.00

Q3 2.3 สภาพถนนและการจราจร 3 9 3.00

Q3 2.4 พนื ทสี เี ขยี ว 3 9 15 3.00

Q3 2.5 พนื ทพี ักผอ่ นหยอ่ นใจและออกกําลงั กาย 3 9 15 3.00

Q3 2.6 ระบบการดแู ลความปลอดภัยในชวี ติ และทรัพยส์ นิ 9 16 5.00

ชุมชนตอ้ งไดร้ บั อยา่ งนอ้ ย 70 คะแนนเพอื ผา่ นการประเมนิ ในระดบั ที 3 (ชมุ ชนเขม้ แข็งพงึ พาตนเองอยา่ งยงั ยนื ) เต็ม 100.00

11

โครงการพฒั นาชุมชนเขม แข็งพ่ึงพาตนเองอยางยงั่ ยนื ป 2564

2.2 แนวคิดและทฤษฎีทเ่ี ก่ียวกับความพึงพอใจ

นยิ ามและคําจํากดั ความตา ง ๆ ของ “ความพึงพอใจ” มีดงั ตอไปน้ี Mullinss (1985) ความพึงพอใจเปนเจตคติของบุคคลท่ีมีตอส่ิง Kotler (2000) ความพึงพอใจวาเปนความรูสึกของบุคคลเมื่อ ตางๆ เปนสภาพภายในที่มีความสัมพันธกับความรูสกึ ของบุคคล ไดรับความสุขหรือความผิดหวัง ซึ่งเกิดจากการเปรยี บเทยี บการ ทีป่ ระสบความสาํ เรจ็ ในงานทงั้ ดานปริมาณและคุณภาพ เกิดจาก รับรูกับความคาดหวังในผลลัพธของส่ิงที่ตองการ ถาการรับรูตอ มนุษยจะมีแรงผลักดันบางประการในตัวบุคคล ซึง่ เกิดจากการท่ี สิง่ ทต่ี อ งการพอดีกับความคาดหวงั บคุ คลก็จะเกดิ ความพงึ พอใจ ตนเองพยายามจะบรรลุถึงเปาหมายบางอยาง เพ่ือท่ีจะ Herzberg (2005) ปจจัยจูงใจ (Motivation) เปนปจจัยที่จะ สนองตอบตอความตองการ หรือความคาดหวังที่มีอยู และเม่ือ สรางความพึงพอใจใหคนงาน ไดแ ก เร่อื งการไดรบั ความสําเร็จใน บรรลเุ ปาหมายนั้นแลวจะเกิดความพอใจเปนผลสะทอนกลับไป การทาํ งาน การไดรับการยอมรับจากคนอื่น และโอกาสกาวหนา ยงั จดุ เริม่ ตน เปนกระบวนการหมนุ เวียนตอ ไปอีก ในงาน สวนปจจัยสุขวิทยา (Hygiene) เปนปจจัยท่ีทําใหคนไม Vroom (1994) คําวา ทัศนคติ และ ความพึงพอใจ สามารถใช พอใจในงาน ไดแ ก นโยบายและการบริการของบริษัท การนิเทศ แทนกนั ได เพราะทงั้ สองคํานี้หมายถึงผลจากการที่บุคคลเขาไปมี งานทางเทคนิค และสภาพการทาํ งานท่ัวไป เปนตน สวนรวมในส่ิงน้ัน ทัศนคติดานบวกแสดงใหเห็นสภาพความพึง พจนา นูมหันต และคณะ (2007) ความพึงพอใจเปนอารมณ พอใจ และทศั นคติดา นลบแสดงใหเหน็ สภาพความไมพงึ พอใจ ความรูสึกและทัศคติของบุคคลท่ีสืบเนื่องมาจากสิ่งเราและ พิกลุ สมจติ ต และ ประภาส เกตุแกว (2003) ความพึงพอใจ แรงจูงใจ โดยจะแสดงปรากฏออกมาทางพฤติกรรม เกิดขึ้นเมื่อ หมายถึง อารมณ ความรูสึก และทัศนคติของบุคคลท่ีสืบเนื่อง ความตอ งการไดร ับการตอบสนองและบรรลจุ ุดมุงหมาย (Goals) จากส่ิงเราและแรงจูงใจ โดยจะแสดงออกมาทางพฤติกรรม เปน ท่ีตั้งไวระดับหน่ึง หรือไดผลประโยชนตอบแทนท้ังทางดานวัตถุ ความรูสึกของมนุษยท่ีเก่ียวของกับอารมณจากการไดรับการ และดานจิตใจ ซึ่งสามารถสนองความตองการพ้ืนฐานของเขาได ตอบสนองความตอ งการ ซงึ่ แสดงออกมาทางพฤตกิ รรม ซึ่งสงั เกต และจะรูสกึ มีความสขุ เมือ่ ไดร ับผลสาํ เรจ็ ตามความมงุ หมาย ความ ไดจากสายตา คําพูด และการแสดงออกทางพฤติกรรม ตองการ และแรงจงู ใจ

ดังน้ัน จึงสามารถสรุปไดวา “ความพึงพอใจ” คือความรูสึกที่มีตอการการพัฒนาชุมชนเขมแข็งพึ่งพาตนเอง อยางย่ังยืนขององคกรแกสังคมของการเคหะแหงชาติ โดยมสี ง่ิ เรา บริการสภาพแวดลอมเปนตนกอใหเกิดความรูส ึก ทางบวกไดแก ชอบ/พอใจ/เห็นใจ และความรสู ึกทางลบไดแก ไมชอบ/ไมพ อใจ/ไมเห็นใจ ตารางท่ี 2-2 แสดงนิยาม ความหมายของคะแนนและความพงึ พอใจในระดบั ตา ง ๆ

ตารางท่ี 2-2 นยิ ามความหมายของคะแนนและระดบั ความพงึ พอใจ

คะแนน ระดบั ขอความทีม่ คี วามหมายทางบวก

6 มากที่สุด พึงพอใจมากที่สดุ /ผลแกไขชดั เจนมากทส่ี ุด / การจดั การดีขน้ึ มากท่ีสดุ / 5 มาก ตอบสนองความตองการของผูอ ยอู าศัยในชมุ ชนมากท่ีสุด 4 คอนขางมาก พงึ พอใจมาก/ผลแกไ ขชัดเจนมาก / การจดั การดีขึ้นมาก / คะแนน ระดับ ตอบสนองความตอ งการของผอู ยอู าศัยในชุมชนมาก พึงพอใจคอนขา งมาก / ผลแกไขชดั เจนคอนขา งมาก / การจดั การดขี น้ึ คอนขา งมาก / ตอบสนองความตองการของผูอ ยอู าศยั ในชุมชนคอนขางมาก ขอ ความท่ีมคี วามหมายทางลบ

3 คอ นขา งนอ ย พงึ พอใจคอ นขา งนอ ย / ผลแกไ ขชัดเจนคอนขางนอย / การจดั การคอ นขางไมด ขี นึ้ / ตอบสนองความตอ งการของผอู ยอู าศัยในชุมชนคอนขา งนอย 2 นอย พงึ พอใจนอย / ผลแกไ ขชดั เจนนอ ย / การจดั การไมด ขี ้ึน / ตอบสนองความตอ งการของผอู ยอู าศยั ในชุมชนนอย 1 นอยทส่ี ุด พึงพอใจนอ ยทสี่ ุด / ผลแกไ ขชัดเจนนอ ยที่สุด / การจัดการแยล ง / ตอบสนองความตองการของผอู ยอู าศยั ในชุมชนนอยทส่ี ดุ

12

โครงการพัฒนาชุมชนเขมแข็งพึ่งพาตนเองอยา งยง่ั ยนื ป 2564

2.3 การศกึ ษาผลการประเมินของโครงการปกอนหนา ผูด าํ เนนิ โครงการฯ ไดท บทวนผลการประเมินโครงการพัฒนาชุมชนเขมแข็งพึ่งพาตนเองอยางยงั่ ยืน ป 2560,

2562 และ 2563 โดยเฉพาะในสวนของขอเสนอแนะสําหรับกจิ กรรมพัฒนาชุมชน ซึ่งมีสาระสาํ คญั ดงั นี้ 2.3.1 โครงการพัฒนาชมุ ชนเขม แขง็ พงึ่ พาตนเองอยา งยงั่ ยนื ป 2560 โครงการประเมนิ ผลระดับความสําเร็จในการพัฒนาชุมชนเขมแข็งพ่ึงพาตนเองอยางย่ังยืน ป 2560 โดยมี

ชุมชนท่ีรับการประมิน 3 ระดับ ไดแก ชุมชนเขมแข็ง (ระดับที่ 1) จํานวน 71 ชุมชน ผานการประเมิน (คะแนน มากกวาหรอื เทากับรอ ยละ 50) จํานวน 43 ชุมชน ชุมชนเขมแข็งพึง่ พาตนเอง (ระดบั ที่ 2) จํานวน 51 ชมุ ชน ผานการ ประเมิน (คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 60) จํานวน 11 ชุมชน และชุมชนเขมแข็งพึ่งพาตนเองอยางยั่งยืน (ระดบั ที่ 3) จํานวน 34 ชุมชน ผานการประเมิน (คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70) ท้ังหมด ผูดําเนินโครงการฯ ไดน ําเสนอขอสังเกตและขอ เสนอแนะ ดังตอไปนี้

 ดานการบริหารจัดการชุมชน (M1) คณะกรรมการเปนผูมีจิตอาสาในการทํางานเพ่ือสวนรวมอยางแทจริง แตในหลาย ชมุ ชน โดยเฉพาะทไี่ มม นี ิตบิ ุคคล ยงั ขาดการจดบันทกึ การประชมุ แบบเปน กิจลกั ษณะ จึงควรหาทางสงเสรมิ ใหท างชุมชน เห็นถงึ ประโยชนข องการจดบันทึกการประชมุ เพ่ือเปน หลักฐานอางอิงถงึ ประเด็นตา งๆไดใ นภายหลัง

 ดา นกิจกรรม (M2) ชมุ ชนสว นใหญม คี วามโดดเดนทางดา นกิจกรรม เกือบทุกชุมชนทําไดด ีเยี่ยม คะแนนจากตัวชี้วัดดาน นีส้ ูงมากเปนอันดบั ตนๆ ท้ังนีอ้ าจเปน เพราะกิจกรรมเปนสิ่งท่ีสรางความสัมพันธ ความเปนอันหน่ึงอันเดียวกัน ใหแกคน ในชุมชน ซึ่งผูอาศัยในโครงการตางๆของการเคหะแหงชาตินั้นตางก็มีท่ีมาอันหลากหลาย มีภาระหนาที่ตางๆกันใน ชีวติ ประจาํ วนั หากขาดกจิ กรรมอนั เปน สิง่ ท่นี ําผูค นมารวมกัน ทั้งในดา นปริมาณและความตอเนอ่ื ง จะทําใหผอู าศัยขาด การมี Identity รว มกัน ในท่สี ุดความเปนชุมชนก็จะมลายหายไป ดังน้ันจึงควรรักษาจุดเดนนี้ไว รกั ษาการมีกิจกรรมอัน หลากหลายและตอ เนอื่ ง

 ความพงึ พอใจท่มี ตี อคณะกรรมการชุมชน และ/หรือ คณะกรรมการนิติบุคคล (M3) จากการวิเคราะหแบบสอบถามของ ชุมชนในทุกระดบั พบวา คะแนนในแตละตวั ชว้ี ดั ไมตางกันมาก หากใชเกณฑคะแนนความพึงพอใจท่ี 1 (นอยท่ีสุด) ถึง 6 (มากที่สดุ ) คือจะอยทู ีร่ ะดับ 3 กวาๆ ในชุมชนทกุ ระดับ ในทุกตัวช้ีวัด แตหากใชเกณฑของการของการเคหะแหงชาติ ซึ่ง ใหความสําคัญของตัวชี้วัดที่ 1.6 (ความซ่ือสัตย โปรงใส และมีจริยธรรม ของคณะกรรมการชุมชน/นิติบุคคล) ซ่ึงมี คะแนนเต็มมากกวาตัวชว้ี ัดอ่ืน คือ 5 คะแนน ในขณะท่ตี ัวช้ีวัดอื่น คือ 3 คะแนน และเมื่อแปลงคาออกมาเปนรูปแบบ รอยละ จะทําใหคะแนนของตัวช้ีวดั นี้ตาํ่ กวาตัวชี้วัดอื่นอยางเห็นไดชัด ซ่ึงสะทอนวาผูอยูอาศัยเกือบครึ่งหน่ึงมีความไม ไววางใจในความซือ่ สัตย โปรงใส และมาจริยธรรมในการทํางานของคณะกรรมการชุมชน และคณะกรรมการนิติบุคคล ซงึ่ เรือ่ งนเ้ี ปนประเดน็ ที่ละเอียดออ นและอยเู หนือความควบคุมของการเคหะแหงชาติ ดังนัน้ จงึ ไดนาํ เสนอวา (1) ในปถ ดั ๆไป ใหคะแนนของตวั ชวี้ ดั ดานจริยธรรมนี้ มนี ้ําหนักหรือคะแนนเทากบั ตัวชีว้ ดั อน่ื (2) ใหความรแู กผูอยูอาศยั ใหเขา ใจถึงการทํางานของคณะกรรมการชมุ ชนและคณะกรรมการนติ ิบุคคล เพ่ือความ เขา ใจกันมากขน้ึ ของท้ังสองฝาย และเพ่ือผูอ ยูอาศัยจะไดมีสวนรวมมากข้ึนในการบริการชุมชน และชวยกํากับ ดูแลคณะกรรมการชมุ ชน/นติ ิบคุ คลใหมีธรรมาภิบาล

 ดา นของเศรษฐกจิ (E1) อางอิงถึงจากการศึกษาคูมือการปฏิบัติงานตามตัวช้ีวดั ชุมชนเขมแข็งพ่ึงพาตนเองอยางย่ังยนื ป 2559 ไดพ บขอสังเกตวาชุมชนท่ีไดผานการประเมินในระดับท่ี 2 มา จะตองสามารถผลิตสินคาเปนของตนเองไดแลว อยา งนอย 1 สินคา แตจ ากตัวอยา งสนิ คา และผลติ ภัณฑตา งๆของชมุ ชนระดับที่ 3 ในปนีพ้ บวา สนิ คาสวนมากยังไมไดรับ การพัฒนามากพอ หรอื ขาดความตอ เนือ่ งในการพฒั นา อาจเปน เพราะในระยะ 1 ปท ีผ่ า นมา กลมุ ผูประกอบการไดทาํ มา แลว แตไ มคอยประสบความสําเร็จ สินคาไมสามารถแขงขันกับสินคา กระแสหลักทั่วไปในทองตลาดได และจากการที่ได พบปะพูดคุยกับตัวแทนกลุมผูประกอบการ เพื่อขอดูตัวอยางเอกสารทางทางการคา อาทิเชน ใบสั่งซื้อ ใบสงสินคา ใบเสร็จรบั เงนิ ปรากฎวา เอกสารเหลาน้ันแทบไมมีเลย แสดงใหเห็นวาไมมีการคาอยางตอเนื่อง ปริมาณการคาท่ีไมมาก พอ หรือไมไดม ีการทาํ การตลาดที่เพยี งพอและตอ เนอ่ื ง จึงไดนาํ เสนอวา (1) ใหม ีการพฒั นาตราสินคา ใหมีความทันสมยั ตราสินคาไมจาํ เปน ตอ งมคี ําวา “บา นเออ้ื อาทร” อาจเปน รปู แบบใด กไ็ ด ขอใหผบู รโิ ภคตอบสนองกับตราสินคา น้ันๆ การเคหะแหงชาติสามารถสงเสริมใหมีการประกวดการสราง ตราสินคา และใหตราสินคานั้นๆจดทะเบียนเปนสิทธ์ขิ องการเคหะฯหรือของชุมชนน้ันๆไป โดยผูอยูอาศัยท่ีมี ทะเบียนบา นอยูในโครงการ สามารถทจ่ี ะนาํ ตราสนิ คานั้นไปใช โดยผา นระเบียบการพิจารณาของชุมชน เพื่อให ตราสินคา เหมาะกับสินคา หรือ หากมผี ูประกอบการตองการใชส ิทธใ์ิ นตราสนิ คา นนั้ แตพ ยี งผเู ดียว ก็สามารถทํา การซอื้ ขายสทิ ธ์ิในตราสนิ คา นน้ั ๆได และนําเงนิ ที่ไดเขา ชุมชน/นิติบคุ คล

13

โครงการพฒั นาชุมชนเขม แข็งพ่งึ พาตนเองอยา งยง่ั ยนื ป 2564

(2) จัดอบรมความรูดานการตลาดใหกับผูอยูอาศัย เนื่องจากการตลาดมีความสําคัญเปนอยางมากพอๆ กับการ พัฒนาสินคา สินคาที่ดีแตขาดการตลาดที่ดีก็มักจะไมประสบความสําเร็จในระยะยาว การเคหะฯอาจจัดใหมี การอบรมดานการตลาด การตลาดออนไลน หรือ กลยุทธการขาย เปนหน่ึงในกิจกรรมการอบรมที่การเคหะฯ จัดใหแ กผ อู ยอู าศัยมาตลอด

(3) การเคหะฯ สามารถเปนตวั กลางประสานงานระหวาง (หรือเปนตัวกลางกระจายสินคา ใหกับ) ผูอยอู าศัยท่ีเปน ผูประกอบการ/วิสาหกิจชุมชน กับ คาปลีกขนาดใหญ เชน โลตัส บ๊ิกซี เซเวน อีเลเวน หรือ คาปลีกออนไลน เชน ลาซาดา อเี บย อเมซอน ดวยความเปนองคก รใหญ จะทําใหมีอํานาจตอรองในการเจรจา กับบริษัทตางๆ เหลานี้ไดมากกวา การท่ผี ปู ระกอบการจะเขาไปเจรจาดวยตวั เอง

 ดานกลุมออมทรัพย (E2) จากการทไี่ ดไปเย่ียมชุมชนในระดับที่ 3 และไดศึกษาจากคะแนนของชุมชนระดับ 1 และ 2 พบวา หากไดรับการบริหารจัดการใหดี มีความมุง มน่ั ทีจ่ ะสง เสรมิ และใหความสําคญั กลุมออมทรพั ยจ ะสามารถพัฒนาให เติบโตขึ้น สามารถเปนหลักค้ําจุนของชุมชน ตัวอยางเชน เคหะชุมชนวัดไพรฟา, บานเอ้ืออาทรบางใหญ (วัดพระเงิน), และบานเอื้ออาทรขจรวิทย (บางปู) แตในอีกมุมมองหนึ่ง ชุมชนหลายแหงทมี่ ีความเขมแข็งในดานอื่นๆอยางดีเยี่ยม ก็ อาจไมมคี วามจาํ เปน ที่จะตอ งมีกลุมออมทรัพย เพื่อมาเปนหนงึ่ ในนยิ ามของความเขม แขง็ ของชุมชนเหลาน้ัน ตัวยางเชน บานเอ้ืออาทรชลบุรี (นาเกลือ) ท่ีมีความโดดเดนดานกิจกรรม หรือ บานเอ้ืออาทรพิษณุโลก (วัดพริก) ที่มีนํ้าพริกตรา “มยุรา” เปน วสิ าหกจิ ชุมชนท่ีประสบความสําเร็จมาก แตทง้ั สองชุมชนนี้มีกลุมออมทรัพยในรูปแบบท่ีเรียบงา ยท่ีสุด คือ มีผอู ยอู าศยั เพียงบางสว นเปน สมาชิกเงนิ ออมสัจจะกับทางองคการปกครองสวนทอ งถื่นเทาน้นั ดงั นน้ั (1) การเคหะแหงชาติ สามารถเปนตัวกลางหรือผูเร่ิมใหมีการจัดต้ังกลุมออมทรัพยแบบเต็มรูปแบบ (วัดพระเงิน โมเดล), กลุมรานคาที่เนนการขายสินคาจริงจังและมีการบริหารจัดการที่ดี (ขจรวิทยโมเดล), หรือกลุม ออม ทรพั ยม ีรา นคาในตัว ลกู ผสมทีท่ ั้งขายสนิ คา และออมทรัพย (วัดไพรฟาโมเดล) วัดไพรฟ าโมเดลน้ีท่ีถือไดว าเปน เปาหมายสงู สุดของการมีกลมุ ออมทรัพย เรอ่ื งนี้เปนเรื่องที่อาจทําไดยากสําหรับชุมชนใดชุมชนหนึ่งเพียงลําพัง แตหากมีการรวมตัวกันโดยอาจเปนมี 1 กลุมตอ 3-5 ชุมชนใกลเคียง กลุมเหลานี้จะสามารถพัฒนาไปไดไกล เพราะมีจํานวนสมาชิกท่ีมากพอ จนในท่สี ุดก็จะมีธุรกิจที่หลากหลาย เติบโต จนสามารถเปนผูรับจํานองบาน หรอื Refinance ใหแ กผ ูอยูอาศยั ได เชน สหกรณเคหะชุมชนวดั ไพรฟา สามารถรบั จํานอง/Refinance สินเช่อื บานใหแกสมาชกิ แบบมปี ระกนั ชีวิตในตวั เปน การสรา งความม่นั คงทางการเงนิ ใหแกผ ูอยูอ าศยั ในระยะยาว (2) ปรับเกณฑการชี้วัดให กลุมออมทรัพย มีสัดสวนนอยลง สําหรับโครงการชุมชนเขมแข็งในปถัดๆไป หรือใช ตัวชี้วัดเดิมแตใ หแตล ะ ชช. สามารถเลอื กตัวช้ีวดั ดา นอน่ื ๆใหม นี ํา้ หนักมากกวา ในการเฉล่ยี คะแนน

 ดา นของการปลอดยาเสพติดและอบายมุข (Q1) จากการที่ไดเย่ียมหลายๆชุมชน พบวาในแตละชุมชนนั้นไดทําทุกอยาง เตม็ ทแี่ ลว มีการประสานงานกบั เจาหนาทตี่ ํารวจอยา งเปนระบบ อกี ทง้ั ยงั มกี ารฝกอบรมตํารวจบา น ตลอดจนอาสาสมัคร ตา งๆ แตในทา ยทีส่ ดุ เรื่องเกี่ยวกับยาเสพติดและอบายมขุ เปน สิง่ ทีน่ อกเหนือความควบคมุ ของคณะกรรมการชุมชน เปน เร่ืองของแตละปจเจกบุคคล ในหลายๆชุมชน จึงขอนําเสนอขอเสนอแนะวา ควรมีการสงเสริมใหผูอยูอาศัยไดรับการ อบรม หรือมีกิจกรรมอื่นใดอันเปนการใหความรูเก่ียวกับยาเสพติดและอบายมุข หรือกิจกรรมประเภทที่มุงเนน ความสาํ คัญของสถาบนั ครอบครัว ใหเพิม่ มากขนึ้ และตอเนอื่ งขน้ึ

 ดานการบริหารจัดการขยะภายในชมุ ชน (Q2) การจัดการขยะเปนไปอยางมีระบบระเบียบในระดับหน่ึง แตในดานของ การใชป ระโยชนจากขยะรไี ซเคิลยงั ไมม ากพอ สังเกตไดจ ากโครงการธนาคารขยะทยี่ ังไมเติบโตเทาที่ควร ในแตละชมุ ชน จํานวนสมาชกิ ยังไมม ากพอเม่ือเทียบกับขนาดชุมชน ในบางชุมชนที่มีการรับบริจาคขยะรีไซเคิลก็ยงั มียอดไมมากพอ จึง ขอเสนอใหมีการสงเสริมอยา งตอ เนอ่ื งเกีย่ วกบั ธนาคารขยะและการอบรมเรอื่ งการคดั แยกขยะ

 ความพึงพอใจของผูอยอู าศัยที่มตี อสภาพแวดลอ มและสาธารณปู โภคภายในชุมชน (Q3) จากการวิเคราะหแบบสอบถาม ของชุมชนในทุกระดับพบวา คะแนนในแตละตัวชีว้ ัดไมตา งกันมาก หากใชเกณฑคะแนนความพึงพอใจที่ 1 (นอยที่สุด) ถึง 6 (มากท่ีสุด) คืออยูที่มากกวา 3 เล็กนอย ในชุมชนทุกระดับ ในทุกตัวช้ีวัด แตหากใชเกณฑของการของการเคหะ แหงชาติ ซึง่ ใหค วามสาํ คัญของตัวชว้ี ดั ที่ 2.6 (ความรูสึกปลอดภัยตอชีวิตและทรัพยสิน) ซึ่งมีคะแนนเต็มมากกวาตัวชีว้ ัด อนื่ คือ 5 คะแนน ในขณะที่ตัวช้ีวดั อ่ืน คือ 3 คะแนน และเม่ือแปลงคา ออกมาเปนรูปแบบรอยละ จะทําใหคะแนนของ ตัวช้ีวัดน้ีตํ่ากวาตัวชี้วัดอื่นอยางเห็นไดชัด ซึ่งสะทอนวาผูอยูอาศัยเกือบคร่ึงหน่ึงมีความรูสึกไมปลอดภัยในชีวิตและ ทรัพยส นิ จึงขอนําเสนอขอเสนอแนะดงั น้ี (1) ในปถ ัดๆไป ใหค ะแนนของตัวชว้ี ดั ดา นจริยธรรมนี้ มีน้ําหนักหรือคะแนนเทากบั ตวั ชว้ี ดั อน่ื ๆ (2) จากการที่ไดพูดคุยกับผูอยอู าศัยในระหวางการการแจกแบบสอบถามพบวา หลายชุมชนไมมียามรักษาความ ปลอดภัย หรือมีจํานวนไมเพียงพอเมื่อเทียบกับขนาดชุมชน (สวนมากเปนชุมชนหมูบานแนวราบ ท่ีไมมีนิติ บุคคลเกบ็ คาสว นกลาง จงึ ไมสามารถจดั หายามรกั ษาความปลอดภัยได) หรือมีกลองวงจรปดไมเพียงพอ จึงขอ เสนอใหทุกชุมชนจะตองมียามรักษาความปลอดภัยและจํานวนกลองวงจรปดที่เพียงพอเม่ือเทียบกับสัดสวน จํานวนครวั เรอื น ซ่งึ อาจกําหนดไปเลย เชน 1 กลอง/100 ครวั เรอื น หรอื 2 กลอ ง/อาคาร

14

โครงการพฒั นาชุมชนเขม แข็งพึง่ พาตนเองอยางยง่ั ยืน ป 2564

 ขอเสนอแนะอน่ื ๆ (1) จัดใหมีการประเมินซ้ําชุมชนเขมแข็งระดับ 3 ทุกๆ 3 ป การที่ชมุ ชนจะเขมแข็งพึ่งพาตนเองอยางยั่งยืนนั้น จะตองยงั่ ยนื ไปในระยะยาว จึงขอเสนอวาควรมีการประเมินซ้ําชุมชนที่ผานการประเมินระดับที่ 3 แลวทุกๆ 3 ป เพอื่ ใหแนใจวาชมุ ชนเหลา นนั้ จะคงอยใู นมาตรฐานระดับท่ี 3 ตอ ไปอยา งยง่ั ยนื ยาวนาน (2) สนบั สนุนการใช Solar Cells และ หลอดไฟ LED เพือ่ การประหยดั พลงั งาน พลงั งานแสงอาทิตย เปนพลังงาน ท่ีปลอดจากมลภาวะ ชุมชนควรมี Solar Cells ไวใชงานบาง เพื่อลดการพ่ึงพาพลังงานอ่ืนๆที่กอใหเกิด มลภาวะ นอกจากนก้ี ารใชห ลอดไฟ LED กจ็ ะยิ่งชวยประหยัดพลังงานเพมิ่ ขน้ึ อกี ดวย และเปน การลดคาใชจาย ของทัง้ สวนกลางและของครัวเรอื น

2.3.2 โครงการพัฒนาชุมชนเขม แข็งพึ่งพาตนเองอยา งย่ังยืน ป 2562 โครงการประเมินผลระดับความสําเร็จในการพัฒนาชุมชนเขมแข็งพึ่งพาตนเองอยางยั่งยืน ป 2562 โดยมี ชุมชนท่ีรบั การประมนิ 2 ระดับ ไดแ ก ชุมชนเขม แข็งพงึ่ พาตนเอง (ระดับที่ 2) จํานวน 40 ชุมชน ผานการประเมิน 31 ชุมชน (คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 60) และ ชุมชนเขมแข็งพึ่งพาตนเองอยางยั่งยืน (ระดับท่ี 3) จํานวน 55 ชุมชน ผานการประเมินทงั้ หมด (คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70) ผูดําเนินโครงการฯ ไดน ําเสนอขอสงั เกตและ ขอ เสนอแนะ ดงั ตอ ไปน้ี

ดา นท่ีเปน จดุ เดน ของชมุ ชนทก่ี ารเคหะแหงชาตสิ ามารถชวยสงเสริมใหเขมแข็งขึ้นอยางย่ังยืนได โดยผานการสนับสนุน ในรูปแบบตางๆ อยางตอเน่ือง

 ดา นการทํางานและการใหบ ริการตอ ชุมชนของคณะกรรมการ (M1) ผนู ําชุมชน และกรรมการชุมชนมีการบริหารจัดการ งานดานตางๆเปนอยา งดี มีความเปน จิตอาสา สรา งความสมั พนั ธกับผอู ยอู าศยั มีชอ งทางการรับฟงความคิดเห็นมากกวา 1 ชองทาง มกี ารประชาสัมพันธชองทางแสดงความคิดเห็นหรือขอมูลขาวสารอื่นอยางสมาํ่ เสมอผานเสียงตามสาย หรือ การประชุมผูอยูอาศัย และเห็นไดชัดวามีการพัฒนาปรับปรุงการทํางาน และตอยอดเพ่ือปองกันปญหา ยังมีอีกหลาย ชมุ ชนที่ตอ งเพ่ิมการจดบันทึกการประชุมอยางเปนทางการ แตโดยภาพรวมแลวผูนํา และกรรมการของทุกชุมชนมีการ ทํางาน และการใหบ รกิ ารตอ ผอู ยูอาศัยทีด่ ี

 ดานการดําเนินโครงการและการจัดกิจกรรมที่ครอบคลุมผูอยูอาศัยกลุมตางๆโดยไดรับความรวมมือจากภาคีเครือขาย (M2) ทุกชุมชนที่ไดรับการประเมินระดับที่ 3 ในปน้ีมีการจัดกิจกรรมตางๆหลายคร้ังตอป ทั้งกิจกรรมวันสําคัญตาม ประเพณี กจิ กรรมกฬี า กิจกรรมฝก อบรม และกิจกรรมพัฒนาชมุ ชน ซ่ึงครอบคลมุ ผอู ยูอ าศยั ทกุ กลุมอายุ การประเมนิ ผล ความสาํ เรจ็ ของกจิ กรรมท่ีไดจ ัดไปทําอยางไมเ ปนทางการ โดยสวนใหญจะผา นการประชุมของคณะกรรมการ และการทํา บัญชีรายรบั รายจาย การรวมมอื ประสานงานกับภาคีเครือขาย เชน ชุมชนอ่ืนโดยรอบ หนวยงานภายนอก และองคการ บริหารสว นทอ งถิ่น เปนไปอยางสมา่ํ เสมอ

 ดานการปลอดยาเสพติดและอบายมุข (Q1) เปนอกี ดานที่ถอื เปนจดุ แข็งของชมุ ชน ซ่งึ ทุกชมุ ชนมวี ธิ กี ารจดั การดูแลรักษา ความปลอดภยั เปนอยางดี โดยอาจมีวิธกี ารทแ่ี ตกตา งกนั ไปบา งในแตล ะชุมชน เชน บางชุมชนอาจมีเจา หนา ทีร่ กั ษาความ ปลอดภัย (รปภ.) ในขณะทบ่ี างชุมชนมีกลุมตํารวจบาน อปพร หรืออาสาสมัคร หลายชุมชนมีกลองวงจรปด และมีการ วางแผนทจี่ ะเพ่ิมจํานวนกลอง ทุกชุมชนมีตูแดงเพื่อประสานงานกับตํารวจทองที่ มีกิจกรรมรวมกับเครือขายภายนอก ชุมชน และไมพบคดีสําคญั หรือรายแรง

 ดานการบริหารจัดการขยะ (Q2) ทุกชุมชนมีการติดตอ ประสานงานกับองคการบริหารสวนทองถิ่นเพ่ือมารับขยะเปน ประจํา 1-3 คร้งั ตอ สปั ดาห หลายชุมชนมกี ารประสานงานกับองคการบริหารสวนทองถิ่นเปนกรณีพิเศษเพ่ือจัดการขยะ อินทรีย (ขยะเปยก) ขยะอนั ตราย ขยะชิน้ ใหญ กง่ิ ไม หรอื ลา งบริเวณถงั ขยะสว นกลาง

ดา นท่เี ปนจุดออ นของชุมชน ทัง้ ทก่ี ารเคหะแหงชาติสามารถสนบั สนนุ ใหกลบั มาเปนจุดแขง็ เชน การบริหารจัดการขยะ Recycle ใหมีประสิทธิภาพ และประสิทธิผลมากยิ่งขึ้น ความพึงพอใจของผูอยูอาศัย และดานเศรษฐกิจของชุมชน และท่ีอยู นอกเหนือจากการควบคุมของการเคหะแหงชาติ และไมเปนตัวบงบอกถึงความเขม แข็งพึ่งพาตนเองไดอยางย่ังยืนคือ ดานการ ออมทรัพย (E2) เพราะปจจุบันผอู ยอู าศยั มีทางเลอื กทีห่ ลากหลายในการลงทนุ และการกูย ืม และการเคหะแหง ชาติไมสามารถเขา ไปมสี วนรว มในการบรหิ ารกลุมออมทรัพยข องชมุ ชนได

 ดา นการยกระดับเศรษฐกิจภายในชุมชน (E1) สําหรับชุมชนท่ีอยูใกลเมือง วัฒนธรรมการอยูอาศัยมีลักษณะท่ี “ตางคน ตา งอย”ู กลมุ อาชพี หรอื วิสาหกจิ ชมุ ชนที่จดั ตั้งขึ้นเพือ่ ผลิตสินคา/บริการมักมีอายุสั้น สาเหตุหลักมาจากการขาดโอกาส ทางการตลาด ไมสามารถแขงขันกับสินคา อ่ืนได ทําใหข าดความสนใจจากผอู ยูอ าศัยที่สวนใหญทาํ งานประจาํ หรือมีธรุ กิจ สวนตัว สินคา/บริการทย่ี ังพอผลิตไดมีมูลคานอยไมคุมกับตนทุน ในท่ีสุดกลุมก็ตองสลายไป อยางไรก็ตามในชุมชนที่มี ความเปนเมืองเหลาน้ี พ้ืนที่ท่ีจัดไวใหสําหรับผูประกอบการ (ลานตลาด) จะไดรับความนิยมซึ่งเห็นไดจากการมี ผูประกอบการมาตง้ั รา นคา ในทางตรงขา มชมุ ชนที่อยูไกลออกไปซึ่งมีความเปน สงั คมกึ่งเมอื งกึ่งชนบท การรรวมกลุมเพื่อ

15

โครงการพฒั นาชุมชนเขมแข็งพึ่งพาตนเองอยา งย่ังยืน ป 2564

ผลิตสนิ คา /บริการยงั คงพอทาํ ไดบา ง แตก ย็ งั ไมก วา งขวางหรือสรา งมูลคา มากพอ สว นพน้ื ทที่ จ่ี ดั ไวสาํ หรบั ตงั้ รา นคามกั จะ ไมประสบความสาํ เร็จในการจงู ใจใหมีผูประกอบการมาใชป ระโยชน หลายชมุ ชนจงึ ใชพ ืน้ ทน่ี เี้ ปนลานจอดรถ/ลานกีฬา  ดานการยกระดับการออมภายในชุมชน (E2) เปนดานท่ีไมคอยไดรับความสนใจจากชุมชน ชุมชนสวนใหญจะไมมีกลุม ออมทรัพยทีเ่ ปนในนามของชุมชน หรือชมุ ชนดําเนินการเอง สําหรับผูอยูอาศัยที่ตองการมีการออมในรูปแบบใดรูปแบบ หน่งึ จะตดิ ตอ โดยตรงเปน การสวนตัวกับองคก ารบรหิ ารสว นทองถน่ิ (เงนิ สจั จะ) หรือ หมูบาน (กองทุนหมูบาน) ซึ่งมีการ แสดงบญั ชตี อ สมาชกิ ทกุ ป ในหลายชมุ ชนท่ยี ังมีกลุมออมทรัพยปจจุบันก็ประสบปญหาหน้ีเสีย หรือมีสมาชิกถอนตวั เปน จาํ นวนมาก การจัดสรรเงินจากสวนนี้เพ่ือมาชวยกิจกรรมพัฒนาชุมชนจึงแทบไมมี ในดานการลงทุน หรือหารายไดจาก ภายนอกชมุ ชนท่ีมากกวา การนาํ เงินไปฝากธนาคารยังคงมีบา งในบางชุมชน เชน การใหเชาอุปกรณ หรือ การใหเชาพ้ืนที่ สาํ หรับโครงขา ยโทรศพั ทมอื ถอื /อินเตอรเ นท็  ดานการจัดการขยะภายในชุมชน (Q2) เฉพาะในเรอื่ งการคัดแยกขยะรีไซเคิล (Recycle) ผูอยูอาศัยในหลายชุมชนใช วธิ ีการคัดแยกขยะจากตนทางแลวขายโดยตรงเปนการสวนตัว มีชุมชนเพียงสวนนอยที่นาํ ขยะ Recycle เหลาน้ีมาเปน กองกลาง และนํารายไดจ ากการขายขยะมาสนันสนนุ กจิ กรรมชมุ ชน  ความพึงพอใจตอ การทาํ งานของคณะกรรมการชุมชนหรอื นิติบุคคล สาธารณูปโภค และสงิ่ แวดลอม (M3 และ Q3) จาก การสาํ รวจความพึงพอใจของผูอยูอาศัยในชุมชนระดับท่ี 3 ผานแบบสอบถามพบวา ผูอยูอาศัยในชุมชนมีความพึงพอใจ ในระดับปานกลาง (25.29/40.00 = 63.23%) ผลการสาํ รวจน้ีสะทอนความรูสึกของผูอยูอาศัย ซึ่งในการพัฒนาชุมชน จะตองทําใหความรูส ึกของผอู ยอู าศัยเปน ไปในทางที่พึงพอใจมากข้นึ จากการวิเคราะหจุดออนจุดแข็งของชุมชน และตัวช้ีวัดที่ใชเปนเกณฑการประเมินผลการพัฒนาชุมชน ผูดําเนิน โครงการฯ ไดน าํ เสนอแนวทางการประเมนิ ผลสาํ หรับปถดั ๆไป โดยพิจารณาจากปจ จยั สําคัญอันจะสงผลใหชุมชนมีความเขมแข็ง และสามารถพึ่งพาตนเองอยางย่ังยืนไดอยางแทจริง ความสอดคลองกับการประเมินผลของปที่ผานมา สิ่งที่การเคหะแหงชาติ สามารถใหการสนับสนุนแกชุมชน และสิ่งที่อยูนอกเหนือการควบคุมของการเคหะแหงชาติ เปน 3 แนวทาง ซ่ึงสามารถนําไป ปรบั เปล่ียนเพม่ิ เตมิ เพอื่ ใหการประเมินผลการพฒั นาชุมชนในปถดั ๆไปเปนไปอยางแมนยําย่ิงขน้ึ  ปรับคะแนนของตัวชวี้ ดั ดานเศรษฐกจิ (E1) และการออม (E2) ใหลดลง เน่ืองจากเปน ดา นท่กี ารเคหะแหงชาติไมสามารถ ควบคุมได และไมใ ชสิง่ ท่ีแสดงวา ชุมชนมีความเขมแข็งและสามารถพึ่งพาตนเองไดอยางยงั่ ยืน สวนตัวช้ีวดั ดานอ่ืน (M1, M2, Q1, และ Q2) ท่ีเปนจุดแข็งของชุมชนใหปรับเพ่ิมข้ึน ดังนั้นโดยภาพรวม ยังคงตัวช้ีวัดเดิมไวท้ังหมด ปรับเพียง น้ําหนกั คะแนน เพ่ือใหสอดคลอ งกบั วธิ ีการประเมนิ ของปทีผ่ านๆมา  ปรบั คะแนนของตัวชี้วดั ดา นเศรษฐกจิ (E1) และการออม (E2) ใหล ดลง เนื่องจากเปนดา นทก่ี ารเคหะแหงชาติไมสามารถ ควบคมุ ได และปรับคะแนนชองตวั ชีว้ ดั ดา นอ่นื (M1, M2, Q1, และ Q2) ทบี่ งบอกถงึ ความเขม แข็งที่แทจริงของชุมชนให เพิ่มข้ึน ปรบั นา้ํ หนกั คะแนน และเพิ่ม/ยบุ รวมตวั ชีว้ ัดใหม  นําดัชนีความสุข (Happiness Index) มาใชในการประเมินผล โดยนํามาเพิ่มเปนตัวช้ีวัดใหมหรือทดแทนตัวช้ีวัดเดิม บางสวน ทั้งในแบบประเมินหรือในแบบสอบถาม สามารถเปนตัวช้ีวัดความสุขโดยรวมหรือในแตละดาน (ครอบครัว เพ่ือนรวมงาน สุขภาพ ฯลฯ) ของผูอ ยูอาศัยในชมุ ชน ซง่ึ เปน ผลมาจากหรอื สะทอ นไปถึงความเขม แข็งของชุมชน

2.3.3 โครงการพฒั นาชมุ ชนเขม แขง็ พงึ่ พาตนเองอยางย่งั ยนื ป 2563 โครงการประเมินผลระดับความสําเร็จในการพัฒนาชุมชนเขมแข็งพ่ึงพาตนเองอยางย่ังยืน ป 2563 โดยมี ชุมชนท่ีรับการประมิน 2 ระดบั ไดแก ชุมชนเขมแข็งพึ่งพาตนเอง (ระดบั ท่ี 2) จํานวน 49 ชุมชน ซึ่งผานการประเมิน ทุกชมุ ชน (คะแนนมากกวา หรือเทากบั รอ ยละ 60) และ ชุมชนเขมแขง็ พ่ึงพาตนเองอยางยัง่ ยนื (ระดับท่ี 3) จํานวน 60 ชุมชน ซึ่งผานการประเมินทุกชุมชนเชนกัน (คะแนนมากกวาหรือเทากับรอยละ 70) ผูดําเนินโครงการฯ ไดน ําเสนอ ขอสังเกตและขอเสนอแนะ ดังตอไปนี้

จุดออ นและจดุ แขง็ ของชมุ ชน  ดา นการทํางานและการใหบ รกิ ารตอชุมชนของคณะกรรมการ (M1) ผูนําชุมชนและกรรมการชุมชนมีการบริหารจัดการ

งานดานตาง ๆ เปนอยางดี มีความเปนจิตอาสา สรางความสัมพันธกับผูอยูอาศัย มีชองทางการรับฟงความคิดเห็น มากกวา 1 ชองทาง มีการประชาสัมพันธชองทางแสดงความคดิ เห็นหรือขอมูลขาวสารอื่นอยางสม่ําเสมอผานเสียงตาม สายหรือการประชุมผูอยูอาศัย และเห็นไดชัดวา มีการพัฒนาปรับปรุงและทํางานเชิงรุกเพ่ือตอยอดและปองกันปญหา อยา งไรก็ตามในหลายชมุ ชนไมมคี ณะกรรมการที่ทาํ งานตอเนอ่ื ง ทําใหในบางชวงเวลาขาดบุคลากรท่ีมาทาํ หนาที่บริหาร ชุมชน และทําใหหลายกิจกรรมขาดชวงในการดําเนินงาน ในหลายชุมชนควรเพ่ิมการจดบันทึกการประชุมเพื่อให ขอ ตกลงตา ง ๆ สามารถออกเปนมติไดอยางเปน ทางการ

16

โครงการพัฒนาชุมชนเขม แข็งพึง่ พาตนเองอยา งยง่ั ยนื ป 2564

 ดา นการดําเนนิ โครงการ/กิจกรรมทค่ี รอบคลุมผอู ยูอาศัยกลุมตาง ๆ โดยไดรับความรวมมือจากภาคีเครือขาย (M2) โดย ปกตทิ ุกชุมชนที่ไดรับการประเมินระดับท่ี 3 จะมีการจัดกิจกรรมตาง ๆ หลายครง้ั ตอป ทั้งวันสําคัญตามประเพณี กีฬา การฝกอบรม และการพัฒนาชุมชน ครอบคลุมผูอยูอาศัยทุกกลุมอายุ แตในปนี้อาจขาดความตอเน่ืองไปบางอันเปน ผลกระทบมาจากการแพรระบาดของเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) การประเมินผลความสําเรจ็ ของกิจกรรมที่ได จัดไปทําโดยการพูดคุยแบบไมเปนทางการในกลุมของคณะกรรมการ การรวมมือประสานงานกับภาคีเครือขายเปน จุดเดน ของหลายชุมชน ซึ่งภาคีเครอื ขายท่มี ีบทบาทมากทสี่ ุดมกั จะเปน องคก ารบริหารสวนทอ งถน่ิ ผูใหญบาน และชุมชน อืน่ โดยรอบ อยา งไรก็ตามผดู ําเนนิ โครงการฯ พบวามีบางชุมชนท่ีเขารับการประเมนิ ในป 2563 ยงั ขาดความสัมพันธอันดี กับองคก ารบริการสว นทองถิ่น หรือผูใหญบา น ในระดบั ที่ทําใหการดําเนินกจิ กรรมตา ง ๆ ของชมุ ชนขาดความตอเนอื่ ง

 ดานความพึงพอใจของผูอยูอาศัยที่มีตอคณะกรรมการชุมชน (M3) ผูดําเนินโครงการฯ พบวาในป 2563 ผูอยูอาศัยใน ชมุ ชนระดับท่ี 3 มีความพึงพอใจตอคณะกรรมการชุมชน/นิติบุคคล (คาเฉลี่ย 13.35 คะแนน หรือรอยละ 66.75) ที่ เพม่ิ ขึ้นเลก็ นอยเมือ่ เทียบกบั ป 2562 (คาเฉลย่ี 12.64 คะแนน หรือรอยละ 63.20) แตยังถือวา ไมส ูงมากนัก

 ดานการยกระดับเศรษฐกิจภายในชุมชน (E1) สําหรบั ชมุ ชนท่ีอยูใกลเ มอื ง วัฒนธรรมการอยอู าศัยมลี กั ษณะ “ตางคนตาง อยู” ทําใหกลุมอาชีพหรือวิสาหกิจชุมชนท่ีจัดต้ังข้ึนเพ่ือการผลิตสินคา /บริการมักมีอายุส้ัน อันมีสาเหตุมาจากการขาด โอกาสทางการตลาด ไมสามารถแขงขนั กับสนิ คา อืน่ ได ทําใหข าดความสนใจจากผูอยูอาศัยท่ีสวนใหญท ํางานประจําหรือ มธี ุรกิจสวนตวั สินคา/บริการท่ียงั พอผลติ ไดม ีมลู คา นอย ซึ่งไมคุม กบั ตน ทนุ ทาํ ใหในทส่ี ุดกลุมก็ตองสลายไป ในสวนพื้นที่ ท่ีจดั ไวใ หส ําหรับผูป ระกอบการ (ลานตลาด) ผูสํารวจฯ มขี อ สงั เกตวาพื้นท่ีเหลา น้ีในหลายชุมชน โดยเฉพาะในภูมภิ าค ไม มผี ปู ระกอบการและมกั ถูกทิง้ ไวโดยไมไดใชป ระโยชน

 ดา นการยกระดับการออมภายในชุมชน (E2) เปนดานท่ีไมคอ ยไดรับความสนใจ ชุมชนสวนใหญจะไมมีกลุมออมทรัพยที่ เปน ในนามของชุมชนหรือท่ีชุมชนดําเนินการเอง สําหรับผูอยูอาศัยที่ตองการมีการออมในรูปแบบใดรูปแบบหน่ึง จะทํา การตดิ ตอ โดยตรงเปนการสว นตวั กับองคก ารบริหารสวนทอ งถิ่น (เชน ฝากเงนิ สจั จะ เงนิ ฌาปนกจิ กองทุนหมูบาน ฯลฯ) ซ่ึงมีการแสดงบัญชีตอสมาชิกทุกป ในหลายชุมชนท่ีอาจยังมีกลุมออมทรัพยอยูปจจุบันก็ประสบปญหาหนี้เสียหรือมี สมาชิกถอนตวั เปนจํานวนมาก การจัดสรรเงนิ จากสวนน้ีเพ่ือมาชวยกิจกรรมพัฒนาชุมชนหรือลงทุนในดานอ่ืนที่มากไป กวา การฝากเงนิ กับธนาคารจงึ แทบไมมี

 ดานการปลอดยาเสพตดิ และอบายมุข (Q1) เปนอีกดานท่ถี ือเปน จดุ แขง็ ของชมุ ชน ซ่งึ ทุกชุมชนมวี ธิ ีการจัดการดแู ลรักษา ความปลอดภยั เปน อยางดี โดยอาจมีวิธกี ารทีแ่ ตกตา งกันไปบา งในแตละชุมชน เชน บางชุมชนอาจมเี จาหนาทรี่ กั ษาความ ปลอดภัย (รปภ) ในขณะทีบ่ างชมุ ชนมกี ลุมอาสาสมคั รตํารวจ (ตํารวจบาน) อปพร หรือ ชรบ เกอื บทกุ ชมุ ชนมอี าสาสมัคร สาธารณสุข (อสม) คอยดแู ลผูสูงอายุ ผูป วยติดเตียง และคอยสอดสองดูแลในชวงท่ีมกี ารแพรร ะบาดของ COVID-19 ใน หลายชุมชนมีกลองวงจรปดหรือกําลังมีแผนท่ีจะติดต้ัง/เพิ่มจํานวนกลอง ทุกชุมชนมีตูแดงและมีความสัมพันธท่ีดีกับ เจาหนาทีต่ ํารวจในทอ งที่ มีกจิ กรรมรว มกบั เครือขา ยภายนอกชุมชนบอยคร้ัง และไมพบคดสี าํ คญั หรอื รา ยแรง

 ดานการบรหิ ารจดั การขยะ (Q2) ทกุ ชุมชนมีการตดิ ตอ ประสานงานอยางสม่ําเสมอกับองคก ารบริหารสวนทองถ่ินเพื่อมา เก็บขยะ 1-3 คร้ังตอ สัปดาห และอาจมีเปนกรณีพิเศษ เชน ขยะอินทรีย (ขยะเปยก) ขยะอันตราย ขยะชิ้นใหญ ก่ิงไม ใบไม หรือลางทาํ ความสะอาดบรเิ วณจุดท้งั ขยะสวนกลาง ดานการคดั แยกขยะรไี ซเคิลผอู ยูอาศัยในหลายชุมชนทาํ การคดั แยกจากตนทางแลวขายเองโดยตรง มีเพียงสวนนอยท่ีนําขยะรีไซเคิลมาเปนกองกลางเพื่อนํารายไดจ ากการขายขยะ มาสนนั สนุนกจิ กรรมของชมุ ชน

 ดานความพึงพอใจของผูอยูอาศัยที่มีตอสาธารณูปโภคและส่ิงแวดลอม (Q3) ผูดําเนินโครงการฯ พบวาในป 2563 ผูอยู อาศยั ในชุมชนระดบั ที่ 3 มีความพึงพอใจตอ สาธารณปู โภคและส่ิงแวดลอ ม (คาเฉลี่ย 13.59 คะแนน หรือ รอยละ 67.95) ทเ่ี พม่ิ ขนึ้ เล็กนอ ยเม่อื เทียบกบั ป 2562 (คาเฉลีย่ 12.65 คะแนน หรือ รอ ยละ 63.25) แตย ังถือวา ไมส ูงมากนัก

ขอเสนอแนะ  กิจกรรมตอ เน่ือง ผูดําเนนิ โครงการฯ มคี วามเห็นวาในการสงเสริมใหชุมชนมีความเขมแข็งขึ้น สามารถพ่ึงพาตนเองได

อยางยั่งยืน การเคหะแหงชาติควรใหการสนับสนุนกิจกรรมในรูปแบบตาง ๆ อยางตอเน่ืองเพื่อใหผูอยูอาศัยสามารถ รวมตัวเปนกลมุ กอ น และมีความรูสึกเปน ไปในทางทพ่ี งึ พอใจมากขน้ึ  ยกเลิกตัวชี้วัดดานการออมทรัพย ผูดําเนินโครงการฯ เห็นวาการออมทรัพย (E2) เปนตวั ช้ีวัดท่ีอยูนอกเหนือจากการ ควบคมุ ของการเคหะแหง ชาติ เพราะผูอยูอาศยั มีทางเลอื กทหี่ ลากหลายในการลงทนุ และการกยู มื และการเคหะแหง ชาติ ไมส ามารถเขาไปมีสวนรวมในการบริหารกลุมออมทรัพยของชุมชนได ดังนั้นตวั ช้ีวัดดานการออมทรัพยจึงสมควรถูกตัด ออกจากเกณฑการประเมินผล และนาํ คะแนนไปเพ่มิ ใหกับตัวช้วี ัดดา นอื่น ๆ  ชวยใหชุมชนสามารถข้ึนตรงกับเทศบาลหรือแยกเปนหมูบานของตนเอง การเคหะแหงชาติควรชวยเหลือใหชุมชน สามารถขน้ึ ตรงกบั เทศบาล (กรณอี ยูใ นเขตเทศบาลเมืองหรือเทศบาลนคร) หรือแยกเปนหมูบานของตนเอง (กรณีอยูใน เขตเทศบาลตาํ บลหรอื องคก ารบริหารสว นตําบล) การเคหะแหงชาติสามารถชว ยเหลือชมุ ชนในดา นเอกสาร อํานวยความ

17

โครงการพฒั นาชุมชนเขม แข็งพึ่งพาตนเองอยา งย่งั ยนื ป 2564

สะดวกในการเดินเรื่อง และเชิญชวนใหผูถือกรรมสิทธิ์ยายทะเบียนบานเขามาในหนวยอยูอาศยั ท่ีตนไดซื้อไว การทําให ชุมชนขึ้นตรงกบั เทศบาลหรือแยกเปนหมูบานของตนเองจะชวยใหชุมชนสามรถเขาถึงงบประมาณของทางราชการหรือ ทองถิ่นไดง ายยง่ิ ขนึ้ สง ผลใหชมุ ชนสามารถขับเคลือ่ นไดด วยตนเอง  ศูนยชมุ ชน ผดู าํ เนนิ โครงการฯ มีขอ สังเกตวาศูนยชุมชนหลายแหงมีสภาพทรุดโทรมอันมีสาเหตุมาจากการไมคอยไดใช ประโยชน การเคหะแหง ชาติควรจัดใหศูนยชมุ ชนมีกิจกรรมที่ตอเนื่อง (โดยอาจเปนกิจกรรมท่ีเรียบงาย เชน มุมคาราโอ เกะสําหรับผูสงู อายุ) เพ่ือปอ งกนั ไมใ หศูนยชุมชนเกิดการทรุดโทรมเร็วจนเกินไป  พน้ื ที่สําหรบั ผปู ระกอบการ พนื้ ท่ีลานเอนกประสงคหรอื ลานตลาดในหลายชมุ ชนไมไดใ ชประโยชน ชุมชนหลายแหงตั้งอยูใน ทาํ เลทีไ่ มด พี อท่ีลานเอนกประสงคหรือลานตลาดจะสามารถทาํ ประโยชนใ นเชงิ ธรุ กิจได พ้ืนทเ่ี หลาน้จี ึงไมกอใหเกิดรายไดกับ ท้ังชุมชนและการเคหะแหงชาติ ดังน้ันจึงควรหาวิธีใหพ้ืนที่เหลานี้เกิดประโยชนในเชิงเศรษฐกิจ ผานการลดขั้นตอนหรือ ระเบยี บตา ง ๆ โดยอาจเปน โครงการช่ัวคราวที่ทํารวมกันและแบงรายไดกับชุมชน เชน การทําเปนสถานที่บริการลางรถ (Car Wash) ลานจอดรถใหเชา ฯลฯ  การประเมินผลโดยใชนา้ํ หนกั ชมุ ชนแตล ะแหงมีอัตลักษณ บริบท และขอจํากัดท่ีแตกตางกัน ในการประเมินผลการพัฒนา ชุมชนจึงควรกําหนดนํ้าหนัก (Weights) ของตัวชี้วดั ใหเหมาะสมกับแตละชุมชน โดยการลดน้ําหนักตัวช้ีวัดท่ีเปนขอจํากัด หรือยากตอการแกไ ขได และไปเพม่ิ น้าํ หนกั ตัวชว้ี ัดทเ่ี ปน จุดแข็งหรือเปนเปาหมายในการพัฒนา การกําหนดนํ้าหนักอาจตอง อาศัยกติกาท่ียุติธรรม เชน โดยปกติแตละตัวช้ีวัดมีน้าํ หนักเทากับ 1 สวนงานของการเคหะแหงชาติท่ีดูแลการพัฒนาชุมชน ตองกาํ หนดนาํ้ หนกั กอ นการเร่ิมประเมนิ ผล โดยใหน าํ้ หนกั สามารถถกู ปรับลดลงไปตํ่าสุดไดไมเกิน 0.25 และเพ่ิมข้ึนสงู สุดไม เกิน 1.75 รวมสองตัวช้วี ัดยังคงเทากบั 2 เปนตน  วิธีการอื่น ๆ ในการประเมินผล ปจจุบันการประเมินผลในโครงการชุมชนเขมแข็งพ่ึงพาตนเองอยางยั่งยืนใชวิธีการ “อิง เกณฑ” โดยชุมชนระดับท่ี 3 จะตองได 70 คะแนน และชุมชนระดับที่ 2 จะตองได 60 คะแนน เปนเกณฑเพ่ือผานการ ประเมิน ในการประเมนิ ผลสาํ หรับปถัด ๆ ไป หรือโครงการอื่น ๆ การเคหะฯ อาจนําวิธีการ “อิงกลุม” มาใช เชน การเทยี บ ผลการประเมินกับคาเฉล่ียและคาเบ่ียงเบนมาตรฐาน ควอไทล (Quartiles) เดไซล (Deciles) หรือ เปอรเซนไทล (Percentiles) เปน ตน

2.4 ระเบียบวธิ ีวิจัย 2.4.1 เม่อื รวบรวมขอมูลขางตนแลว ผูสํารวจฯ จะประเมินความสําเร็จในการพัฒนาชุมชนระดับท่ี 3 ชุมชน

เขมแข็งพึ่งพาตนเองอยางยั่งยืน จํานวน 49 ชุมชน ประกอบดวยอาคารแนวราบ และอาคารชุด โดยมีพ้ืนท่ีในเขต กรุงเทพมหานครและปริมณฑล 14 ชุมชน และภูมิภาค 35 ชุมชน โดยวิธีการของ Taro Yamane ที่ระดับความ เชอ่ื มัน่ 97% และคา ความคลาดเคลอ่ื นทย่ี อดรับได 3% ตามหลักการสุมตัวอยา งทางสถติ ิ ดังนี้

n = N / (1+Ne )n = ขนาดตวั อยา ง N = จํานวนครัวเรอื น e = คาความคล2าดเคลอื่ นท่ียอมรับได = 0.03 ป 2564 : N = 3,410 / (1 + (3,410 x 0.032) ~ 838 จาํ นวนตวั อยางทต่ี องสํารวจขัน้ ตาํ่ คํานวณโดยสูตรของ Taro Yamane ท่ีระดับความคลาดเคล่ือนทย่ี อมรบั ได 3% คอื 838 ตัวอยาง ซง่ึ นอ ยกวา จํานวนตัวอยางท่ีกําหนดไว แสดงใหเห็นวาจํานวนตัวอยางที่กําหนดไวเพียงพอและ ผลการสาํ รวจดว ยแบบสอบถามสาํ หรับทงั้ โครงการโดยภาพรวม (ไมใ ชร ายชุมชน) มีความเชอ่ื ถอื ได 97% 2.4.2 การสมั ภาษณ การสาํ รวจ การจัดเกบ็ ขอ มลู ภาคสนาม จากประชากรกลมุ เปาหมายใน 49 ชุมชน ไดแก ผูอยูอาศัยในชุมชน ผูบรหิ ารการเคหะแหงชาติ หัวหนาสํานักงานเคหะจังหวดั /นครหลวง และ ผูปฏิบัติงานดานการ พัฒนาชุมชนในพื้นทเ่ี ปาหมาย และภาคีรว มพัฒนาที่เกีย่ วขอ ง  การจัดทําเครื่องมือท่ีใชในการสํารวจ แบบประเมินผลและแบบสอบถามผูอยอู าศัยชุมชนเขมแข็งพ่ึงพา ตนเองอยา งยงั่ ยนื (ภาพที่ 1-1 และ 1-2)  การสาํ รวจในภาคสนาม ผูศกึ ษาจะสอบถาม/สัมภาษณกลมุ เปาหมายเปน รายบุคคล  การวิเคราะหขอมูลและแปลผล เมื่อทําการรวบรวมขอมูลภาคสนามเสร็จสิ้น ผูศึกษาจะนําขอมูลจาก แบบสอบถามมาวิเคราะห โดยใชโปรแกรมทางสังคมเพ่ืออธิบายถึงความคิดเห็น/ทัศนคติ คาสถิติที่จะ

18

โครงการพฒั นาชมุ ชนเขม แข็งพ่งึ พาตนเองอยา งยัง่ ยนื ป 2564

นาํ มาใชใ นการวเิ คราะห เชน จํานวนนับ (Counts) จํานวนรวม (Summation) คาเฉล่ีย (Average) เปน ตน สําหรับขอมูลเชิงคุณภาพท่ีไดจากการประชุมรวมกับคณะกรรมการบริหารชุมชนจะนํามาวิเคราะห และสรุปประเด็นที่เกี่ยวของกับการดําเนินงานของการเคหะแหงชาติ ตลอดจนขอเสนอแนะดานตาง ๆ เพ่อื ใหก ารเคหะแหงชาตจิ ะนาํ ไปปรับปรุงและพฒั นาองคกรตอ ไป 2.4.3 หลักเกณฑในการวัดระดับความพึงพอใจในการประเมนิ ตัวชี้วัดชุมชนเขมแข็งพึ่งพาตนเองอยางยัง่ ยืน โดยใชแบบสอบถามเชิงปริมาณ จดั แบง ระดบั ความพงึ พอใจเปน 6 ระดับ (Scale) (ตารางที่ 2-2) 2.4.4 การศึกษาครั้งน้จี ะประกอบดวยขอ มลู จากการรวบรวมของผูส าํ รวจเอง (ชมุ ชนระดับที่ 3) ทงั้ หมด 2.4.5 เพื่อศึกษาปญหา อุปสรรค และขอเสนอแนะ อันจะนําไปสูการพัฒนาชุมชนอ่ืน ๆ ของการเคหะแหงชาติ ใหสอดคลอ งกับตวั ช้ีวัดชมุ ชนเขม แข็งพงึ่ พาตนเองอยางยงั่ ยืนและรองรบั การประเมนิ ชุมชนในปตอ ๆ ไป 2.4.6 การสงั เคราะหข อ มูลและการประมวลผลขอเสนอแนะเปนการประเมินตามเปาหมายที่กําหนดไวข อมูล ทน่ี าํ เสนอ ไดแก ระดับความพงึ พอใจตอการทํางานของคณะกรรมการชมุ ชน/คณะกรรมการนิติบุคคล ระดับความพึง พอใจตอ สาธารณปู โภคและส่ิงแวดลอมในการดําเนินชีวิตภายในชมุ ชน ขอมูลผูตอบแบบสอบถามของชุมชนเขมแข็ง พ่งึ พาตนเองอยางยัง่ ยนื ขององคก รตามกรอบแนวคดิ ของโครงการวจิ ัยดงั แสดงไวใ นภาพที่ 2-2

ภาพท่ี 2-2 กรอบแนวคิดของโครงการวจิ ัย

ตัวแปรอสิ ระ ตวั แปรตาม แนวทางสรุปผล และขอ เสนอแนะ (Independent Variables) (Dependent Variables) ระดับความพงึ พอใจท่มี ผี ล ขอ มลู ทวั่ ไปของผูตอบ ทศั นคติของประชาชนท่ีมี ตอ การดําเนินงาน แบบสอบถาม (เพศ, อาย,ุ ตอการดําเนนิ งานในการ สถานภาพการอยูอ าศยั , พัฒนาชมุ ชนเขม แขง็ พึ่งพา - ความพึงพอใจทีม่ ตี อการ ระยะเวลาการอยอู าศยั ) ทํางานของคณะกรรมการ ตนเองอยา งยัง่ ยนื ชุมชน/คณะกรรมการนิติ ยุทธศาสตรท ่ี 2 - ดา นการศกึ ษา การเพ่มิ ศักยภาพชุมชนให - ดา นความสัมพนั ธ บคุ คล - ดา นคุณภาพชีวิต เขม แขง็ และยกระดับ - ดานการสอื่ สาร/ชอง แบบประเมนิ ผล ชมุ ชนใหไดม าตรฐาน ทางการส่อื สาร - มติ ผิ นู าํ และการบริหาร - ดานความปลอดภัย กลยทุ ธท ี่ 2.1 ชวี อนามัย และส่งิ แวดลอ ม จัดการชมุ ชน ยกระดับคณุ ภาพชีวติ ชุมชน - มิตเิ ศรษฐกิจ - มิตคิ ณุ ภาพชวี ติ และ ใหเ ขม แขง็ ยง่ั ยนื สิง่ แวดลอ ม

19

โครงการพัฒนาชุมชนเขมแข็งพึง่ พาตนเองอยา งยั่งยืน ป 2564

2.5 ดัชนคี วามสขุ ของชมุ ชน ดัชนีความสุขของชุมชน หรือ Community Happiness Index (CH-Index) เปนอีกหนึ่งแนวคดิ ท่ีสามารถ

นํามาประยกุ ตใ ชก ับชุมชนทอ่ี ยคู วามดูแลของการเคหะแหงชาติ ประกอบดว ย

  1. ชีวติ ความเปนอยูท่ีดี (Human Well-being / HW) ซึ่งเกิดจากสังคมความเปนอยูที่ดี (Social Well-

being / SoW) และ เศรษฐกิจความเปน อยูท ี่ดี (Economic Well-being / EcW)

  1. นิเวศสิง่ แวดลอ มที่ดี (Eco-environment Well-being / EW) ซ่ึงเกิดจาก สิ่งแวดลอ มความเปนอยูที่ดี

(Environmental Well-being / EnW) และ การบริหารชมุ ชน (Urban or Community Governance / Ugv) ภาพท่ี 2-3 แสดงทม่ี าของแนวคิดดัชนีความสุข สวนตารางท่ี 2-3 และ 2-4 แสดงการนําแนวคิดนี้มาปรับใช

ใหเขากับบรบิ ทของการพฒั นาชมุ ชนเขมแขง็ พง่ึ พาตนเองอยางยัง่ ยนื หรือในการประเมินผลในอนาคต

ภาพท่ี 2-3 ทม่ี าและโครงสรา งของดัชนคี วามสขุ ของชุมชน

20

ตารางที่ 2-3 ดัชนีความสขุ ของชุมชน

Community Happiness Index (CH-Index/CHI) ความหมาย

SoW 1 Urban Crime and Safety สงั คมความเปน อยูทดี่ ี (Social Well-being) อาชญากรรมและความปลอดภัยของชมุ ชน SoW 2 Healthcare Service Adequacy การเขา ถงึ ระบบสาธารณสขุ SoW 3 Recreation/Sports มีกิจกรรมกีฬาและสนั ทนาการ ชี ิวตความเ ปนอ ูยที่ดี (Human Well-being/HW) SoW 4 Transport/Mobility Adequacy สามารถเดนิ ทางไดสะดวก SoW 5 Food Security อาหารสะอาดและปลอดภยั SoW 6 Poverty มีความเปนอยูพน เสนความยากจน SoW 7 Education Service Adequacy เขา ถงึ ระบบการศึกษาทเี่ หมาะสมเพียงพอ SoW 8 Neighborhood Connectedness การเช่ือมโยงกบั เพ่อื นบา น SoW 9 Social Connectedness การเชือ่ มโยงทางสงั คม SoW 10 Work Connectedness การเชือ่ มโยงดานหนา ทกี่ ารงาน SoW 11 Tolerance of Diversity การยอมรบั ความหลากหลาย SoW 12 Community Value รักษาคา นยิ มของชุมชน เศรษฐกจิ ความเปนอยูท ี่ดี (Economic Well-being) EcW 1 Family Income รายไดของครวั เรือน EcW 2 Cost of Living คาครองชีพ EcW 3 Home Ownership การไดถอื ครองโฉนดในทท่ี ่ีตนอยอู าศัย EcW 4 Housing Price/Affordability ราคาบา นทส่ี ามารถซื้อได EcW 5 Access to Job/Employment มีการจา งงาน/อตั ราการวางงานต่ํา EcW 6 Energy Efficiency ประสิทธภิ าพการใชพ ลังงาน EcW 7 Energy Cost ตน ทนุ ดานพลงั งาน สิ่งแวดลอ มความเปนอยทู ่ดี ี (Environmental Well-being) EnW 1 Physical/Built Environment ทัศนยี ภาพภายในชุมชน EnW 2 Air Pollution มลพิษทางอากาศ EnW 3 Water Pollution มลพิษทางน้าํ ินเวศส่ิงแวดลอมท่ีดี (Eco-environment Well-being/EW) EnW 4 Noise Pollution มลภาวะทางเสียง EnW 5 Housing/Home Environment สภาพแวดลอมภายในชมุ ชน EnW 6 Transport การคมนาคม/การขนสง EnW 7 Water Quality & Accessibility คุณภาพของน้าํ /การเขา ถงึ นา้ํ ดื่มทสี่ ะอาด EnW 8 Sanitation and Hygiene การสขุ าภบิ าลและสาธารณสขุ EnW 9 Waste Generation and Management การกอใหเ กดิ และการบรหิ ารจัดการของเสยี EnW 10 Green/Natural Environment พ้นื ท่ีสเี ขยี วและสภาพแวดลอมทางธรรมชาติ EnW 11 Natural Disaster ความพรอ มและการรบั มือกับสาธารณภัย การบริหารชมุ ชน (Urban/Community Governance) Ugv 1 Public Participation/Forum การมีสว นรวมของผูอ ยูอ าศัยในการบริหารชุมชน Ugv 2 Performance Delivery ผลงานของคณะกรรมการชุมชนเปนทป่ี ระจักษ Ugv 3 Facility for Citizen Complaints ชอ งทางสาํ หรบั แสดงความคิดเห็นหรอื รองเรียน Ugv 4 Trust คณะกรรมการชุมชนเปนที่ไวว างใจและพึ่งพาได Ugv 5 Fairness in Enforcing Law การบังคบั ใชกฎระเบยี บของการอยูอาศยั รว มกนั Ugv 6 Citizens' Charter (Right of Access to Basic Sevices) สทิ ธิของผอู ยูอาศัยในการไดร ับบรกิ ารข้ันพ้นื ฐาน Ugv 7 Appropriate Range and Quality of Council Services คณุ ภาพและจาํ นวนบริการโดยคณะกรรมการชมุ ชน

21

ตาราง 2-4 ความเชอื มโยงตวั ชวี ดั โครงการฯ กบั ดชั นคี วามสขุ ของชมุ ชน (CH-Index)

มติ ิ ตวั ชวี ดั เชอื มโยง CH-Index คะแนน M1 มชี อ่ งทางรับฟังความคดิ เห็นจากผอู ้ ยอู่ าศยั มากกวา่ 1 ชอ่ งทาง M1 มกี ารประชาสมั พันธช์ อ่ งทางแสดงความคดิ เห็นใหผ้ อู ้ ยอู่ าศยั ไดร้ ับทราบ Ugv3 2.00 Ugv3 2.00

M1 มกี ารประชมุ /วเิ คราะห/์ พจิ ารณาขอ้ คดิ เห็น/ขอ้ เสนอแนะทไี ดร้ ับจากผอู ้ ยอู่ าศยั Ugv1 Ugv2 2.00

M1 มกี ารนําขอ้ คดิ เห็นมาใชใ้ นการปรับปรุงการทํางาน/การใหบ้ รกิ าร Ugv1 Ugv2 2.00 M1 มกี ารทํางานในลกั ษณะตอ่ ยอด/ป้องกนั นอกเหนอื จากการแกไ้ ขปัญหา Ugv2 2.00 M2 มกี ารจัดกจิ กรรมภายในชมุ ชนตลอดทงั ปีไมน่ อ้ ยกวา่ 6 กจิ กรรม SoW8 SoW9 2.00

M2 มกี ารจัดกจิ กรรมเพอื ประโยชนช์ มุ ชนในลกั ษณะอนื ๆ นอกเหนอื จากวนั สาํ คญั /ตามประเพณี SoW12 2.00

M2 มกี ารจัดกจิ กรรมทคี รอบคลมุ ผอู ้ ยอู่ าศยั อยา่ งนอ้ ย 2 กลมุ่ เชน่ กลมุ่ เยาวชน, กลมุ่ ผสู ้ งู วยั ฯลฯ SoW3 2.00 M2 มกี ารประเมนิ ผลกจิ กรรมทจี ัดในแตล่ ะครังเพอื ปรับปรุงการจัดกจิ กรรมในครังตอ่ ๆไป Ugv2 2.00

M2 มภี าคเี ครอื ขา่ ยเขา้ รว่ มกจิ กรรมไมน่ อ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 50 ของจํานวนกจิ กรรมทจี ดั SoW10 2.00

E1 มพี นื ท/ี ระบบเพอื สรา้ งและสนับสนุนผปู ้ ระกอบการในชมุ ชน SoW6 EcW1 2.00 E1 มผี ปู ้ ระกอบการในชมุ ชนทเี กดิ จากระบบ/พนื ทที จี ดั ให ้ SoW6 EcW1 2.00 E1 ผปู ้ ระกอบการมกี ารรวมกลมุ่ เพอื สรา้ งความเขม้ แข็ง SoW6 2.00

E1 ผปู ้ ระกอบการสามารถสรา้ งรายไดจ้ ากภายนอกชมุ ชน EcW1 2.00

E1 ผปู ้ ระกอบการสามารถสรา้ งตราสนิ คา้ /บรกิ ารทเี ป็ นของชมุ ชน EcW1 2.00

E2 มกี ลมุ่ ออมทรัพยร์ ูปแบบใดรูปแบบหนงึ ในชมุ ชน 2.00

E2 มรี ะบบบนั ทกึ บญั ชที ตี รวจสอบได ้ 2.00

E2 มกี ารเปิดเผยขอ้ มลู ผลการดําเนนิ งานตอ่ สมาชกิ /สาธารณชนอยา่ งนอ้ ยปีละ 1 ครัง 2.00

E2 มกี ารจัดสรรเงนิ จากกลมุ่ ออมทรัพยม์ าชว่ ยกจิ กรรมพัฒนาชมุ ชน 2.00

E2 มกี ารลงทนุ /หารายไดจ้ ากภายนอกชมุ ชนทมี ากกวา่ การนําเงนิ ไปฝากธนาคาร 2.00

Q1 มรี ะบบ/ขนั ตอน/กลมุ่ /ผทู ้ าํ หนา้ ทตี รวจสอบดแู ลภายในชมุ ชน SoW1 2.00

Q1 มกี ารทํางานประสานรว่ มกบั หน่วยงานภายนอก เชน่ ตํารวจ SoW1 2.00 Q1 มกี จิ กรรมในเชงิ ป้องกันและเสรมิ สรา้ งการใชเ้ วลาทดี ี SoW3 2.00 Q1 มกี จิ กรรมร่วมกบั เครอื ขา่ ยภายนอกชมุ ชนอยา่ งนอ้ ยปีละ 1 ครัง SoW8 SoW9 2.00

Q1 ไมพ่ บ/ไมม่ รี ายงานคดสี าํ คญั /รา้ ยแรงทเี กดิ ขนึ ภายในชมุ ชน SoW1 2.00

Q2 มรี ะบบจัดการขยะทไี มท่ าํ ใหเ้ กดิ มลพษิ หรอื ความรําคาญ EnW9 2.00 Q2 มกี จิ กรรมใหค้ วามรแู ้ ละสง่ เสรมิ การคดั แยก/จัดการขยะ EnW9 2.00

Q2 มกี ารทํางานประสานรว่ มกบั หน่วยงานภายนอกอยา่ งเป็ นระบบ EnW9 2.00

Q2 มรี ะบบ/ขนั ตอนวธิ กี ารสรา้ งรายไดจ้ ากการจัดการขยะ EnW9 2.00 Q2 มกี ารนํารายไดจ้ ากขยะมาสนับสนุนกจิ กรรมชมุ ชน EnW9 2.00 M3 1.1 การใหบ้ รกิ ารแกผ่ อู ้ ยอู่ าศยั Ugv2 Ugv6 Ugv7 3.00

M3 1.2 การดแู ลกายภาพและความรม่ รนื ภายในโครงการ EnW1 EnW5 3.00

M3 1.3 การดแู ลใหเ้ ป็ นไปตามกฏระเบยี บ/วฒั นธรรมการอยรู่ ว่ มกันทดี ี SoW8 SoW9 Ugv5 3.00 M3 1.4 การสอื สารและสรา้ งการมสี ว่ นร่วมของชมุ ชน Ugv1 Ugv3 3.00

M3 1.5 การจัดโครงการและกจิ กรรมเพอื เพมิ คณุ ภาพชวี ติ ในชมุ ชน SoW3 SoW8 SoW12 3.00

M3 1.6 ความซอื สตั ย์ โปร่งใส มจี รยิ ธรรมในการทาํ งาน Ugv4 5.00 Q3 2.1 ความสะอาดภายในโครงการ EnW8 3.00 Q3 2.2 ไฟฟ้าและแสงสวา่ งในโครงการ EcW6 EcW7 3.00

Q3 2.3 สภาพถนนและการจราจร SoW4 EnW6 3.00

Q3 2.4 พนื ทสี เี ขยี ว EnW10 3.00 Q3 2.5 พนื ทพี ักผอ่ นหยอ่ นใจและออกกําลงั กาย SoW3 3.00

Q3 2.6 ระบบการดแู ลความปลอดภัยในชวี ติ และทรัพยส์ นิ SoW1 5.00

ชุมชนตอ้ งไดร้ บั อยา่ งนอ้ ย 70 คะแนนเพอื ผา่ นการประเมนิ ในระดบั ที 3 (ชมุ ชนเขม้ แข็งพงึ พาตนเองอยา่ งยงั ยนื ) 100.00

22

โครงการพัฒนาชุมชนเขม แข็งพงึ่ พาตนเองอยา งยง่ั ยนื ป 2564

2.6 การศกึ ษากจิ กรรมพฒั นาชุมชนป 2564 ในภาวะปกตกิ ารเคหะแหงชาตจิ ะดาํ เนินกจิ กรรมพัฒนาชุมชนในดานตาง ๆ ณ สถานที่ (Onsite) คือท่ีชุมชน

โดยตรง โดยมีนักพฒั นาสงั คมเดินทางไปยงั ชุมชนเพ่ือฝก อบรมความรดู านตา ง ๆ ซงึ่ ทาํ ใหสามารถมีปฏิสัมพันธก ับผูอยู อาศยั และรับทราบถึงปญ หาหรือความตอ งการอ่ืน ๆ ของแตละชุมชนอีกดวย แตเนื่องจากการแพรระบาดของไวรัสโค โรนา (COVID-19) ท่ียืดเยื้อมาตงั้ แตต น ป 2563 และทวีความรนุ แรงมากข้ึนในป 2564 ซ่ึงสงผลกระทบอยางมากตอ แผนการดําเนินกิจกรรมพัฒนาชุมชนทไ่ี ดวางไว จึงจําเปนตองปรับเปล่ียนรปู แบบกิจกรรมใหเปนออนไลนเพื่อความ ปลอดภยั ของท้ังบคุ ลากรการเคหะแหง ชาติและผูอ ยอู าศัยในชุมชน รายละเอยี ดของกจิ กรรมมีดังตอ ไปน้ี

  1. การฝกใชแอพพลิเคชั่นประชุมออนไลน เพื่อเปนการเตรยี มความพรอมสําหรับการดําเนินกิจกรรมพัฒนา ชุมชนในรูปแบบออนไลน นักพัฒนาสังคมตองฝกการใชแอพพลิเคชั่นสําหรับการประชุม (VDO Meeting Application) ใหชาํ นาญ สามารถแกไ ขการขดั ขอ งทางเทคนิคซง่ึ มีโอกาสเกิดสงู ระหวางการอบรม และพรอมถายทอด วิธกี ารใชใหผ อู ยูอ าศยั ที่เขามาฝก อบรม โดยแอพพลเิ คชน่ั ท่ีเลอื กใชค ือ Microsoft Teams
  1. การทําน้ําจุลนิ ทรีย น้ําจุลนิ ทรียที่มปี ระสิทธิภาพ หรือ EM (Effective Micro-organisms) คือการเลี้ยง แบคทีเรียหรือสิ่งมีชวี ิตขนาดเลก็ ที่ไมใชเช่ือโรคเพ่ือใชประโยชน ใชในการชว ยลดกล่ินเหม็นของหองนํ้า ยอยสลายสิ่ง ปฏกิ ลู ทตี่ กคา งในทอระบายนาํ้ และเรงการยอยสลายของสารอนิ ทรยี ใ นกระบวนการทาํ ปยุ หมกั ชุมชนสามารถรวมกัน ทํานํ้า EM และเก็บไวในถัง (แทงค) ขนาดใหญของสวนกลาง หรือแยกบรรจุขวดแจกตามครัวเรือน นอกจากน้ียัง สามารถทําในเชงิ พาณิชยไดโ ดยการตดิ แบรนดขาย
  1. รอบรสู ุขภาพ หางไกล COVID-19 เปนการอบรมทีเ่ นื้อหาเนนเรอื่ งความรูด านสุขภาพ (Health Literacy) เพือ่ ใหส ามารถดแู ลตนเองและครอบครัวในภาวะการระบาดอยา งรนุ แรงของ COVID-19
  1. การปลกู ตนออ นทานตะวัน ตน ออนทานตะวันมีลักษณะคลายถั่วงอกขนาดใหญ เปนอาหารท่ีดีตอสุขภาพ มีวิธกี ารปลูกที่คลา ยถั่วงอกเชนกันโดยปลูกในถาดใสดิน สําหรับชุมชนท่ีสนใจการเคหะแหงชาตจิ ะจัดเตรียมอุปกรณ การปลูกไปให ทผ่ี านมาการปลูกตนออนทานตะวันไดรับความนิยมจากหลายชุมชน ในบางชุมชนสามารถสรา งรายได อยา งเปนกอบเปนกําใหแ กกลุมอาชีพ หรือเปนรายไดข องกองทนุ สว นกลางทีใ่ ชสาํ หรบั จัดกจิ กรรมตา ง ๆ ของชมุ ชน
  1. ทกั ษะกีฬาและการออกกําลังกายเพ่ือสุขภาพ การออกกําลังกายเปนกิจกรรมท่ีการเคหะแหงชาติสงเสริม มาตลอด เพราะนอกจากเรื่องของสขุ ภาพแลวยังเปนการทําใหเยาวชนใชเวลาวางใหเปนประโยชน หางไกลยาเสพตดิ จึงไดจดั การประชมุ ออนไลนใ หชุมชนทส่ี ามารถสรา งทีมกีฬาไดรับการสนับสนุนดานอปุ กรณ
  1. การบริหารจัดการขยะใหเ กดิ มูลคา การเคหะแหงชาติสงเสรมิ กิจกรรมดานส่งิ แวดลอมมาโดยตลอด มีการ จัดทําโครงการตาง ๆ อยางสม่ําเสมอเพ่ือสงเสริมใหชุมชนมีระบบการบริหารจัดการขยะที่มีประสิทธิภาพ เพื่อสราง รายไดแ ละลดปรมิ าณขยะ ขยะสามารถแบง ออกไดเปนหลายประเภทและตองใชการจัดการทีต่ า งกัน

 ขยะอนิ ทรยี  (เชน เศษอาหาร ก่ิงไมใบหญา มลู สัตว ฯลฯ) สามารถนาํ ไปทาํ ปยุ หมกั  ขยะรไี ซเคิล (เชน พลาสติก แกว กระดาษ โลหะ ฯลฯ) สามารถนาํ ไปสรางรายไดโดยการขายเขา สรู ะบบ

เศรษฐกจิ หมุนเวียน (Circular Economy)  ขยะอันตราย (เชน หลอดไฟ แบตเตอร่ี ฯลฯ) เปนขยะทเี่ ปน พิษ อาจเกิดอันตรายหากสัมผสั หรอื ขนยายแบบ

ผิดวธิ ี และสง ผลเสยี ตอ สง่ิ แวดลอ มในระยะยาว ขยะเหลา นี้ตอ งถกู กําจัดดว ยวธิ ีพเิ ศษโดยผเู ช่ยี วชาญ จงึ ตอ ง ถกู คดั แยกไวต างหาก  ขยะช้นิ ใหญ (เชน ทน่ี อนเกา เฟอรน เิ จอรเ กา ฯลฯ) เปน ขยะทม่ี ขี นาดใหญเ กนิ กวา องคก ารปกครองสวน ทองถนิ่ จะสามารถมารับไดเปน ประจํา จงึ ตอ งถกู แยกไวและนดั วนั รบั ตา งหาก  ขยะทัว่ ไป คอื ขยะที่เหลือซึ่งไมส ามารถแยกตอ ไดอ กี องคการปกครองสว นทองถ่ินเปน ผูรบั ไปกาํ จัด

  1. การเลยี้ งหอยขม สาํ หรับชมุ ชนทม่ี พี ้ืนท่ีเพยี งพอสามารถสรา งบอซีเมนตเพ่ือใชเลี้ยงหอยขม ซงึ่ เปนหน่ึงใน กิจกรรมทีใ่ ชป ระโยชนจ ากพ้ืนทวี่ างเพื่อสรางรายไดใหก ลมุ อาชีพ หรือเปน รายไดส าํ หรับกองทุนสวนกลางของชมุ ชน

23

โครงการพัฒนาชมุ ชนเขมแข็งพ่ึงพาตนเองอยางยั่งยนื ป 2564

  1. การสานกระเปาพลาสติก เปนงานหัตถกรรมทีป่ ระดิษฐกระเปาจากเสนพลาสติก ใชเวลาไมนานตอ ชิ้น มี ตนทุนไมมาก สามารถนําไปใชแทนถุงพลาสติก ขายงาย เปนการสรางรายไดใหกับกลุมอาชีพ วัสดุที่ใชอาจพลาสติก ท่ีมาจากกระบวนการรไี ซเคลิ (วิทยากรผสู อนทํากระเปาเปน ผสู ูงอาย/ุ กลมุ แมบ าน)
  1. การทาํ นํ้ายาอเนกประสงค การเคหะแหงชาติสงเสริมใหผูอยูอาศัยในชุมชนทําน้ํายาเอนกประสงค (น้ํายา ลางจาน สบูเหลว นํ้ายาปรับผานุม ฯลฯ) ไวใชเอง เปนการลดคาใชจายของภาคครัวเรือน และเพ่ือใหเกิดเงิน หมุนเวยี นภายในชมุ ชนเองและชุมชนใกลเ คยี ง
  1. วิถใี หมหางไกล COVID-19 ทามกลางสถานการณการแพรระบาดของเช้ือไวรัส COVID-19 นอกจากการ ฉีดวัดซีนเพ่ือใหเกิดภูมิตานทาน และการปองกันพื้นฐาน (เชน การสวมหนากากอนามัย การใชเจลแอลกอฮอล การ ลางมืออยางสม่ําเสมอ การเวนระยะหางทางสังคม ฯลฯ) แลว การรักษาสุขภาพใหแข็งแรงไวกอนนั้นก็มีความสําคัญ เปนอยางย่ิง ซึ่งถาหากเกิดการติดเช้ือแตรางกายแข็งแรง อาจทําใหอาการของโรคอาจไมรุนแรงมากนัก การอบรม “วิถีใหมหางไกล COVID-19” จึงเนนใหความรูดานโภชนาการ อาหารเพ่ือสุขภาพ และการเตรียมรางกายใหพรอม เผชิญกบั COVID-19
  1. การทําถังหมักรักษโลก (Green Cone) เปนวิธีการจัดการเศษอาหารหรือขยะอินทรยในระดบั ครัวเรือน ใหเปนปุยอินทรีย โดยนําถังมาตัดกนหรือเจาะรูแลวนําไปฝงดินใหเหลือไวแตสวนบนที่พนหนาดิน มีฝาปด ใชท้ิง เฉพาะเศษอาหาร ราดดวยนํ้า EM เพื่อชวยลดกลิ่นและเรงการยอยสลาย เศษอาหารจะคอย ๆ กลายเปนปุยหมักทํา ใหดินบริเวณนั้นอดุ มสมบรู ณ
  1. การทาํ นํ้าพริกปลาฉง้ิ ฉา งสม แขก เปนกจิ กรรมฝกทํา “นํ้าพริกปลาฉ้ิงฉาง สมแขก” เพ่ือจัดตั้งกลุม อาชีพ ในชมุ ชน โดยมวี ิทยากรคอื “คุณปาริชาติ คนเรยี น” จากกลมุ วิสาหกจิ ชุมชนบานบางเทา อําเภอถลาง จงั หวัดภูเก็ต ผู ไดรับรางวัลโอทอป (OTOP) 4 ดาว และชนะเลิศอันดับหนึ่งการประกวดอาหารจากผลิตภัณฑ “ขาวยําคลุกภูเก็ต” และ “นํ้าชบุ หยาํ ภเู กต็ ”

การดําเนินกิจกรรมซึ่งถูกปจจัยภายนอกบังคับใหปรับเปล่ียนเปนรูปแบบออนไลนน้ี (รูปภาพการดําเนิน กิจกรรมแสดงในภาคผนวก ข) ทําใหนักพัฒนาชุมชนสามารถพบปะกับผูอยอู าศัยจากหลากหลายชุมชนของการเคหะ แหงชาติพรอมกัน จากท่ีโดยปกตจิ ะสามารถพบปะไดเ พียงแตล ะชุมชน ซึง่ ถือเปนประสบการณใ หมแ ละสามารถนาํ ไป ตอ ยอดได ในอนาคตการเคหะแหง ชาตสิ ามารถจัดทําคอรสการอบรมออนไลนเก็บไวเปน คลงั (Library) และพัฒนาใน เปนระบบ E-Learning เตม็ รปู แบบ ใหผูอยูอาศัยในชุมชนสามารถเขา มาเรียนรูไ ดต ลอดเวลา

24

โครงการพฒั นาชุมชนเขม แข็งพงึ่ พาตนเองอยางยง่ั ยนื ป 2564

บทท่ี 3 การดาํ เนนิ งาน

3.1 หลักเกณฑท ่ีใชใ นการประเมนิ ผล วธิ ีการประเมินผลโครงการพัฒนาชุมชนเขมแข็งพึ่งหาตนเองอยางยั่งยนื ป 2564 ใชหลักเกณฑดังเชน

ทกุ ปท ่ผี านมา รวม 100 คะแนน ซงึ่ ประกอบดว ย 3 มิติ (ตารางที่ 3-1) ไดแก มิติ 1 ดานผูนาํ และการบรหิ ารจัดการชุมชน (M: Management) มิติ 2 ดา นเศรษฐกิจ (E: Economic) มิติ 3 ดา นคุณภาพชีวติ ิและสง่ิ แวดลอม (Q: Quality of Life)

ชุมชนที่ผานการประเมิน (ระดับที่ 3) ชุมชนเขมแข็งพึ่งพาตนเองอยางยั่งยนื ตองมีคะแนนข้ันต่ํา 70 คะแนน (ตารางที่ 3-2) โดยทงั้ หมดแบงออกเปน 42 ตัวชี้วัดยอย (ตารางที่ 3-3 ถึง 3-4) ตารางที่ 3-1 มติ ิและตวั ช้ีวดั คะแนนในการประเมนิ ชมุ ชนเขม แขง็ พ่ึงพาตนเองอยา งย่ังยืน

ตารางท่ี 3-2 เกณฑการผา นการประเมินในแตละระดบั คะแนนข้นั ตํา่

ระดับของชุมชน 50 60 ระดับท่ี 1 ชุมชนเขม แขง็ 70 ระดับที่ 2 ชุมชนเขมแข็งพึง่ พาตนเอง ระดบั ที่ 3 ชุมชนเขมแข็งพง่ึ พาตนเองอยางยงั่ ยืน

การประเมนิ ผลแบง ออกเปน 2 สว น คอื 3.1.1 การประเมนิ โดยผูเชยี่ วชาญจากคณะที่ปรกึ ษาสาํ หรับชุมชนระดับท่ี 3 โดยพิจารณาจากหลักฐาน ทเี่ ปน รูปธรรมของชมุ ชน เชน แผนงาน รายงาน บญั ชีการรับ-จาย ทะเบียนตาง ๆ ภาพถา ย รายงานการประชุม ฯลฯ รวมถึงการสงั เกตตรวจสอบในพ้ืนท่ีชุมชนจรงิ สาํ หรับตัวช้ีวัดในมิติและตัวช้ีวัดที่ M1, M2, E1, E2, Q1 และ Q2 จาํ นวน 30 ขอ รวม 60 คะแนน (ตารางท่ี 3-3) 3.1.2 การประเมนิ จากการสํารวจความพงึ พอใจของผอู ยูอาศัยโดยแบบสอบถาม เกณฑการประเมนิ ความเขม แข็งของชุมชน สําหรบั มติ แิ ละตัวชวี้ ดั ที่ M3 และ Q3 จาํ นวน 12 ขอ รวม 40 คะแนน (ตารางท่ี 3-4)

25

โครงการพัฒนาชุมชนเขม แข็งพ่ึงพาตนเองอยางยง่ั ยนื ป 2564

ตารางที่ 3-3 หลกั เกณฑการประเมินและการใหคะแนน คะแนนสว นที่ 1 : การประเมนิ โดยผเู ช่ยี วชาญโดยใชแบบประเมนิ (3 มิติ มิตลิ ะ 20 คะแนน รวม 60 คะแนน)

26

โครงการพฒั นาชมุ ชนเขมแข็งพึ่งพาตนเองอยา งยัง่ ยนื ป 2564

ตารางท่ี 3-3 หลักเกณฑก ารประเมินและการใหค ะแนน (ตอ ) คะแนนสวนที่ 1 : การประเมินโดยผเู ชี่ยวชาญโดยใชแบบประเมนิ (3 มิติ มิตลิ ะ 20 คะแนน รวม 60 คะแนน)

27

โครงการพัฒนาชมุ ชนเขมแข็งพง่ึ พาตนเองอยา งยั่งยืน ป 2564

ตารางท่ี 3-4 หลักเกณฑการประเมินและการใหคะแนนดวยแบบสอบถาม คะแนนสวนที่ 2 : การประเมนิ โดยการสาํ รวจความพงึ พอใจของผูอยอู าศยั โดยใชแบบสอบถาม (2 มิติ มติ ิละ 20 คะแนน รวม 40 คะแนน)

มิตติ วั ชว้ี ดั เกณฑก ารใหค ะแนน

(5 คะแนน)

3.2 เครื่องมอื ทีใ่ ชใ นการจดั เก็บขอ มูล 3.2.1 แบบประเมินผล (Evaluation Form) ใชบ ันทึกคะแนนจากการสัมภาษณและการประชุมรวมกับ

ชุมชน และการเก็บหลักฐานที่เกี่ยวของ ตามตัวชว้ี ัดดานการทํางาน/การใหบริการตอชมุ ชนของคณะกรรมการมี การรับฟงความคิดเห็นจากผอู ยูอาศัยและนําขอคิดเห็นมาปรับปรุงการทํางานอยา งตอเนื่องสมํ่าเสมอ (M1) ดาน การดําเนินโครงการหรือการจัดกิจกรรมชุมชนท่ีครอบคลุมผูอยอู าศยั กลุมตาง ๆ โดยไดรับความรวมมือจากภาคี เครือขา ยในภาคสวนตา ง ๆ (M2) ดานการยกระดับเศรษฐกิจภายในชุมชน (E1) ดานการยกระดับการออมภายใน ชมุ ชน (E2) ดานการปลอดยาเสพตดิ และอบายมุข (Q1) และดา นการจดั การขยะภายในชมุ ชน (Q2)

3.2.2 แบบสอบถาม (Questionnaire) ใชในการเก็บขอมูล โดยมีทั้งคําถามปลายเปดและปลายปด เพื่อใหครอบคลุมกับวัตถุประสงคของการศึกษา ซ่ึงรายละเอียดของเน้ือหาประกอบดวยขอมูลทั่วไปของ ผูอยอู าศยั คาํ ถามเกี่ยวกับความพึงพอใจท่ีมีตอ คณะกรรมการชุมชน (M3) และคําถามท่ีเก่ียวกับความพึงพอใจ ท่มี ีตอ สาธารณปู โภคและสิง่ แวดลอ มในการดําเนินชีวิตภายในชุมชน (Q3)

28

โครงการพัฒนาชุมชนเขม แข็งพึง่ พาตนเองอยา งย่ังยืน ป 2564

3.3 วิธีการจัดเกบ็ และนําเขาขอ มูล สวนของการสํารวจความพึงพอใจของผูอยูอาศยั เปนการวิจัย/สํารวจเชิงปริมาณ (Quantitative Research)

โดยใชแบบสอบถาม (Questionnaire) จํานวน 3,410 ชุด เปนชุมชนระดับที่ 3 ท้ังหมด สวนการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) คือการโดยใชแบบประเมินผลใหคะแนนจากหลักฐานประเภทเอกสาร ภาพถา ย คลิปวีดีโอ และประจักษพยานในที่ประชุม เพื่อประเมินระดับความสําเร็จในการพัฒนาชุมชนเขมแข็งพ่ึงพาตนเองอยา งย่ังยืน โดยศึกษาเฉพาะประชากรเปาหมายซ่ึงประกอบดวยประชากรผูอยูอาศัยในพ้ืนที่ ผูบริหารชุมชน หัวหนาสํานักงาน เคหะจงั หวัด/นครหลวง ผูปฏบิ ตั ิงานดานการพฒั นาชุมชนในพน้ื ทเ่ี ปา หมาย และภาคีรวมพฒั นาทเ่ี กีย่ วของ

3.3.1 การเกบ็ รวบรวมขอมูลกอนการสาํ รวจ ประกอบดวย การวิจัยเอกสาร (Document Review) จาก เอกสารตา ง ๆ ที่เกยี่ วขอ งไดแก บทความวิชาการหนังสอื วิชาการกฎหมายตาง ๆ ที่เกี่ยวของ และขอมูลขาวสารตาง ๆ และการรวบรวมขอมูลทุติยภูมิ (Secondary Data) โดยคณะที่ปรึกษาคนควาจากหนงั สือตําราบทความ เวบ็ ไซตของ การเคหะแหง ชาติ ผลการศึกษาในปทผ่ี าน ๆ มา และขอ มูลท่ัวไปเก่ียวกับการพัฒนาชุมชนเขมแข็งพ่ึงพาตนเองอยาง ยั่งยืนขององคกรเพื่อใชเปนแนวทางในการสํารวจครั้งนี้ เชน 1) ขอมูลพ้ืนฐานจากเว็ปไซตหรือเพจของชุมชน

  1. ขอ มูลโครงการ/กิจกรรมทด่ี าํ เนินงานโดยการเคหะแหงชาติ 3) ขอมลู สรุปผลโครงการ/กิจกรรม และความพึงพอใจ ของประชาชน/ขาราชการ/ผูอยูอาศัยในชุมชน รวมท้ังผูมีสวนไดสวนเสียอื่น ๆ ท่ีดําเนินงานโดยการเคหะแหงชาติ
  2. ขอมูลการดําเนินงานดา นการพัฒนาชุมชนเขมแข็งพึ่งพาตนเองอยางยงั่ ยืนขององคกรเพ่ือสังคมที่มีปฏิสัมพันธกับ ชุมชนโดยรอบพื้นท่ีซง่ึ ไดด าํ เนินการไปแลว

3.3.2 การดําเนินการสํารวจ ประกอบดว ยการสัมภาษณดวยแบบสอบถามและแบบประเมนิ ผล (ภาพท่ี 1-2) กับประชากรผูอยใู นพื้นทีเ่ ปา หมายทีเ่ ขา รว มกิจกรรมตามตัวชว้ี ัดชุมชนเขม แขง็ พงึ่ พาตนเองอยางยง่ั ยืน ผูบริหารชุมชน หัวหนา สํานักงานเคหะจงั หวัด/นครหลวง ผูป ฏบิ ตั ิงานดา นบรหิ าร/พัฒนาชมุ ชนในพื้นที่เปาหมาย และภาครี วมพัฒนา ที่เก่ียวขอ ง จากนัน้ ผูศกึ ษาจะนําขอ มลู ท้งั หมดมารวบรวมจัดหมวดหมูภายใตกรอบแนวคิดที่ใชศึกษาโดยอางอิงทฤษฎี หลกั การประเมนิ โครงการ และการวัดความพึงพอใจขอมูลปฐมภมู ิ (Primary Data) กําหนดการที่คณะที่ปรึกษาไดลง พื้นทเี่ พ่อื ประเมนิ ผลและสาํ รวจดวยแบบสอบถาม แสดงไวใ นตารางท่ี 3-5 และ 3-6

3.3.3 การนาํ เขาขอมูล ขอมูลทีไ่ ดจะถูกนําเขา (Data Entry) 2 คร้ัง โดยผูนําเขา 2 กลุม และนาํ มา เปรยี บเทียบกนั เพ่ือใหเกิดความผิดพลาดนอยท่ีสดุ ควบคุมโดยใชหมายเลข Running Numbers ซึง่ จะประทบั ตัง้ แต ขนั้ ตอนการจดั พิมพแบบสอบถามกอนการลงพ้ืนทีส่ ํารวจ (Pre-assigned Running Numbers) 3.4 การวิเคราะหข อมูลเชิงปริมาณโดยใชส ถิติข้นั พืน้ ฐาน

ขอมูลเชิงปริมาณจากคําถามแบบปลายปดในแบบสอบถามจํานวน 3,410 ชุด ดําเนินการแบบสุมตัวอยาง จากประชาชนท่ีอยูในเขตพื้นท่ีศึกษา และนําขอมูลมาวิเคราะหเชิงสถิติข้ันพ้ืนฐาน (Statistical Analysis) เชน จาํ นวนนบั (Counts) จํานวนรวม (Summation) และคา เฉล่ยี (Average) นําเสนอขอมูลที่วิเคราะหไดใ นรูปแบบของ รอยละและแสดงทศนยิ ม 2 ตาํ แหนง 3.5 การวิเคราะหข อ มูลเชงิ คณุ ภาพ

ขอมูลเชิงคุณภาพหรือการสัมภาษณเชิงลึกเปนการพูดคุย สนทนา สอบถามขอมูลขอคิดเห็นในประเด็นท่ี เก่ียวของกับการการพัฒนาชุมชนเขมแข็งพึ่งพาตนเองอยางยั่งยืนขององคกรแกสังคม รวมทั้งการรับฟงทัศนคติ/ ขอเสนอแนะของชุมชนในพื้นที่รับผิดชอบของหนวยงาน เพื่อใหไดขอมูลที่สามารถนําไปปรับปรุงหรือวางแผนการ ดําเนินงานใหสอดคลองกับความตองการของชุมชนใหไดมากท่ีสุด ใชเทคนิคการถอดเทปผานเครื่องมือทาง สังคมศาสตรท่ีเรียกวา การวิเคราะหบทสนทนา (Conversational Analysis) รวมกับการศึกษาหลักฐานประเภท เอกสาร ภาพถาย และคลิปวีดีโอ

29

โครงการพัฒนาชมุ ชนเขม แข็งพ่งึ พาตนเองอยา งยงั่ ยืน ป 2564

3.6 เครือ่ งมอื ที่ใชใ นการดาํ เนินงาน ในภาวะที่การระบาดของไวรัสโคโรนา (COVID-19) เปนไปอยางรุนแรง นอกจากมาตรการที่สมาชิกทุกคนใน

คณะทีป่ รกึ ษาจะตอ งปฏิบตั ิตามอยา งเครง ครดั เชน การสวมหนากากอนามยั แผน ปกปองใบหนา (Face Shield) การ ประชุมออนไลน ฯลฯ แลว คณะท่ีปรึกษายังไดนําเครื่องมือตาง ๆ มาใชเพื่อใหโครงการสามารถดําเนินไปไดอยาง ราบรืน่ และบรรลเุ ปาหมายไดอยางมีประสทิ ธิภาพสูงสดุ เครอื่ งมือเหลาน้ไี ดแก

3.6.1 Facebook Group ในการลงพ้ืนที่ทกุ คร้ัง ทั้งการประเมินและการสํารวจดวยแบบสอบถาม คณะที่ ปรึกษาไดทําการบันทึกเวลาโดยใชวิธีการถายทอดสดผานทางเฟซบุก (Facebook Live) ผานกลุมท่ีไดส รางมาเพื่อ โครงการโดยเฉพาะ ตามลิ้งคและรหัสคิวอารในภาพท่ี 3-1 กลุมน้ียังใชเปนแหลง สําหรับเก็บภาพถายและคลิปวีดีโอ โดยเจาหนา ท่ภี าคสนาม ทง้ั ผปู ระเมนิ และผูสํารวจแบบสอบถาม ภาพท่ี 3-1 Facebook Group สาํ หรับบนั ทึกการทาํ งาน https://www.facebook.com/groups/153924620043204

3.6.2 Google Tools คณะทป่ี รึกษาไดจัดทําโฟลเดอรกลางในกูเก้ิลไดรฟ (Google Drive) เพ่ือใหนักพัฒนา สังคมของการเคหะแหง ชาติ สามารถอพั โหลดขอ มูลท่เี กย่ี วกับชุมชน (รูปภาพ เอกสาร และไฟลต าง ๆ) โดยมีการแบง โฟลเดอรย อ ยแยกตามชมุ ชนทั้ง 49 แหง เพื่อใหคณะท่ีปรึกษาไดนาํ ไปศึกษาประกอบการลงพ้ืนท่ี ในสวนของวันและ เวลานัดหมายชุมชนไดบันทึกไวในปฏิทนิ กเู ก้ลิ (Google Calendar)

3.6.3 Gantt Chart แกนทช ารทเพื่อแสดงระยะเวลาและความกา วหนาของการดําเนนิ งาน (ภาพท่ี 3-2) 3.6.4 Online Questionnaire แบบสอบถามออนไลน (ภาพที่ 3-3) แยกรหสั คิวอารเปนรายชมุ ชน 3.7 การลงพน้ื ท่เี พอื่ ดาํ เนินโครงการ คณะท่ีปรึกษามีกําหนดการดําเนินโครงการใหแลวเสร็จภายใน 180 วัน นับถัดจากวันท่ีการเคหะแหงชาติมี หนังสือแจงใหสามารถเร่ิมดําเนินงานเปนลายลักษณอักษร (23 มิถุนายน - 19 ธันวาคม 2564) ตารางท่ี 3-5 แสดง ระยะเวลาของการดาํ เนินโครงการและสดั สว น (รอ ยละ) ทไี่ ดดาํ เนินการแลวเสร็จ สวนภาพที่ 3-2 คือ Gantt’s Chart แสดงชวงเวลาของแตล ะกจิ กรรม ตารางที่ 3-6 ถงึ 3-8 แสดงกําหนดการลงพ้นื ทแี่ ละหมายเลขแบบสอบถาม

30

ตารางที 3-5 ระยะเวลาของการดาํ เนนิ โครงการ และสดั สว่ น (รอ้ ยละ) สดั สว่ นรอ้ ยละ วนั ที วนั ที จํานวน จาํ นวนวนั ของกจิ กรรมทไี ดด้ าํ เนนิ การแลว้ เสร็จ ทไี ดด้ าํ เนนิ การแลว้ เสร็จ เรมิ เสร็จสนิ วนั ใชไ้ ป นบั จากเรมิ โครงการ 21-12-2021 23-06-21 19-12-21 31 ลําดบั กจิ กรรม 182 180 100% 23-06-21 27-07-21 A การเตรยี มการดาํ เนนิ งาน และรายงานเบอื งตน้ 100% 23-06-21 05-07-21 35 35 A.1 แหลง่ ขอ้ มลู / เอกสารทางวชิ าการ / แผนและนโยบาย 100% 23-06-21 05-07-21 13 13 A.2 ผลการประเมนิ ของโครงการปีกอ่ นหนา้ 100% 23-06-21 05-07-21 13 13 A.3 ความสําคัญ / วัตถปุ ระสงค์ / ประโยชนท์ คี าดวา่ จะไดร้ ับ 100% 23-06-21 05-07-21 13 13 A.4 ขอบเขตการดําเนนิ โครงการ / ระเบยี บวธิ วี จิ ัย 100% 30-06-21 10-07-21 13 13 A.5 วธิ กี ารและแผนการดําเนนิ งาน 100% 30-06-21 10-07-21 11 18 A.6 วางแผนการนํามาใช ้สถติ /ิ การวเิ คราะห/์ วธิ กี ารประเมนิ ผล 100% 05-07-21 15-07-21 11 18 A.7 จัดเตรยี ม/จัดสง่ รายงานเบอื งตน้ / PowerPoint / CD 100% 24-07-21 27-07-21 11 23 A.8 ตรวจรับงานงวดที 1 100% 27-07-21 05-11-21 4 35 B การลงพนื ทปี ระเมนิ ผลชมุ ชน และรา่ งรายงานฉบบั สมบรู ณ์ 100% 15-07-21 27-07-21 102 136 A.9 จัดเตรยี มแบบสอบถามทังแบบพมิ พแ์ ละดจิ ติ อล 100% 15-07-21 27-07-21 13 35 A.10 จัดเตรยี มเครอื งมอื และอปุ กรณ์ในการดําเนนิ งานอนื ๆ 100% 27-07-21 31-08-21 13 35 B.1 การลงพนื ทสี าํ รวจดว้ ยแบบสอบถาม (แบบพมิ พ)์ 100% 28-08-21 09-09-21 36 70 B.2 การสํารวจดว้ ยแบบสอบถาม (ดจิ ติ อล) 100% 08-08-21 31-08-21 13 79 B.3 การลงพนื ทเี พอื ประชมุ ประเมนิ ผลรว่ มกบั ชมุ ชน 100% 10-08-21 10-09-21 24 70 B.4 นําเขา้ ขอ้ มลู และประมวลผลการสํารวจจากแบบสอบถาม 100% 01-09-21 09-09-21 32 80 B.5 ทบทวนผลการประเมนิ 100% 07-09-21 10-09-21 9 79 B.6 รายงานผลการสาํ รวจเบอื งตน้ 100% 30-09-21 28-10-21 4 80 B.7 จัดเตรยี ม/จัดสง่ รา่ งรายงานฉบบั สมบรู ณ์ / PowerPoint / CD 100% 02-11-21 05-11-21 29 128 B.8 ตรวจรับงานงวดที 2 100% 05-11-21 19-12-21 4 136 C จดั สง่ รายงานฉบบั สมบรู ณ์ 100% 05-11-21 09-11-21 45 180 C.1 ปรับปรงุ เนอื หาของรายงานฉบบั สมบรู ณ์ 100% 10-11-21 19-12-21 5 140 C.2 จัดเตรยี ม/จัดสง่ รายงานฉบบั สมบรู ณ์ / PowerPoint / CD 100% 10-11-21 19-12-21 40 180 C.3 จัดเตรยี ม/จัดสง่ บทสรปุ สําหรับผบู ้ รหิ าร 100% 16-12-21 19-12-21 40 180 C.4 ตรวจรับงานงวดที 3 4 180

ภาพที 3-2 ชว่ งเวลาของแตล่ ะกจิ กรรม 23-06-21 26-06-21 29-06-21 02-07-21 05-07-21 08-07-21 11-07-21 14-07-21 17-07-21 20-07-21 23-07-21 26-07-21 29-07-21 01-08-21 04-08-21 07-08-21 10-08-21 13-08-21 16-08-21 19-08-21 22-08-21 25-08-21 28-08-21 31-08-21 03-09-21 06-09-21 09-09-21 12-09-21 15-09-21 18-09-21 21-09-21 24-09-21

ลําดบั กจิ กรรม W Sa Tu F M Th Su W Sa Tu F M Th Su W Sa Tu F M Th Su W Sa Tu F M Th Su W Sa Tu F

A การเตรยี มการดาํ เนนิ งาน และรายงานเบอื งตน้ 11111111111100000000000000000000

A.1 แหลง่ ขอ้ มลู / เอกสารทางวชิ าการ / แผนและนโยบาย 11111000000000000000000000000000

A.2 ผลการประเมนิ ของโครงการปีกอ่ นหนา้ 11111000000000000000000000000000

A.3 ความสาํ คัญ / วตั ถปุ ระสงค์ / ประโยชนท์ คี าดวา่ จะไดร้ ับ 11111000000000000000000000000000

A.4 ขอบเขตการดําเนนิ โครงการ / ระเบยี บวธิ วี จิ ัย 11111000000000000000000000000000

A.5 วธิ กี ารและแผนการดําเนนิ งาน 00011100000000000000000000000000

A.6 วางแผนการนํามาใช ้สถติ /ิ การวเิ คราะห/์ วธิ กี ารประเมนิ ผล 00011100000000000000000000000000

A.7 จัดเตรยี ม/จัดสง่ รายงานเบอื งตน้ / PowerPoint / CD 00001111000000000000000000000000

A.8 ตรวจรับงานงวดที 1 00000000000100000000000000000000

B การลงพนื ทปี ระเมนิ ผลชมุ ชน และรา่ งรายงานฉบบั สมบรู ณ์ 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1

A.9 จัดเตรยี มแบบสอบถามทังแบบพมิ พแ์ ละดจิ ติ อล 00000000111100000000000000000000

32

A.10 จัดเตรยี มเครอื งมอื และอปุ กรณใ์ นการดําเนนิ งานอนื ๆ 00000000111100000000000000000000

B.1 การลงพนื ทสี าํ รวจดว้ ยแบบสอบถาม (แบบพมิ พ)์ 00000000000011111111111100000000

B.2 การสํารวจดว้ ยแบบสอบถาม (ดจิ ติ อล) 00000000000000000000001111100000

B.3 การลงพนื ทเี พอื ประชมุ ประเมนิ ผลรว่ มกบั ชมุ ชน 00000000000000001111111100000000

B.4 นําเขา้ ขอ้ มลู และประมวลผลการสาํ รวจจากแบบสอบถาม 00000000000000001111111111100000

B.5 ทบทวนผลการประเมนิ 00000000000000000000000011100000

B.6 รายงานผลการสํารวจเบอื งตน้ 00000000000000000000000000100000

B.7 จัดเตรยี ม/จัดสง่ รา่ งรายงานฉบบั สมบรู ณ์ / PowerPoint / CD 00000000000000000000000000000000

B.8 ตรวจรับงานงวดที 2 00000000000000000000000000000000

C จดั สง่ รายงานฉบบั สมบรู ณ์ 00000000000000000000000000000000

C.1 ปรับปรงุ เนอื หาของรายงานฉบบั สมบรู ณ์ 00000000000000000000000000000000

C.2 จัดเตรยี ม/จัดสง่ รายงานฉบบั สมบรู ณ์ / PowerPoint / CD 00000000000000000000000000000000

C.3 จัดเตรยี ม/จัดสง่ บทสรปุ สําหรับผบู ้ รหิ าร 00000000000000000000000000000000

C.4 ตรวจรับงานงวดที 3 00000000000000000000000000000000 00000000000000000000000000000000 ระยะหา่ งของชอ่ งวนั ที = 3 วนั

ภาพที 3-2 ชว่ งเวลาของแตล่ ะกจิ กรรม 27-09-21 30-09-21 03-10-21 06-10-21 09-10-21 12-10-21 15-10-21 18-10-21 21-10-21 24-10-21 27-10-21 30-10-21 02-11-21 05-11-21 08-11-21 11-11-21 14-11-21 17-11-21 20-11-21 23-11-21 26-11-21 29-11-21 02-12-21 05-12-21 08-12-21 11-12-21 14-12-21 17-12-21 20-12-21 23-12-21 26-12-21 29-12-21

ลาํ ดบั กจิ กรรม M Th Su W Sa Tu F M Th Su W Sa Tu F M Th Su W Sa Tu F M Th Su W Sa Tu F M Th Su W

A การเตรยี มการดาํ เนนิ งาน และรายงานเบอื งตน้ 00000000000000000000000000000000

A.1 แหลง่ ขอ้ มลู / เอกสารทางวชิ าการ / แผนและนโยบาย 00000000000000000000000000000000

A.2 ผลการประเมนิ ของโครงการปีกอ่ นหนา้ 00000000000000000000000000000000

A.3 ความสําคัญ / วัตถปุ ระสงค์ / ประโยชนท์ คี าดวา่ จะไดร้ ับ 00000000000000000000000000000000

A.4 ขอบเขตการดําเนนิ โครงการ / ระเบยี บวธิ วี จิ ัย 00000000000000000000000000000000

A.5 วธิ กี ารและแผนการดําเนนิ งาน 00000000000000000000000000000000

A.6 วางแผนการนํามาใช ้สถติ /ิ การวเิ คราะห/์ วธิ กี ารประเมนิ ผล 00000000000000000000000000000000

A.7 จัดเตรยี ม/จัดสง่ รายงานเบอื งตน้ / PowerPoint / CD 00000000000000000000000000000000

A.8 ตรวจรับงานงวดที 1 00000000000000000000000000000000

B การลงพนื ทปี ระเมนิ ผลชมุ ชน และรา่ งรายงานฉบบั สมบรู ณ์ 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0

A.9 จัดเตรยี มแบบสอบถามทังแบบพมิ พแ์ ละดจิ ติ อล 00000000000000000000000000000000

33

A.10 จัดเตรยี มเครอื งมอื และอปุ กรณใ์ นการดําเนนิ งานอนื ๆ 00000000000000000000000000000000

B.1 การลงพนื ทสี าํ รวจดว้ ยแบบสอบถาม (แบบพมิ พ)์ 00000000000000000000000000000000

B.2 การสํารวจดว้ ยแบบสอบถาม (ดจิ ติ อล) 00000000000000000000000000000000

B.3 การลงพนื ทเี พอื ประชมุ ประเมนิ ผลรว่ มกบั ชมุ ชน 00000000000000000000000000000000

B.4 นําเขา้ ขอ้ มลู และประมวลผลการสาํ รวจจากแบบสอบถาม 00000000000000000000000000000000

B.5 ทบทวนผลการประเมนิ 00000000000000000000000000000000

B.6 รายงานผลการสาํ รวจเบอื งตน้ 00000000000000000000000000000000

B.7 จัดเตรยี ม/จัดสง่ รา่ งรายงานฉบบั สมบรู ณ์ / PowerPoint / CD 01111111111000000000000000000000

B.8 ตรวจรับงานงวดที 2 00000000000011000000000000000000

C จดั สง่ รายงานฉบบั สมบรู ณ์ 00000000000001111111111111110000

C.1 ปรับปรงุ เนอื หาของรายงานฉบบั สมบรู ณ์ 00000000000001100000000000000000

C.2 จัดเตรยี ม/จัดสง่ รายงานฉบบั สมบรู ณ์ / PowerPoint / CD 00000000000000011111111111110000

C.3 จัดเตรยี ม/จัดสง่ บทสรปุ สําหรับผบู ้ รหิ าร 00000000000000011111111111110000

C.4 ตรวจรับงานงวดที 3 00000000000000000000000000010000 00000000000000000000000000000000 ระยะหา่ งของชอ่ งวนั ที = 3 วนั

ตารางที 3-6 กําหนดการประเมนิ ชุมชน วนั ที ผปู้ ระเมนิ

1 บา้ นเออื อาทรชลบรุ ี (พลตู าหลวง) พ 18-08-2021 ไชยวทิ ย์ แจม่ เทยี งตรง 2 บา้ นเออื อาทรชลบรุ ี (บา้ นเกาะโพธ)ิ 3 บา้ นเออื อาทรปราจนี บรุ ี (นาด)ี พ 18-08-2021 ไชยวทิ ย์ แจ่มเทยี งตรง 4 บา้ นเออื อาทรนราธวิ าสระยะ 1 (NPA) 5 เคหะชมุ ชนภเู กต็ 1 ระยะ 2 (อาคารชดุ ) พฤ 19-08-2021 ไชยวทิ ย์ แจ่มเทยี งตรง 6 บา้ นเออื อาทรภเู ก็ต (รัษฎา) 7 บา้ นเออื อาทรภเู ก็ตระยะ 3/1 จ 09-08-2021 อาทติ ย์ บญุ จนิ ดาทรัพย์ 8 บา้ นเออื อาทรภเู ก็ต (ลพิ อน) ระยะ 3/1 9 บา้ นเออื อาทรภเู กต็ (ถลาง) ระยะ 1 สว่ น 3 ส 14-08-2021 อาทติ ย์ บญุ จนิ ดาทรัพย์ 10 บา้ นเออื อาทรภเู กต็ (ถลาง) เฟส 1 สว่ น 2 11 บา้ นเออื อาทรภเู ก็ต (ถลาง) เฟส 2 สว่ น 2 ส 14-08-2021 อาทติ ย์ บญุ จนิ ดาทรัพย์ 12 เคหะชมุ ชนนครศรธี รรมราช 1 ระยะ 1 13 เคหะชมุ ชนนครศรธี รรมราช 1 ระยะ 2 ศ 13-08-2021 อาทติ ย์ บญุ จนิ ดาทรัพย์ 14 บา้ นเออื อาทรนครศรธี รรมราช (ออ้ มคา่ ย 2) 15 บา้ นเออื อาทรนครศรธี รรมราช (ออ้ มคา่ ย 3) ศ 13-08-2021 อาทติ ย์ บญุ จนิ ดาทรัพย์ 16 เคหะชมุ ชนชมุ พร ระยะ 1 17 บา้ นเออื อาทรเพชรบรุ -ี บา้ นลาด ศ 13-08-2021 อาทติ ย์ บญุ จนิ ดาทรัพย์ 18 บา้ นเออื อาทรสมทุ รสงคราม (แมก่ ลอง) 19 บา้ นเออื อาทรสมทุ รสาคร (นาด)ี ศ 13-08-2021 อาทติ ย์ บญุ จนิ ดาทรัพย์ 20 บา้ นเออื อาทรสมทุ รสาคร 2 (สวี าพาสวสั ด)ิ 21 บา้ นเออื อาทรสมทุ รสาคร (ตดิ นคิ ม) ศ 13-08-2021 อาทติ ย์ บญุ จนิ ดาทรัพย์ 22 บา้ นเออื อาทรเศรษฐกจิ 2 23 บา้ นเออื อาทร จ.สมทุ รปราการ (บา้ นคลองสวน) อา 08-08-2021 อาทติ ย์ บญุ จนิ ดาทรัพย์ 24 บา้ นเออื อาทรสมทุ รปราการ (พรอ้ มมติ ร) 25 บา้ นเออื อาทรเทพารักษ์ 1 อา 08-08-2021 อาทติ ย์ บญุ จนิ ดาทรัพย์ 26 บา้ นเออื อาทรสนั ตสิ ขุ 27 บา้ นเออื อาทรหนองคาย 1 อา 08-08-2021 อาทติ ย์ บญุ จนิ ดาทรัพย์ 28 บา้ นเออื อาทรหนองคาย 2 (มติ รภาพ) เฟส 1 29 บา้ นเออื อาทรหนองคาย 2 (มติ รภาพ) เฟส 2 อา 08-08-2021 อาทติ ย์ บญุ จนิ ดาทรัพย์ 30 บา้ นเออื อาทรอดุ รธานี (เลยี งเมอื ง) 31 บา้ นเออื อาทรหนองบวั ลาํ ภู 1 อา 15-08-2021 อาทติ ย์ บญุ จนิ ดาทรัพย์ 32 บา้ นเออื อาทรหนองบวั ลาํ ภู 2 33 บา้ นเออื อาทรมหาสารคาม (เสรมิ ไทย) อ 17-08-2021 อาทติ ย์ บญุ จนิ ดาทรัพย์ 34 บา้ นเออื อาทรอบุ ลราชธานี (ชอ่ งเม็ก) 35 บา้ นเออื อาทรศรสี ะเกษ (ขขุ นั ธ)์ อ 17-08-2021 อาทติ ย์ บญุ จนิ ดาทรัพย์ 36 บา้ นเออื อาทรสรุ นิ ทร์ (สลกั ได) 37 เคหะชมุ ชนเชยี งราย 1 ระยะ 1 จ 23-08-2021 ไชยวทิ ย์ แจ่มเทยี งตรง 38 บา้ นเออื อาทรพะเยา 1 39 บา้ นเออื อาทรแพร่ จ 23-08-2021 ไชยวทิ ย์ แจ่มเทยี งตรง 40 บา้ นเออื อาทรลาํ พนู (ป่ าสกั ) 41 บา้ นเออื อาทรตาก (แมส่ อด) จ 23-08-2021 ไชยวทิ ย์ แจ่มเทยี งตรง 42 บา้ นเออื อาทรพจิ ติ ร 43 บา้ นเออื อาทรลพบรุ ี (ลํานารายณ)์ จ 23-08-2021 ไชยวทิ ย์ แจ่มเทยี งตรง 44 บา้ นเออื อาทรนครปฐม (บอ่ พลบั ) 45 บา้ นเออื อาทรนครปฐม (พระประโทน) อา 15-08-2021 ไชยวทิ ย์ แจ่มเทยี งตรง 46 บา้ นเออื อาทรพุทธมณฑลสาย 7 47 บา้ นเออื อาทรพุทธมณฑลสาย 5 (ออ้ มนอ้ ย) ส 14-08-2021 ไชยวทิ ย์ แจ่มเทยี งตรง 48 บา้ นเออื อาทรนครปฐม (กระทมุ่ ลม้ ) 49 เคหะชมุ ชนบางหลวง ส 14-08-2021 ไชยวทิ ย์ แจม่ เทยี งตรง

พฤ 12-08-2021 ไชยวทิ ย์ แจ่มเทยี งตรง

อา 22-08-2021 อาทติ ย์ บญุ จนิ ดาทรัพย์

อา 22-08-2021 อาทติ ย์ บญุ จนิ ดาทรัพย์

อา 22-08-2021 อาทติ ย์ บญุ จนิ ดาทรัพย์

อา 22-08-2021 อาทติ ย์ บญุ จนิ ดาทรัพย์

จ 23-08-2021 อาทติ ย์ บญุ จนิ ดาทรัพย์

จ 23-08-2021 อาทติ ย์ บญุ จนิ ดาทรัพย์

ส 21-08-2021 อาทติ ย์ บญุ จนิ ดาทรัพย์

ส 21-08-2021 อาทติ ย์ บญุ จนิ ดาทรัพย์

พฤ 19-08-2021 อาทติ ย์ บญุ จนิ ดาทรัพย์

พฤ 19-08-2021 อาทติ ย์ บญุ จนิ ดาทรัพย์

พฤ 26-08-2021 อาทติ ย์ บญุ จนิ ดาทรัพย์

พฤ 26-08-2021 อาทติ ย์ บญุ จนิ ดาทรัพย์

ส 28-08-2021 อาทติ ย์ บญุ จนิ ดาทรัพย์

ส 28-08-2021 อาทติ ย์ บญุ จนิ ดาทรัพย์

อา 29-08-2021 อาทติ ย์ บญุ จนิ ดาทรัพย์

จ 30-08-2021 อาทติ ย์ บญุ จนิ ดาทรัพย์

อ 31-08-2021 อาทติ ย์ บญุ จนิ ดาทรัพย์

พฤ 26-08-2021 ไชยวทิ ย์ แจ่มเทยี งตรง

พฤ 26-08-2021 ไชยวทิ ย์ แจ่มเทยี งตรง

ส 28-08-2021 ไชยวทิ ย์ แจ่มเทยี งตรง

ส 28-08-2021 ไชยวทิ ย์ แจม่ เทยี งตรง

ส 28-08-2021 ไชยวทิ ย์ แจ่มเทยี งตรง

ส 21-08-2021 ไชยวทิ ย์ แจ่มเทยี งตรง

34

ตารางที 3-7 กาํ หนดการสาํ รวจดว้ ยแบบสอบถาม ผสู้ าํ รวจ วนั ที พ 18-08-2021 1 บา้ นเออื อาทรชลบรุ ี (พลตู าหลวง) คณะทปี รกึ ษา อ 10-08-2021 2 บา้ นเออื อาทรชลบรุ ี (บา้ นเกาะโพธ)ิ คณะทปี รกึ ษา อ 10-08-2021 3 บา้ นเออื อาทรปราจนี บรุ ี (นาด)ี คณะทปี รกึ ษา จ 09-08-2021 4 บา้ นเออื อาทรนราธวิ าสระยะ 1 (NPA) คณะทปี รกึ ษา รว่ มกบั คนในพนื ทจี งั หวดั พ 11-08-2021 5 เคหะชมุ ชนภเู ก็ต 1 ระยะ 2 (อาคารชดุ ) คณะทปี รกึ ษา ร่วมกบั คนในพนื ทจี งั หวดั พ 11-08-2021 6 บา้ นเออื อาทรภเู กต็ (รัษฎา) คณะทปี รกึ ษา รว่ มกบั คนในพนื ทจี งั หวดั พฤ 12-08-2021 7 บา้ นเออื อาทรภเู กต็ ระยะ 3/1 คณะทปี รกึ ษา ร่วมกบั คนในพนื ทจี ังหวดั พฤ 12-08-2021 8 บา้ นเออื อาทรภเู ก็ต (ลพิ อน) ระยะ 3/1 คณะทปี รกึ ษา ร่วมกบั คนในพนื ทจี ังหวดั พ 11-08-2021 9 บา้ นเออื อาทรภเู ก็ต (ถลาง) ระยะ 1 สว่ น 3 คณะทปี รกึ ษา ร่วมกบั คนในพนื ทจี ังหวดั พ 11-08-2021 10 บา้ นเออื อาทรภเู กต็ (ถลาง) เฟส 1 สว่ น 2 คณะทปี รกึ ษา ร่วมกบั คนในพนื ทจี งั หวดั พ 11-08-2021 11 บา้ นเออื อาทรภเู กต็ (ถลาง) เฟส 2 สว่ น 2 คณะทปี รกึ ษา รว่ มกบั คนในพนื ทจี งั หวดั อา 08-08-2021 12 เคหะชมุ ชนนครศรธี รรมราช 1 ระยะ 1 คณะทปี รกึ ษา รว่ มกบั คนในพนื ทจี งั หวดั อา 08-08-2021 13 เคหะชมุ ชนนครศรธี รรมราช 1 ระยะ 2 คณะทปี รกึ ษา ร่วมกบั คนในพนื ทจี งั หวดั อา 08-08-2021 14 บา้ นเออื อาทรนครศรธี รรมราช (ออ้ มคา่ ย 2) คณะทปี รกึ ษา รว่ มกบั คนในพนื ทจี งั หวดั อา 08-08-2021 15 บา้ นเออื อาทรนครศรธี รรมราช (ออ้ มคา่ ย 3) คณะทปี รกึ ษา ร่วมกบั คนในพนื ทจี ังหวดั อา 08-08-2021 16 เคหะชมุ ชนชมุ พร ระยะ 1 คนในพนื ทจี ังหวดั ส 07-08-2021 17 บา้ นเออื อาทรเพชรบรุ -ี บา้ นลาด คณะทปี รกึ ษา ศ 13-08-2021 18 บา้ นเออื อาทรสมทุ รสงคราม (แมก่ ลอง) คณะทปี รกึ ษา อ 10-08-2021 19 บา้ นเออื อาทรสมทุ รสาคร (นาด)ี คณะทปี รกึ ษา อ 10-08-2021 20 บา้ นเออื อาทรสมทุ รสาคร 2 (สวี าพาสวสั ด)ิ คณะทปี รกึ ษา พ 11-08-2021 21 บา้ นเออื อาทรสมทุ รสาคร (ตดิ นคิ ม) คณะทปี รกึ ษา พฤ 05-08-2021 22 บา้ นเออื อาทรเศรษฐกจิ 2 คณะทปี รกึ ษา พ 04-08-2021 23 บา้ นเออื อาทร จ.สมทุ รปราการ (บา้ นคลองสวน) คณะทปี รกึ ษา พฤ 05-08-2021 24 บา้ นเออื อาทรสมทุ รปราการ (พรอ้ มมติ ร) คณะทปี รกึ ษา ศ 06-08-2021 25 บา้ นเออื อาทรเทพารักษ์ 1 คณะทปี รกึ ษา พ 04-08-2021 26 บา้ นเออื อาทรสนั ตสิ ขุ คณะทปี รกึ ษา พฤ 29-07-2021 27 บา้ นเออื อาทรหนองคาย 1 คณะทปี รกึ ษา พฤ 29-07-2021 28 บา้ นเออื อาทรหนองคาย 2 (มติ รภาพ) เฟส 1 คณะทปี รกึ ษา พฤ 29-07-2021 29 บา้ นเออื อาทรหนองคาย 2 (มติ รภาพ) เฟส 2 คณะทปี รกึ ษา อ 27-07-2021 30 บา้ นเออื อาทรอดุ รธานี (เลยี งเมอื ง) คณะทปี รกึ ษา ศ 30-07-2021 31 บา้ นเออื อาทรหนองบวั ลําภู 1 คณะทปี รกึ ษา ศ 30-07-2021 32 บา้ นเออื อาทรหนองบวั ลาํ ภู 2 คณะทปี รกึ ษา อา 01-08-2021 33 บา้ นเออื อาทรมหาสารคาม (เสรมิ ไทย) คณะทปี รกึ ษา จ 09-08-2021 34 บา้ นเออื อาทรอบุ ลราชธานี (ชอ่ งเม็ก) คณะทปี รกึ ษา จ 09-08-2021 35 บา้ นเออื อาทรศรสี ะเกษ (ขขุ นั ธ)์ คณะทปี รกึ ษา อา 08-08-2021 36 บา้ นเออื อาทรสรุ นิ ทร์ (สลกั ได) คณะทปี รกึ ษา พฤ 26-08-2021 37 เคหะชมุ ชนเชยี งราย 1 ระยะ 1 คนในพนื ทจี ังหวดั พ 25-08-2021 38 บา้ นเออื อาทรพะเยา 1 คนในพนื ทจี ังหวดั จ 09-08-2021 39 บา้ นเออื อาทรแพร่ คนในพนื ทจี งั หวดั อ 31-08-2021 40 บา้ นเออื อาทรลําพนู (ป่ าสกั ) คนในพนื ทจี ังหวดั พ 18-08-2021 41 บา้ นเออื อาทรตาก (แมส่ อด) คนในพนื ทจี ังหวดั ศ 30-07-2021 42 บา้ นเออื อาทรพจิ ติ ร คนในพนื ทจี งั หวดั อา 08-08-2021 43 บา้ นเออื อาทรลพบรุ ี (ลํานารายณ)์ คณะทปี รกึ ษา อ 24-08-2021 44 บา้ นเออื อาทรนครปฐม (บอ่ พลบั ) คณะทปี รกึ ษา อ 24-08-2021 45 บา้ นเออื อาทรนครปฐม (พระประโทน) คณะทปี รกึ ษา ศ 20-08-2021 46 บา้ นเออื อาทรพุทธมณฑลสาย 7 คณะทปี รกึ ษา จ 09-08-2021 47 บา้ นเออื อาทรพุทธมณฑลสาย 5 (ออ้ มนอ้ ย) คณะทปี รกึ ษา พ 25-08-2021 48 บา้ นเออื อาทรนครปฐม (กระทมุ่ ลม้ ) คณะทปี รกึ ษา พ 04-08-2021 49 เคหะชมุ ชนบางหลวง คณะทปี รกึ ษา

35

ตารางที 3-8 จาํ นวนและเลขทแี บบสอบถาม จาํ นวน เผอื เสยี รวม หมายเลขแบบสอบถาม

1 บา้ นเออื อาทรชลบรุ ี (พลตู าหลวง) 50 3 53 1 53 2 บา้ นเออื อาทรชลบรุ ี (บา้ นเกาะโพธ)ิ 3 บา้ นเออื อาทรปราจนี บรุ ี (นาด)ี 100 5 105 54 158 4 บา้ นเออื อาทรนราธวิ าสระยะ 1 (NPA) 5 เคหะชมุ ชนภเู กต็ 1 ระยะ 2 (อาคารชดุ ) 50 3 53 159 211 6 บา้ นเออื อาทรภเู ก็ต (รัษฎา) 7 บา้ นเออื อาทรภเู กต็ ระยะ 3/1 50 3 53 212 264 8 บา้ นเออื อาทรภเู ก็ต (ลพิ อน) ระยะ 3/1 9 บา้ นเออื อาทรภเู กต็ (ถลาง) ระยะ 1 สว่ น 3 100 5 105 265 369 10 บา้ นเออื อาทรภเู กต็ (ถลาง) เฟส 1 สว่ น 2 11 บา้ นเออื อาทรภเู กต็ (ถลาง) เฟส 2 สว่ น 2 100 5 105 370 474 12 เคหะชมุ ชนนครศรธี รรมราช 1 ระยะ 1 13 เคหะชมุ ชนนครศรธี รรมราช 1 ระยะ 2 50 3 53 475 527 14 บา้ นเออื อาทรนครศรธี รรมราช (ออ้ มคา่ ย 2) 15 บา้ นเออื อาทรนครศรธี รรมราช (ออ้ มคา่ ย 3) 50 3 53 528 580 16 เคหะชมุ ชนชมุ พร ระยะ 1 17 บา้ นเออื อาทรเพชรบรุ -ี บา้ นลาด 100 5 105 581 685 18 บา้ นเออื อาทรสมทุ รสงคราม (แมก่ ลอง) 19 บา้ นเออื อาทรสมทุ รสาคร (นาด)ี 144 7 151 686 836 20 บา้ นเออื อาทรสมทุ รสาคร 2 (สวี าพาสวสั ด)ิ 21 บา้ นเออื อาทรสมทุ รสาคร (ตดิ นคิ ม) 50 3 53 837 889 22 บา้ นเออื อาทรเศรษฐกจิ 2 23 บา้ นเออื อาทร จ.สมทุ รปราการ (บา้ นคลองสวน) 50 3 53 890 942 24 บา้ นเออื อาทรสมทุ รปราการ (พรอ้ มมติ ร) 25 บา้ นเออื อาทรเทพารักษ์ 1 50 3 53 943 995 26 บา้ นเออื อาทรสนั ตสิ ขุ 27 บา้ นเออื อาทรหนองคาย 1 50 3 53 996 1048 28 บา้ นเออื อาทรหนองคาย 2 (มติ รภาพ) เฟส 1 29 บา้ นเออื อาทรหนองคาย 2 (มติ รภาพ) เฟส 2 50 3 53 1049 1101 30 บา้ นเออื อาทรอดุ รธานี (เลยี งเมอื ง) 31 บา้ นเออื อาทรหนองบวั ลาํ ภู 1 50 3 53 1102 1154 32 บา้ นเออื อาทรหนองบวั ลําภู 2 33 บา้ นเออื อาทรมหาสารคาม (เสรมิ ไทย) 50 3 53 1155 1207 34 บา้ นเออื อาทรอบุ ลราชธานี (ชอ่ งเม็ก) 35 บา้ นเออื อาทรศรสี ะเกษ (ขขุ นั ธ)์ 100 5 105 1208 1312 36 บา้ นเออื อาทรสรุ นิ ทร์ (สลกั ได) 37 เคหะชมุ ชนเชยี งราย 1 ระยะ 1 129 6 135 1313 1447 38 บา้ นเออื อาทรพะเยา 1 39 บา้ นเออื อาทรแพร่ 50 3 53 1448 1500 40 บา้ นเออื อาทรลําพนู (ป่ าสกั ) 41 บา้ นเออื อาทรตาก (แมส่ อด) 101 5 106 1501 1606 42 บา้ นเออื อาทรพจิ ติ ร 43 บา้ นเออื อาทรลพบรุ ี (ลาํ นารายณ)์ 100 5 105 1607 1711 44 บา้ นเออื อาทรนครปฐม (บอ่ พลบั ) 45 บา้ นเออื อาทรนครปฐม (พระประโทน) 100 5 105 1712 1816 46 บา้ นเออื อาทรพุทธมณฑลสาย 7 47 บา้ นเออื อาทรพุทธมณฑลสาย 5 (ออ้ มนอ้ ย) 130 7 137 1817 1953 48 บา้ นเออื อาทรนครปฐม (กระทมุ่ ลม้ ) 49 เคหะชมุ ชนบางหลวง 100 5 105 1954 2058

50 3 53 2059 2111

50 3 53 2112 2164

50 3 53 2165 2217

50 3 53 2218 2270

50 3 53 2271 2323

50 3 53 2324 2376

50 3 53 2377 2429

50 3 53 2430 2482

50 3 53 2483 2535

50 3 53 2536 2588

50 3 53 2589 2641

50 3 53 2642 2694

50 3 53 2695 2747

50 3 53 2748 2800

50 3 53 2801 2853

50 3 53 2854 2906

50 3 53 2907 2959

50 3 53 2960 3012

100 5 105 3013 3117

144 7 151 3118 3268

112 6 118 3269 3386

100 5 105 3387 3491

50 3 53 3492 3544

50 3 53 3545 3597

36

ภาพที่ 3-3 QR Code สาํ หรบั แบบสอบถามออนไลน (Online Questionnaire) แยกเปนรายชุมชน

1. บา้ นเออื อาทร 6. บา้ นเออื อาทรภเู ก็ต 11. บา้ นเออื อาทร 16. เคหะชุมชนชุมพร 21. บา้ นเออื อาทร ชลบุรี (พลตู าหลวง) (รษั ฎา) ภูเก็ต (ถลาง) เฟส 2 ระยะ 1 สมุทรสาคร (ตดิ นคิ ม) สว่ น 2

2. บา้ นเออื อาทร 7. บา้ นเออื อาทร 12. เคหะชุมชน 17. บา้ นเออื อาทร 22. บา้ นเออื อาทร ชลบรุ ี (บา้ นเกาะโพธ)ิ ภูเก็ตระยะ 3/1 นครศรธี รรมราช 1 เพชรบรุ -ี บา้ นลาด เศรษฐกจิ 2

ระยะ 1

3. บา้ นเออื อาทร 8. บา้ นเออื อาทรภูเก็ต 13. เคหะชุมชน 18. บา้ นเออื อาทร 23. บา้ นเออื อาทร จ. ปราจนี บรุ ี (นาด)ี (ลพิ อน) ระยะ 3/1 นครศรธี รรมราช 1 สมุทรสงคราม (แม่ สมทุ รปราการ (บา้ น

ระยะ 2 กลอง) คลองสวน)

4. บา้ นเออื อาทร 9. บา้ นเออื อาทรภเู ก็ต 14. บา้ นเออื อาทร 19. บา้ นเออื อาทร 24. บา้ นเออื อาทร นราธวิ าสระยะ 1 (ถลาง) ระยะ 1 สว่ น 3 นครศรธี รรมราช สมทุ รสาคร (นาด)ี สมทุ รปราการ

(NPA) (ออ้ มคา่ ย 2) (พรอ้ มมติ ร)

5. เคหะชุมชนภูเก็ต 1 10. บา้ นเออื อาทร 15. บา้ นเออื อาทร 20. บา้ นเออื อาทร 25. บา้ นเออื อาทร ระยะ 2 (อาคารชุด) ภูเก็ต (ถลาง) เฟส 1 นครศรธี รรมราช สมุทรสาคร 2 (สวี า เทพารกั ษ์ 1

สว่ น 2 (ออ้ มคา่ ย 3) พาสวสั ด)ิ

37

ภาพท่ี 3-3 QR Code สําหรับแบบสอบถามออนไลน (Online Questionnaire) แยกเปนรายชมุ ชน (ตอ )

26. บา้ นเออื อาทร 31. บา้ นเออื อาทร 36. บา้ นเออื อาทร 41. บา้ นเออื อาทรตาก 46. บา้ นเออื อาทร สนั ตสิ ขุ หนองบวั ลาํ ภู 1 สรุ นิ ทร์ (สลกั ได) (แมส่ อด) พทุ ธมณฑลสาย 7

27. บา้ นเออื อาทร 32. บา้ นเออื อาทร 37. เคหะชุมชน 42. บา้ นเออื อาทร 47. บา้ นเออื อาทร หนองคาย 1 หนองบวั ลาํ ภู 2 เชยี งราย 1 ระยะ 1 พจิ ติ ร พทุ ธมณฑลสาย 5

(ออ้ มนอ้ ย)

28. บา้ นเออื อาทร 33. บา้ นเออื อาทร 38. บา้ นเออื อาทร 43. บา้ นเออื อาทร 48. บา้ นเออื อาทร หนองคาย 2 มหาสารคาม (เสรมิ พะเยา 1 ลพบุรี (ลํานารายณ)์ นครปฐม (กระทมุ่ ลม้ ) (มติ รภาพ) เฟส 1 ไทย)

29. บา้ นเออื อาทร 34. บา้ นเออื อาทร 39. บา้ นเออื อาทรแพร่ 44. บา้ นเออื อาทร 49. เคหะชุมชนบาง หนองคาย 2 อบุ ลราชธานี (ชอ่ ง นครปฐม (บอ่ พลบั ) หลวง

(มติ รภาพ) เฟส 2 เม็ก)

30. บา้ นเออื อาทร 35. บา้ นเออื อาทรศรี 40. บา้ นเออื อาทร 45. บา้ นเออื อาทร สาํ หรบั ทดลอง อดุ รธานี (เลยี งเมอื ง) สะเกษ (ขขุ นั ธ)์ ลําพนู (ป่ าสกั ) นครปฐม (พระประ

โทน)

38

บทท่ี 4 ผลการประเมิน การวเิ คราะห และขอ เสนอแนะ

4.1 ผลการประเมิน คณะทป่ี รกึ ษาไดประชมุ รว มกบั ชมุ ชนเพื่อการประเมนิ ผล และไดสาํ รวจความพึงพอใจของผูอยูอาศัยดว ยแบบสอบถาม โครงการ

ชุมชนเขมแขง็ พึง่ พาตนเองอยา งย่ังยนื (ระดับท่ี 3) จํานวน 49 ชมุ ชน รายละเอียดของคะแนนแสดงไวในตารางที่ 4-1 ถงึ 4-4

ลําดับใน TOR ตารางที่ 4-1 ผลการประเมิน แบบประเมิน แบบสอบถาม รวม ผา น/ ชุมชนระดับที่ 3 (ชช.1) ไมผา น M1 M2 E1 E2 Q1 Q2 M3 Q3 100 1 บา้ นเออื อาทรชลบรุ ี (พลตู าหลวง) ผา่ น 2 บา้ นเออื อาทรชลบรุ ี (บา้ นเกาะโพธ)ิ 10 10 10 10 10 10 20 20 80.59 ผา่ น 3 บา้ นเออื อาทรปราจนี บรุ ี (นาด)ี 91.01 ผา่ น 26 บา้ นเออื อาทรสนั ตสิ ขุ 10.00 9.50 8.00 10.00 10.00 10.00 11.36 11.73 86.61 ผา่ น 84.91 10.00 10.00 10.00 10.00 10.00 10.00 15.24 15.77

10.00 10.00 10.00 10.00 10.00 10.00 12.62 13.99

10.00 10.00 10.00 8.00 10.00 10.00 13.92 12.99

ลําดับใน TOR ตารางที่ 4-2 ผลการประเมนิ แบบประเมิน แบบสอบถาม รวม ผาน/ ชุมชนระดับท่ี 3 (ชช.2) ไมผา น M1 M2 E1 E2 Q1 Q2 M3 Q3 100 27 บา้ นเออื อาทรหนองคาย 1 10 10 10 10 10 10 20 20 ผา่ น 28 บา้ นเออื อาทรหนองคาย 2 (มติ รภาพ) เฟส 1 80.68 ผา่ น 29 บา้ นเออื อาทรหนองคาย 2 (มติ รภาพ) เฟส 2 9.50 10.00 8.50 8.00 10.00 10.00 12.73 11.95 79.96 ผา่ น 30 บา้ นเออื อาทรอดุ รธานี (เลยี งเมอื ง) 74.29 ผา่ น 31 บา้ นเออื อาทรหนองบวั ลาํ ภู 1 7.00 8.00 7.00 8.00 10.00 10.00 15.06 14.90 70.17 ผา่ น 32 บา้ นเออื อาทรหนองบวั ลําภู 2 76.18 ผา่ น 33 บา้ นเออื อาทรมหาสารคาม (เสรมิ ไทย) 7.00 8.00 7.00 8.00 10.00 10.00 10.79 13.50 78.56 ผา่ น 34 บา้ นเออื อาทรอบุ ลราชธานี (ชอ่ งเม็ก) 78.98 ผา่ น 35 บา้ นเออื อาทรศรสี ะเกษ (ขขุ นั ธ)์ 10.00 10.00 5.00 4.00 10.00 7.00 12.25 11.92 71.26 ผา่ น 36 บา้ นเออื อาทรสรุ นิ ทร์ (สลกั ได) 72.60 ผา่ น 44 บา้ นเออื อาทรนครปฐม (บอ่ พลบั ) 10.00 10.00 10.00 5.50 10.00 8.50 12.40 9.78 84.46 ผา่ น 45 บา้ นเออื อาทรนครปฐม (พระประโทน) 78.11 ผา่ น 46 บา้ นเออื อาทรพุทธมณฑลสาย 7 10.00 10.00 10.00 5.50 10.00 8.50 12.08 12.48 81.70 ผา่ น 47 บา้ นเออื อาทรพุทธมณฑลสาย 5 (ออ้ มนอ้ ย) 88.66 ผา่ น 48 บา้ นเออื อาทรนครปฐม (กระทมุ่ ลม้ ) 9.00 10.00 7.00 6.50 10.00 8.50 13.85 14.13 86.34 ผา่ น 83.64 9.00 10.00 10.00 0.00 10.00 7.00 12.59 12.67

10.00 10.00 5.00 0.00 10.00 7.00 15.60 15.00

9.50 10.00 10.00 10.00 10.00 10.00 12.26 12.70

10.00 10.00 9.00 0.00 10.00 10.00 13.47 15.64

10.00 10.00 10.00 8.00 10.00 10.00 11.59 12.11

10.00 10.00 10.00 10.00 9.50 10.00 14.97 14.19

10.00 10.00 10.00 10.00 10.00 10.00 13.19 13.15

10.00 10.00 10.00 10.00 10.00 10.00 11.80 11.84

ลําดับใน TOR ตารางที่ 4-3 ผลการประเมิน M1 M2 แบบประเมนิ Q1 Q2 แบบสอบถาม รวม ผาน/ ชมุ ชนระดับท่ี 3 (ชช.3) E1 E2 M3 Q3 100 ไมผาน 10 10 10 10 37 เคหะชมุ ชนเชยี งราย 1 ระยะ 1 10 10 20 20 38 บา้ นเออื อาทรพะเยา 1 39 บา้ นเออื อาทรแพร่ 10.00 10.00 8.00 8.00 10.00 8.00 10.36 10.11 74.47 ผา่ น 40 บา้ นเออื อาทรลาํ พนู (ป่ าสกั ) 41 บา้ นเออื อาทรตาก (แมส่ อด) 10.00 10.00 7.00 5.00 10.00 7.00 11.59 11.43 72.02 ผา่ น 42 บา้ นเออื อาทรพจิ ติ ร 43 บา้ นเออื อาทรลพบรุ ี (ลาํ นารายณ)์ 10.00 10.00 5.00 4.00 10.00 7.50 13.40 12.87 72.77 ผา่ น 49 เคหะชมุ ชนบางหลวง 10.00 10.00 10.00 8.00 10.00 10.00 10.94 11.99 80.93 ผา่ น

10.00 10.00 6.00 0.00 10.00 7.00 8.93 9.91 61.84 ไมผ่ า่ น

9.00 10.00 6.00 8.00 10.00 8.00 12.19 12.87 76.06 ผา่ น

10.00 10.00 6.50 0.00 10.00 7.50 12.72 13.39 70.11 ผา่ น

10.00 10.00 10.00 8.00 8.00 8.00 11.29 11.39 76.68 ผา่ น

39

ลําดับใน TORตารางที่ 4-4 ผลการประเมนิ M1 M2 แบบประเมิน Q1 Q2 แบบสอบถาม รวม ผาน/ ชมุ ชนระดับท่ี 3 (ชช.4) E1 E2 M3 Q3 100 ไมผา น เต็ม 10010101010 10 10 20 20

4 บา้ นเออื อาทรนราธวิ าสระยะ 1 (NPA) 8.00 9.00 3.00 4.00 10.00 7.00 10.43 12.47 63.90 ไมผ่ า่ น

5 เคหะชมุ ชนภเู ก็ต 1 ระยะ 2 (อาคารชดุ ) 9.00 10.00 3.00 10.00 10.00 10.00 12.21 12.73 76.94 ผา่ น

6 บา้ นเออื อาทรภเู กต็ (รัษฎา) 10.00 10.00 3.00 10.00 10.00 10.00 13.70 13.85 80.55 ผา่ น

7 บา้ นเออื อาทรภเู กต็ ระยะ 3/1 10.00 10.00 7.00 4.00 10.00 9.00 11.63 12.71 74.34 ผา่ น

8 บา้ นเออื อาทรภเู กต็ (ลพิ อน) ระยะ 3/1 10.00 10.00 7.00 4.00 10.00 9.00 14.56 15.37 79.93 ผา่ น

9 บา้ นเออื อาทรภเู กต็ (ถลาง) ระยะ 1 สว่ น 3 10.00 10.00 7.00 6.00 10.00 10.00 12.50 13.65 79.15 ผา่ น

10 บา้ นเออื อาทรภเู กต็ (ถลาง) เฟส 1 สว่ น 2 10.00 10.00 7.00 6.00 10.00 10.00 14.11 13.27 80.38 ผา่ น

11 บา้ นเออื อาทรภเู ก็ต (ถลาง) เฟส 2 สว่ น 2 10.00 10.00 7.00 6.00 10.00 10.00 11.43 13.77 78.20 ผา่ น

12 เคหะชมุ ชนนครศรธี รรมราช 1 ระยะ 1 9.00 10.00 7.00 4.00 10.00 7.00 11.52 11.71 70.23 ผา่ น

13 เคหะชมุ ชนนครศรธี รรมราช 1 ระยะ 2 9.00 10.00 7.00 4.00 10.00 7.00 12.81 12.78 72.59 ผา่ น

14 บา้ นเออื อาทรนครศรธี รรมราช (ออ้ มคา่ ย 2) 10.00 10.00 10.00 4.00 10.00 8.50 11.51 11.43 75.44 ผา่ น

15 บา้ นเออื อาทรนครศรธี รรมราช (ออ้ มคา่ ย 3) 10.00 10.00 10.00 4.00 10.00 8.50 11.74 12.59 76.83 ผา่ น

16 เคหะชมุ ชนชมุ พร ระยะ 1 10.00 10.00 7.00 8.00 10.00 7.00 13.23 12.06 77.29 ผา่ น

17 บา้ นเออื อาทรเพชรบรุ -ี บา้ นลาด 10.00 10.00 7.00 8.00 10.00 7.00 16.23 15.89 84.12 ผา่ น

18 บา้ นเออื อาทรสมทุ รสงคราม (แมก่ ลอง) 10.00 10.00 7.00 10.00 10.00 8.00 14.67 14.64 84.31 ผา่ น

19 บา้ นเออื อาทรสมทุ รสาคร (นาด)ี 10.00 10.00 9.00 0.00 10.00 10.00 13.75 13.75 76.50 ผา่ น

20 บา้ นเออื อาทรสมทุ รสาคร 2 (สวี าพาสวสั ด)ิ 10.00 10.00 8.00 0.00 10.00 8.00 13.57 12.98 72.55 ผา่ น

21 บา้ นเออื อาทรสมทุ รสาคร (ตดิ นคิ ม) 10.00 10.00 9.00 8.00 9.00 8.00 13.91 14.10 82.01 ผา่ น

22 บา้ นเออื อาทรเศรษฐกจิ 2 10.00 10.00 8.00 8.00 10.00 9.00 12.42 12.48 79.90 ผา่ น

23 บา้ นเออื อาทร จ.สมทุ รปราการ (บา้ นคลองสวน) 10.00 10.00 7.00 8.00 10.00 10.00 11.26 11.31 77.57 ผา่ น

24 บา้ นเออื อาทรสมทุ รปราการ (พรอ้ มมติ ร) 10.00 10.00 10.00 8.00 10.00 10.00 13.09 12.75 83.84 ผา่ น

25 บา้ นเออื อาทรเทพารักษ์ 1 10.00 10.00 10.00 8.00 10.00 10.00 13.70 13.52 85.22 ผา่ น

สาํ หรับป 2564 มีชมุ ชนที่เขารบั การประเมินผลทง้ั หมด 49 ชุมชน ผา นการประเมนิ 47 ชุมชน และไมผ านการประเมิน 2 ชุมชน มผี ลการประเมนิ เฉลีย่ 49 ชมุ ชน ที่ 78.07 คะแนน (ตารางท่ี 4-5 และ 4-6)

ในจํานวน 47 ชุมชนที่ผา นการประเมนิ มผี ลการประเมนิ เฉล่ียท่ี 78.72 คะแนน โดยชุมชนท่มี ีผลการประเมินสงู สุด คอื บา นเออ้ื อาทรชลบุรี (บานเกาะโพธ)ิ์ ที่ 91.01 คะแนน และตาํ่ สุดคอื บานเอื้ออาทรลพบุรี (ลาํ นารายณ) ท่ี 70.11 คะแนน

ตารางที่ 4-5 ผลการประเมินเฉลยี่ แบบประเมิน แบบสอบถาม

มิติ M1 M2 E1 E2 Q1 Q2 รวม M3 Q3 รวม คะแนนเตม็ 10 10 10 10 10 10 60 20 20 40

คะแนนเฉล่ีย 47 ชมุ ชน ท่ีผา นการประเมิน 9.72 9.90 8.00 6.39 9.93 8.90 52.85 12.85 13.02 25.86 78.72

คะแนนเฉลีย่ ท้ัง 49 ชมุ ชน 9.69 9.89 7.86 6.21 9.93 8.83 52.41 12.72 12.94 25.66 78.07

หมายเหตุ คาเฉลี่ยของผลการประเมินทงั้ 49 ชมุ ชน คํานวณแยกในแตล ะมิติ ปดเศษเปน ทศนิยม 2 ตําแหนง แลว จึงนาํ มารวม