2024 โครงงาน kidbright การดำเน งาน ทำอย างไร ทำไม

kidbright เป็นบอร์ดส่งเสริมการเรียนรู้พื้นฐานของการเขียนโค้ด หรือ การเขียนโปรแกรม (Programming) ที่มีจุดเริ่มต้นจากโครงการสื่อการสอนโปรแกรมมิ่งในโรงเรียน (Coding at School Project) ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ซึ่งมีจุดมุ่งหมายในการพัฒนาศักยภาพ ระหว่างความคิดเชิงตรรกะ และความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ในลักษณะการเรียนรู้แบบ learn and play บอร์ด kidbright นี้ได้รับการออกแบบโดยทีมนักวิจัยและพัฒนาของเนคเทคและสวทช. ให้เหมาะสำหรับเด็กและเยาวชน ที่ต้องการเรียนรู้การทำงานและการเขียนโปรแกรมสำหรับอุปกรณ์สมองกลฝังตัว (Embedded Board) และอุปกรณ์ตัวเซนเซอร์ตรวจจับพื้นฐาน

รูปภาพจาก Div24hr.com�และข้อมูลจาก www.kidbright.club

รายละเอียดอุปกรณ์ภายในบอร์ด Kidbright

รูปภาพจาก kidbright.club

Kidbright ทำอะไรได้บ้าง

เข้าดูผลงานอื่น ๆ ได้ที่�https://www.kid-bright.org/kidbright/category/ผลงานตัวอย่าง/

ติดตั้งโปรแกรม KidBtight IDE

ติดตั้งโปรแกรม KidBtight IDE

หลังจากนั้นก็กด คำว่า DOWNLOAD ตามภาพ �หากใครใช้ WINDOWN 32Bit ก็กดตัวเลือกด้านล่าง

ติดตั้งโปรแกรม KidBtight IDE

หลังจากเข้าไปนั้นจะดูยุ่งยาก �แต่มีวิธีที่ง่ายกว่านั้น โดยเข้าไปที่

เมื่อโหลดเสร็จจะเป็นตามรูปด้านขวา

ติดตั้งโปรแกรม KidBtight IDE

หลังจากนั้น คลิกที่รูปลูกศรดังนี้�

พอคลิ๊กเข้ามา ก็ทำการแยกไฟล์โดยการ คลิ๊กขวา ที่ไฟล์แล้วกดไปยัง Extract to …….

ติดตั้งโปรแกรม KidBtight IDE

เข้าไปยัง Folder

เมื่อกดไปยัง Icon �แล้วจะขึ้นหน้าต่างสีเขียว�Installing… รอจนกว่าจะเสร็จ

กดไปยัง Icon

ติดตั้งโปรแกรม KidBtight IDE

เมื่อติดตั้งโปรแกรมเสร็จ�แล้วจะขึ้นรูปของโปรแกรม�ดังรูปด้านขวามือ

เชื่อมต่อบอร์ด KidBright กับ คอมพิวเตอร์

USB

ทดสอบบอร์ดกันดีกว่า (DownLoad Program)

1.เข้าไปยัง Basic�2.ลาก Forever ออกมา�3.ลาก LED 16*8... ออกมา�4.ลาก “Delay” ออกมา�5.ลาก “Hello” ออกมา �6. กดอัพโหลดโปรแกรม

ส่วนประกอบของ KidBright IDE

รูปภาพจาก �https://www.kid-bright.org/kidbright/update-เอกสารเผยแพร่/

คำสั่งควมคุมการทำงานของบอร์ด KidBright

รูปภาพจาก �https://www.kid-bright.org/kidbright/update-เอกสารเผยแพร่/

ชุดคำสั่ง Bacis (พื้นฐาน)

รูปภาพจาก �https://www.kid-bright.org/kidbright/update-เอกสารเผยแพร่/

รูปภาพจาก �https://www.kid-bright.org/kidbright/update-เอกสารเผยแพร่/

รูปภาพจาก �https://www.kid-bright.org/kidbright/update-เอกสารเผยแพร่/

รูปภาพจาก �https://www.kid-bright.org/kidbright/update-เอกสารเผยแพร่/

รูปภาพจาก �https://www.kid-bright.org/kidbright/update-เอกสารเผยแพร่/

รูปภาพจาก �https://www.kid-bright.org/kidbright/update-เอกสารเผยแพร่/

รูปภาพจาก �https://www.kid-bright.org/kidbright/update-เอกสารเผยแพร่/

บทเรียนที่ 1 เรียนรู้การใช้งานจอ LED

LED คืออะไร ????

เมื่อนำ LED มาต่อหลาย ๆ หลอดทำให้เกิดภาพต่าง ๆเกิดขึ้น ดังภาพด้านล่าง

บทเรียนที่ 1 เรียนรู้การใช้งานจอ LED

จากรูปด้านบนจะสังเกตเห็นชุดคำสั่ง เหมือนกันกับ LED แสดงผลเลย �ดังนั้น ถ้าเราอยากให้แสดงรูปต่าง ๆ เราก็เพียงแค่เลือกกดไปยัง ชุดคำสั่งได้เลย

บทเรียนที่ 1 เรียนรู้การใช้งานจอ LED

วิดีโอดังกล่าวจะเป็นการสร้างรูปให้แสดงไปยังจอ LED

บทเรียนที่ 1 เรียนรู้การใช้งานจอ LED

ต่อไปคือการนำการหน่วงเวลาเข้ามาเกี่ยวข้อง ดังตัวอย่างเช่น �

ผลการทำงานก็คือว่า �เมื่อบอร์ดเริ่มการทำงาน�จะแสดงผลรูปสีเหลี่ยม�รอเป็นเวลา 2 วินาที �จะแสดงผลรูปสามเหลี่ยม

ตัวอย่างการใช้งานแบบนี้คือ�รูปภาพเคลื่อนไหวนั้นเอง� �

บทเรียนที่ 1 เรียนรู้การใช้งานจอ LED

ถ้าอยากแสดงตัวหนังสือจะทำแบบไหน ???

จากคำสั่ง LED 16*8 2-chars�คือจะแสดงได้แค่ �ตัวอักษร 2 ตัวเท่านั้น�ดังตัวอย่าง �จะแสดงหน้าจอคำว่า “HI”

บทเรียนที่ 1 เรียนรู้การใช้งานจอ LED

ถ้าจะแสดงตัวอักษร หลาย ๆ ตัวจะทำยังไง ?????

ถ้าตัวอักษรเกิน 2 ตัว �ดังนั้นเราจะต้องให้ตัวอักษรเคลื่อนที่เพื่อจะแสดงตัวอักษรอื่น ๆ โดยใช้คำสั่ง�LED 16*8 Scroll�ดังตัวอย่าง

บทเรียนที่ 1 เรียนรู้การใช้งานจอ LED

ถ้าจะแสดงตัวอักษร หลาย ๆ ข้อความละ ???

คำสั่ง Scroll นั้นจะ�ทำงานโดยไม่รอว่าจะแสดงผลสำเร็จหรือยัง�ถ้าสั่งงานต่อๆกันมันจะแสดงผลคำสั่งสุดท้าย���ดังนั้นเราจะต้องสั่งให้มันรอจนกว่าจะแสดงผลเสร็จแล้วค่อยแสดงข้อความต่อไป

บทเรียนที่ 1 เรียนรู้การใช้งานจอ LED

ให้แสดงผล 3 ตัวรูปดังนี้ �1. ให้แสดงผล รูปยิ้ม เป็นเวลา 1 วินาที �2.ให้แสดงผล ชื่อย่อ 2 ตัว เป็นเวลา 2 วินาที�3.ให้แสดงผล นามสกุลของตัวเอง ทั้งหมด จนกว่าจะหมด �และสุดท้ายทำให้เกิดการวนลูป หรือ วนซ้ำไป เรื่อย ๆ

� � �

แบบทดสอบ

ให้เขียนโปรแกรมตาม เงื่อนไขต่อไปนี้

บทเรียนที่ 2 เรียนรู้ Sensor

เซ็นเซอร์คืออะไร ??

�ตัวรับรู้ หรือ เซ็นเซอร์ (อังกฤษ: sensor) เป็นวัตถุชนิดหนึ่งที่มีหน้าที่ตรวจจับเหตุการณ์หรือการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมของตัวมันเอง จากนั้นมันก็จะให้ผลลัพธ์ที่สอดคล้องกันออกมาและส่งไปยังศูนย์ควบคุม ตัวรับรู้เป็นตัวแปรสัญญาณ (อังกฤษ: transducer) ชนิดหนึ่ง มันสามารถให้สัญญาณออกมาได้หลากหลายชนิด แต่โดยทั่วไปจะใช้สัญญาณไฟฟ้า�หรือสัญญาณแสง �ยกตัวอย่างเช่นคู่ควบความร้อน (อังกฤษ: thermocouple) �จะแปลงค่าอุณหภูมิ(สิ่งแวดล้อม)ให้เป็นแรงดันไฟฟ้า

บทเรียนที่ 2 เรียนรู้ Sensor

ภายในบอร์ด KidBright นั้นจะประกอบด้วย Sensor 3 อย่าง คือ

�1.วัดความเข็มแสง

2.วัดอุณหภูมิ

3.วัดการกดปล่อย หรือ Switch

รูปภาพจาก �https://www.kid-bright.org/kidbright/update-เอกสารเผยแพร่/

บทเรียนที่ 2 เรียนรู้ Sensor

การใช้งาน Sensor ต่าง ๆ ก็หาได้จาก �ชุดคำสั่ง Sensor

รูปภาพจาก �https://www.kid-bright.org/kidbright/update-เอกสารเผยแพร่/

บทเรียนที่ 2 เรียนรู้ Sensor

ตัวอย่างการใช้งาน การแสดงผล อุณหภูมิ แบบตลอดเวลา โดยมีการหยุดรอ 0.1 วินาที

บทเรียนที่ 3 เรียนรู้ การใช้ตรรกะ (Logic)

คือการเขียนโปรแกรมแบบใช้ทางเลือกเพื่อให้ทำคำสั่งต่าง ๆ หรือเรียกง่าย ๆ ว่าเปรียบเทียบ แล้วจะมาคล้องกับคำว่า จริง หรือไม่จริง(เท็จ)�ยกตัวอย่างเช่น ��ถ้า ร่างกายอุณหภูมิ มากกว่า 37 องศา � ถ้าเป็นจริง ไปหาหมอ� ถ้าไม่เป็นจริง ใช้ชีวิตปกติ

ซึ่งคำว่า ถ้าในการเขียนโปรแกรมก็จะเปรียบกับคำว่า �ถ้า If �หรือถ้า Else � � �

บทเรียนที่ 3 เรียนรู้ การใช้ตรรกะ (Logic)

ลองเปลี่ยนตัวอย่างเป็นการเขียนโปรแกรมกันดีกว่า�ถ้า ร่างกายอุณหภูมิ มากกว่า 37 องศา � ถ้าเป็นจริง ไปหาหมอ� ถ้าไม่เป็นจริง ใช้ชีวิตปกติ

� � �

บทเรียนที่ 3 เรียนรู้ การใช้ตรรกะ (Logic)

แล้วถ้ามีหลาย ๆ กรณีขึ้นมาจะต้องเพิ่มการเปรียบเทียบแบบไหน ไปดูกัน

�ถ้าอุณหภูมิ มากกว่า 30 องศา คือ อากาศร้อน�หรือถ้าอุณหภูมิ น้อยกว่า 20 องศา คือ อากาศเย็น�นอกจากนี้ (มากกว่า 20 แต่ น้อยกว่า 30) คืออากาศปกติ

� � �

คำว่า Call Function�คือสิ่งที่เราอยากให้ทำ

บทเรียนที่ 3 เรียนรู้ การใช้ตรรกะ (Logic)

�ถ้า ความเข้มแสง มากกว่า 60 % ให้จอแสดง คำว่า Bright�หรือถ้า ความเข้มแสง น้อยกว่า 20 % ให้จอแสดง คำว่า Dark�นอกจากนี้ (มากกว่า 60 แต่ น้อยกว่า 20) ให้จอแสดง คำว่า Normal���

� � �

แบบทดสอบ

ให้เขียนโปรแกรมตาม เงื่อนไขต่อไปนี้

บทเรียนที่ 3 เรียนรู้ การใช้ตรรกะ (Logic)

ในชีวิตจริงเราไม่ได้มีแค่เงื่อนไขเดียวในการแยกแยะเหตุผลต่าง ๆ�แต่มันจะมีคำว่า และ กับ หรือ เข้ามาเกี่ยวข้องด้วย

มารูปจักกับ การเชื่อมลอจิกกัน � �� � �

ยังไม่จบนะอีกนิด ๆ

บทเรียนที่ 3 เรียนรู้ การใช้ตรรกะ (Logic)

การเชื่อมลอจิก�

บทเรียนที่ 3 เรียนรู้ การใช้ตรรกะ (Logic)

ตัวอย่างการใช้งาน And

บทเรียนที่ 3 เรียนรู้ การใช้ตรรกะ (Logic)

ตัวอย่างการใช้งาน Or

บทเรียนที่ 3 เรียนรู้ การใช้ตรรกะ (Logic)

�ถ้าความเข้มแสง มากกว่า 80 % และ ปุ่ม 1 ถูกกด ให้จอแสดง คำว่า Bright�หรือถ้าความเข้มแสง น้อยกว่า 20 % และ ปุ่ม 1 ไม่ถูกกด ให้จอแสดง คำว่า Dark�หรือถ้าความเข้มแสง น้อยกว่า 60 % และ ปุ่ม 1 ถูกกด หรือ ปุ่ม2 ถูกกด

ให้ส่ง เสียงเตือน���

� � �

แบบทดสอบ

ให้เขียนโปรแกรมตาม เงื่อนไขต่อไปนี้

บทเรียนที่ 4 เรียนรู้ การวนซ้ำ หรือ Loop

loop หรือ การวนรอบ เป็นคำสั่งที่ให้การทำคำสั่งต่าง ๆ แบบวงซ้ำการทำงานแบบเดิมตามเงื่อนไขที่กำหนด �เช่น ทำไปเรื่อย ๆ ทำเป็นจำนวน 10 รอบ ทำจนกว่าจะถึงเวลาเลิกงาน��ตัวอย่างเช่น�การแสดงรูป สีเหลี่ยมและสามเหลี่ยม สลับกัน ไปเรื่อย ๆ�การแสดงรูป สีเหลี่ยมและสามเหลี่ยม สลับกัน จำนวน 10 รอบ�การแสดงรูป สีเหลี่ยมและสามเหลี่ยม สลับกัน จนกว่าความเข้มแสงน้อยกว่า 20

� � �

บทเรียนที่ 4 เรียนรู้ การวนซ้ำ หรือ Loop

�ตัวอย่างการใช้งาน Loop แบบทำงานไปตลอด

�การแสดงรูป สีเหลี่ยมและสามเหลี่ยม สลับกัน ไปเรื่อย ๆ�

� � �

บทเรียนที่ 4 เรียนรู้ การวนซ้ำ หรือ Loop

�ตัวอย่างการใช้งาน Loop แบบทำงานไปตลอด

�การแสดงรูป สีเหลี่ยมและสามเหลี่ยม สลับกัน

จนกว่าความเข้มแสงน้อยกว่า 20��เมื่อน้อยกว่า 20 ให้ จอหยุดการแสดงผล

� � �

บทเรียนที่ 4 เรียนรู้ การวนซ้ำ หรือ Loop

ให้เขียนโปรแกรมระบบแจ้งเตือนไฟใหม้

ถ้า อุณหภูมิ มากกว่า 30 ให้ ส่งเสียงแจ้งเตือน

จนกว่า จะกด ปุ่มที่ 1 เพื่อปิดเสียง�

แบบทดสอบ

ให้เขียนโปรแกรมตาม เงื่อนไขต่อไปนี้

บทเรียนที่ 5 เรียนรู้คณิตศาสตร์ และตัวแปร

คณิตศาสตร์ ก็คือสิ่งที่เรียนเรียนรู้กันมาตั้งแต่ เด็ก ๆ �เช่น

1 + 1 = 2��1 - 1 = 0 ��หรือ การสุ่มตัวเลขต่าง ๆ โดยใช้คำสั่ง ���

บทเรียนที่ 5 เรียนรู้คณิตศาสตร์ และตัวแปร

ต่อมาคือการสร้างตัวแปร หรือ Variable เพื่อเก็บค่าต่าง ๆ �ตัวอย่างเช่น สร้างตัวแปร ชื่อว่า ความกว้าง 50 ความยาว 50 ��

บทเรียนที่ 5 เรียนรู้คณิตศาสตร์ และตัวแปร

ตัวแปรจะสร้างขึ้นมาทำไม ??�ข้อดีของตัวแปรคือ

�เมื่อเราเขียนสมการ เช่น �สมการหาพื้นที่ 4 เหลี่ยมด้านเท่า�คือความกว้าง * ความยาว��ดังนั้นเรามาเขียนโปรแกรม�เพื่อหาพื้นที่สี่เหลี่ยมกันดีกว่า � ���

เบื่อกันหรือยัง ใจเย็น ๆนะมีอีกเยอะ

55555

มาทำหุ่นยนต์กันดีกว่า

มาประกอบหุ่นยนต์กันดีกว่า

บทเรียนที่ 6 รู้จักกับหุ่นยนต์

หุ่นยนต์คืออะไร ???

หุ่นยนต์คือ เครื่องจักรกลชนิดหนึ่งที่มีการเขียนหรือถูกควบคุมโดยโปรแกรม โดยทำงานต่าง ๆตามภารกิจหรือหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย�หุ่นยนต์ประกอบไปด้วย 3 ศาสตร์ คือ เครื่องกล ไฟฟ้า และคอมพิวเตอร์

หุ่นยนต์ถูกแบ่งเป็น 2 ประเภทหลัก ๆ คือ

1 หุ่นยนต์อยู่กับที่

2.หุ่นยนต์เคลื่อนที่ได้

บทเรียนที่ 6 รู้จักกับหุ่นยนต์

มาลองเปรียบเทียบสิ่งที่เหมือนกัน

ประเภท

คน

หุ่นยนต์

การมองเห็น

ตา

กล้อง

การเคลื่อนที่

ขา แขน

มอเตอร์

การประมวลผล

สมอง

CPU,Microcontroller

พลังงาน

อาหาร

แบตเตอร์รี่

บทเรียนที่ 6 รู้จักกับหุ่นยนต์

มารู้จักกับบอร์ดขยาย IKB-1

บทเรียนที่ 6 รู้จักกับหุ่นยนต์

เชื่อมต่อ บอร์ด KidBright กับ บอร์ด IKB-1

บทเรียนที่ 6 รู้จักกับหุ่นยนต์

มาเรียนรู้วิธีการใช้งาน IKB-1 ก่อนอื่นจะต้องติดตั้ง plugin ก่อน

บทเรียนที่ 6 รู้จักกับหุ่นยนต์

เพิ่ม Plugin เข้าไปให้ KidBright IDE

เมื่อ ติดตั้งเสร็จแล้วจะขึ้นดังรูป

บทเรียนที่ 6 รู้จักกับหุ่นยนต์

มอเตอร์กระแสตรง (DC Motor) คือ

มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง (Direct current motor) หรือเรียกว่า ดี.ซี มอเตอร์ (D.C. MOTOR) เป็นเครื่องกลไฟฟ้ากระแสตรงที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานกล��หลักการทำงานของมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง (Direct current motor) เมื่อแรงดันไฟฟ้ากระแสตรงเข้าไปในมอเตอร์ ส่วนหนึ่งจะ แปรงถ่านผ่านคอมมิวเตเตอร์เข้าไปในขดลวดอาร์มาเจอร์สร้างสนามแม่เหล็กขึ้น และกระแสไฟฟ้าอีกส่วนหนึ่งจะไหลเข้าไปในขดลวดสนามแม่เหล็ก (Field coil) สร้างขั้วเหนือ-ใต้ขึ้น จนเกิดสนามแม่เหล็ก 2 สนาม ในขณะเดียวกันตามคุณสมบัติของเส้นแรง แม่เหล็กจะไม่ตัดกัน ทิศทางตรงข้ามจะหักล้างกันและทิศทางเดียวจะเสริมแรงกัน ทำให้เกิดแรงบิดในตัวอาร์มาเจอร์ ทำให้อาร์มาเจอร์นี้หมุนได้ อาร์เมจอร์ที่หมุนนี้เรียกว่า โรเตอร์ (Rotor)

บทเรียนที่ 6 รู้จักกับหุ่นยนต์

Motor Left (M1)

การต่อ มอเตอร์ และ Sensor

บทเรียนที่ 6 รู้จักกับหุ่นยนต์

ตัวอย่าง การทำงานของ DC Motor

M

M

ไฟเข้า

ไฟเข้า

ไฟออก

ไฟออก

หมุนตามเข็ม

หมุนทวนเข็ม

บทเรียนที่ 6 รู้จักกับหุ่นยนต์

0 s

1 s

สั่งงานมอเตอร์ เดินหน้า 1 วินาที�ด้วยความเร็ว 50 %

Start

Stop

บทเรียนที่ 6 รู้จักกับหุ่นยนต์

0 s

1 s

สั่งงานมอเตอร์ถอยหลัง 1 วินาที�ด้วยความเร็ว 50 %

Start

Stop

บทเรียนที่ 6 รู้จักกับหุ่นยนต์

สั่งงานมอเตอร์ เลี้ยวซ้าย โดยหมุนล้อขวาข้างเดียว �

Start

บทเรียนที่ 6 รู้จักกับหุ่นยนต์

สั่งงานมอเตอร์ เลี้ยวขวา โดยหมุนล้อซ้ายข้างเดียว �

Start

บทเรียนที่ 6 รู้จักกับหุ่นยนต์

สั่งงานมอเตอร์ เลี้ยวซ้าย ล้อซ้ายถอยหลัง

ล้อขวาเดินหน้า �

Start

บทเรียนที่ 6 รู้จักกับหุ่นยนต์

สั่งงานมอเตอร์ เลี้ยวขวา ล้อขวาถอยหลัง

ล้อซ้ายเดินหน้า �

Start

บทเรียนที่ 6 รู้จักกับหุ่นยนต์

สั่งงานมอเตอร์ เดินหน้า โดย เอียงไปทางซ้าย โดยให้ความเร็วมอเตอร์ซ้าย น้อยกว่า มอเตอร์ขวา �

Start

บทเรียนที่ 6 รู้จักกับหุ่นยนต์

สั่งงานมอเตอร์ เดินหน้า โดย เอียงไปทางขวา โดยให้ความเร็วมอเตอร์ขวา น้อยกว่า มอเตอร์ซ้าย�

Start

บทเรียนที่ 6 รู้จักกับหุ่นยนต์

0 s

1 s

สั่งงานมอเตอร์เดินหน้า 1 วินาที�เลี้ยวซ้าย 0.2 วินาที

สั่งงานมอเตอร์เดินหน้า 1 วินาที >> หยุดมอเตอร์

1.2 s

2.2 s

Start

Stop

บทเรียนที่ 6 รู้จักกับหุ่นยนต์

ให้เขียนโปรแกรมควบคุมมอเตอร์ แล้วให้หุ่นยนต์

เคลื่อนที่เป็น แล้วหยุด

4 สี่เหลี่ยมด้านเท่า

4 สี่เหลี่ยมด้านเท่า

บทเรียนที่ 6 รู้จักกับหุ่นยนต์

ถ้ากดปุ่ม SW1 ให้มอเตอร์หมุนไปด้านหน้า เริ่มต้นจาก 50% เพิ่มขึ้นที่ละ 10 % จนถึง 100 หน่วงเวลา 0.5 วินาที / รอบ�หรือถ้ากดปุ่ม SW2 ให้มอเตอร์หมุนไปด้านหลัง เริ่มต้นจาก 50% เพิ่มขึ้นที่ละ 10 % จนถึง 100 หน่วงเวลา 0.5 วินาที / รอบ�ถ้าไม่มีการกด SW ทั้ง 2 ให้มอเตอร์หยุด

แบบทดสอบ

ให้เขียนโปรแกรมตาม เงื่อนไขต่อไปนี้

บทเรียนที่ 7 การสร้างฟังก์ชั้น

การสร้างฟังก์ชั้น คือการจัดเก็บชุดโปรแกรมให้ทำหน้าที่เฉพาะ �ยกตัวอย่างเช่น

ให้หุ่นยนต์วิ่งเป็นรูปสี่เหลี่ยม��

บทเรียนที่ 7 การสร้างฟังก์ชั้น

วิธีการสร้างฟังก์ชั้น��

เข้าไปยัง Advance แล้วเลือกคำสั่ง Function

ตั้งชื่อฟังก์ชั้นที่ตามวัตถุประสงค์

บทเรียนที่ 7 การสร้างฟังก์ชั้น

วิธีเรียกใช้ ฟังก์ชั้น��

เข้าไปยัง Advance แล้วเลือกคำสั่ง Call Function

เลือกชื่อฟังก์ชั้นที่ต้องการใช้งาน

เมื่อเรียกจะได้ฟังก์ชั้นดังรูป

บทเรียนที่ 8 เรียนรู้การใช้งาน Light Sensor (TC01)

IR Sensor หรือ TC01 ก็คือการใช้หลอด LED ส่งแสงออกไปแล้วสะท้อนกับพื้นจากนั้นจะมีหลอดที่ Photo transistor or Photo diode คอยรับแสงที่สะท้อนกับพื้น เมื่อ

พื้นเป็นสี ขาว แสงที่สะท้อนมายังหลอด Photo Transistor จะมีปริมาณ มาก

พื้นเป็นสี ดำ แสงที่สะท้อนมายังหลอด Photo Transistor จะมีปริมาณ น้อย

บทเรียนที่ 8 เรียนรู้การใช้งาน Light Sensor (TC01)

ถ้าเราอ่าน ค่าที่ได้จาก Sensor ตอนเอาหุ่นยนต์ไปวัดแสงกับพื้น�ยกตัวอย่าง�เมื่อวัดพื้น สี ขาว ค่าได้ ประมาณ 100�เมื่อวัดพื้น สี ดำ ค่าได้ ประมาณ 20

วิธีการแยกคือการเปรียบเทียบ โดยใช้ค่าเฉลี่ย สูตรก็คือ (ขาว + ดำ)/2 (100 + 20)/2 = 60�เช่น ถ้า มากกว่า 60 ก็คือ สีขาว � ถ้า น้อยกว่า 60 ก็คือ สีดำ

บทเรียนที่ 8 เรียนรู้การใช้งาน Light Sensor (TC01)

สีขาว

สีดำ

ค่าเฉลี่ย

Sensor A0

800

200

500

Sensor A1

850

250

550

Sensor A2

900

300

600

บทเรียนที่ 8 เรียนรู้การใช้งาน Light Sensor (TC01)

ให้เขียนโปรแกรมอ่านค่า Analog A0 A2 เพื่อแยกความแตกต่างระหว่างสีขาวและสีดำ พร้อกับหาค่าเฉลี่ยของแต่ละตัว

แบบทดสอบ

ให้เขียนโปรแกรมตาม เงื่อนไขต่อไปนี้

บทเรียนที่ 8 เรียนรู้การใช้งาน Light Sensor (TC01)

เมื่อ A0 เจอสีขาวให้หุ่นยนต์เดินหน้าด้วยความเร็ว 50% แต่ถ้าเจอสีดำให้มอเตอร์หยุดและส่งเสียงบอกแล้วหยุดโปรแกรม

แบบทดสอบ

ให้เขียนโปรแกรมตาม เงื่อนไขต่อไปนี้

บทเรียนที่ 9 เรียนรู้กิจกรรมหุ่นยนต์เดินตามเส้น

โอกาสหรือกรณีที่หุ่นยนต์จะต้องเจอ กับการเดินตามเส้น

บทเรียนที่ 9 เรียนรู้กิจกรรมหุ่นยนต์เดินตามเส้น

วิเคราะห์ กรณีที่ 1 ��A0 เจอ สีขาว �A1 เจอ สีดำ�A2 เจอ สีขาว ��ให้เดินตรงไป

บทเรียนที่ 9 เรียนรู้กิจกรรมหุ่นยนต์เดินตามเส้น

วิเคราะห์ กรณีที่ 2 ��A0 เจอ สีดำ�A1 เจอ สีขาว�A2 เจอ สีขาว ��ให้เดินเลี้ยวซ้าย

บทเรียนที่ 9 เรียนรู้กิจกรรมหุ่นยนต์เดินตามเส้น

วิเคราะห์ กรณีที่ 3 ��A0 เจอ สีขาว �A1 เจอ สีขาว�A2 เจอ สีดำ ��ให้เดินเลี้ยวขวา

บทเรียนที่ 9 เรียนรู้กิจกรรมหุ่นยนต์เดินตามเส้น

สรุปกรณีทั้งหมด

กรณี

Sensor 0

Sensor 1

Sensor 2

การกระทำ

1

ดำ

ดำ

ดำ

เดินตรง

2

ดำ

ดำ

ขาว

เลี้ยวซ้าย

3

ดำ

ขาว

ดำ

เดินตรง

4

ดำ

ขาว

ขาว

เลี้ยวซ้าย

5

ขาว

ดำ

ดำ

เลี้ยวขวา

6

ขาว

ดำ

ขาว

เดินตรง

7

ขาว

ขาว

ดำ

เลี้ยวขวา

8

ขาว

ขาว

ขาว

เดินตรง

ปกติเราจะต้องเขียนเงื่อนไขให้ครอบคุมทุกกรณีเพื่อที่หุ่นยนต์จะได้เดินทำภาจกิจสำเร็จ ��แต่ความเป็นจริงแล้วไม่จำเป็นจะต้องเขียนทุกกรณีก็ได้เพียงแค่ยุบกรณีหลัก ๆ เช่น �if(sensor0 เจอ ดำ) � ให้เลี้ยวซ้าย