2024 ทำไม ถ ายว ด โออ กแทบแร วม นเปนอ กแทบ

หากวิดีโอมีความยาวเกินกว่าที่จะส่งผ่านทางเมลหรือข้อความได้ หรือคุณแค่ต้องการแชร์วิดีโอบางส่วนกับเพื่อนๆ และครอบครัว เมื่อใช้แอปรูปภาพ คุณจะสามารถเปลี่ยนเวลาเริ่มต้นและเวลาสิ้นสุดเพื่อทำให้วิดีโอสั้นลงได้

  1. เปิดแอปรูปภาพแล้วแตะวิดีโอที่คุณต้องการแก้ไข
  2. แตะแก้ไข
  3. เลื่อนแถบเลื่อนทั้งสองด้านของไทม์ไลน์วิดีโอเพื่อเปลี่ยนเวลาเริ่มต้นและสิ้นสุด หากต้องการดูตัวอย่างวิดีโอที่ตัดต่อ ให้แตะปุ่มเล่น
    2024 ทำไม ถ ายว ด โออ กแทบแร วม นเปนอ กแทบ
    2024 ทำไม ถ ายว ด โออ กแทบแร วม นเปนอ กแทบ
  4. แตะเสร็จสิ้น จากนั้นแตะบันทึกวิดีโอหรือบันทึกวิดีโอเป็นคลิปใหม่

การบันทึกวิดีโอจะบันทึกแต่เวอร์ชั่นที่ตัดต่อแล้วเท่านั้น การบันทึกเป็นคลิปใหม่จะเก็บเวอร์ชั่นเดิมไว้และบันทึกเวอร์ชั่นที่ตัดต่อเพิ่มเติมไว้ในคลัง

  1. เปิดแอปรูปภาพและดับเบิ้ลคลิกที่วิดีโอที่คุณต้องการแก้ไข
  2. คลิกแก้ไข
  3. เลื่อนแถบเลื่อนทั้งสองด้านของไทม์ไลน์วิดีโอเพื่อเปลี่ยนเวลาเริ่มต้นและสิ้นสุด หากต้องการดูตัวอย่างวิดีโอที่ตัดต่อ ให้คลิกปุ่มเล่น
    2024 ทำไม ถ ายว ด โออ กแทบแร วม นเปนอ กแทบ
  4. คลิกเสร็จสิ้น จากนั้นคลิกบันทึกวิดีโอหรือบันทึกวิดีโอเป็นคลิปใหม่

บน iPhone, iPad หรือ iPod touch: เปิดวิดีโอที่คุณตัดต่อไว้ แตะ "แก้ไข" แตะแปลงกลับ แล้วแตะแปลงกลับเป็นต้นฉบับ*

บน Mac: เปิดวิดีโอที่คุณตัดต่อไว้ คลิกแก้ไข คลิกแปลงกลับเป็นต้นฉบับ หรือเลื่อนแถบเลื่อนกลับไปที่จุดเริ่มต้นและจุดสิ้นสุดของวิดีโอ จากนั้นคลิกเสร็จสิ้น

* หากคุณแก้ไขวิดีโอที่คุณสร้างโดยใช้ฟังก์ชั่นบันทึกวิดีโอเป็นคลิปใหม่ การแตะ "แปลงกลับเป็นต้นฉบับ" จะยกเลิกการแก้ไขใดๆ ที่ทำไว้ เช่น การปรับค่าการเปิดรับแสงหรือการเพิ่มฟิลเตอร์ แต่จะไม่เรียกคืนวิดีโอกลับเป็นความยาวต้นฉบับ

หลังจากถ่ายวิดีโอแล้ว ให้เปิดวิดีโอในแอปรูปภาพ แล้วแตะแก้ไข คุณสามารถหมุน เพิ่มฟิลเตอร์ และปรับรูปลักษณ์ของวิดีโอในแอปรูปภาพ หากคุณไม่พอใจกับการเปลี่ยนแปลงที่ทำไว้ ให้แตะยกเลิกเพื่อแปลงกลับเป็นต้นฉบับ

2024 ทำไม ถ ายว ด โออ กแทบแร วม นเปนอ กแทบ

บน Mac ให้เปิดแอปรูปภาพ และคลิกแก้ไขเพื่อปรับรูปลักษณ์ของวิดีโอของคุณ หากคุณไม่พอใจกับการเปลี่ยนแปลงที่ทำไว้ ให้คลิกแปลงกลับเป็นต้นฉบับหรือรีเซ็ตการปรับ

หลังจากที่บันทึกวิดีโอด้วยโหมดกล้องสโลว์โมชั่น คุณสามารถแก้ไขส่วนของวิดีโอที่ต้องการให้เล่นโดยใช้เอฟเฟ็กต์สโลว์โมชั่นได้ ซึ่งก็หมายความว่า คุณสามารถกำหนดให้วิดีโอเล่นที่ความเร็วปกติ แล้วลดความเร็วลงเพื่อให้เห็นรายละเอียดที่คุณไม่อยากให้ผู้ชมพลาดไป

2024 ทำไม ถ ายว ด โออ กแทบแร วม นเปนอ กแทบ

บน iPhone, iPad หรือ iPod touch ให้แตะ "แก้ไข" บนวิดีโอสโลว์โมชั่นที่คุณต้องการแก้ไข บน Mac ให้คลิกแก้ไข จากนั้นใช้เส้นแนวตั้งสีขาวในไทม์ไลน์ของวิดีโอเพื่อกำหนดจุดเริ่มต้นและจุดสิ้นสุดของวิดีโอ

คุณสามารถดาวน์โหลดแอปของผู้ให้บริการรายอื่นบน iPhone, iPad หรือ iPod touch เพื่อแก้ไขวิดีโอเพิ่มเติมได้ หรือติดตั้งส่วนขยายในการแก้ไขรูปภาพของผู้ให้บริการรายอื่นใน Mac เพื่อใช้ร่วมกับเครื่องมือที่มีมาให้ในแอปรูปภาพได้อีกด้วย ดูเพิ่มเติมเกี่ยวกับการแก้ไขด้วยส่วนขยายของผู้ให้บริการรายอื่นบน Mac

  • ดูวิธีถ่ายภาพและปรับแต่งภาพใน iPhone, iPad หรือ iPod touch
  • หากคุณมีวิดีโอ 4K ให้ดูวิธีแก้ไขด้วย iMovie
  • จัดเก็บรูปภาพและวิดีโอในรูปภาพ iCloud เพื่อให้คุณเข้าถึงรูปภาพและวิดีโอเหล่านั้นได้ทุกที่ไม่ว่าจะอยู่ที่ไหน
  • จัดเก็บคอลเลกชั่นของคุณให้เป็นระเบียบเสมอในแอปรูปภาพ

การให้ข้อมูลเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ที่ไม่ได้ผลิตโดย Apple หรือเว็บไซต์อิสระที่ Apple ไม่ได้ควบคุมหรือทดสอบไม่ถือเป็นการแนะนำหรือการรับรองใดๆ Apple จะไม่รับผิดชอบในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการเลือก ประสิทธิภาพการทำงาน หรือการใช้งานเว็บไซต์หรือผลิตภัณฑ์ของบริษัทอื่น Apple ไม่รับรองความถูกต้องหรือความน่าเชื่อถือของเว็บไซต์ของบริษัทอื่น โปรดติดต่อผู้จำหน่ายหากต้องการข้อมูลเพิ่มเติม

เมื่อไรที่เสียงแหบ (Hoarseness) ไม่เพียงแต่ระดับสูงต่ำของเสียงเปลี่ยน หรือคุณภาพของเสียงเปลี่ยนไป แต่ยังเป็นสัญญาณบอกถึงความผิดปกติของเส้นเสียงในกล่องเสียงที่ควรต้องดูแลรักษาอย่างเร่งด่วน ก่อนที่จะกลายเป็นอาการเรื้อรังและภาวะแทรกซ้อนที่ส่งผลกระทบกับร่างกายในระยะยาว

วิธีการเปล่งเสียง

ก่อนจะรู้ว่าเสียงแหบเกิดจากสาเหตุใด การทำความเข้าใจเกี่ยวกับกลไกการเปล่งเสียงคือพื้นฐานสำคัญ การเปล่งเสียงเกิดจากอากาศจากปอดไหลผ่านหลอดลมขึ้นมาที่กล่องเสียง ทำให้เกิดการสั่นสะเทือนของเยื่อบุภายในกล่องเสียงร่วมกับการขยับของเส้นเสียง ทำให้เกิดเสียง เมื่อเสียงผ่านมายังคอหอยจะเกิดการสั่นสะเทือนของเนื้อเยื่อบริเวณคอหอย โคนลิ้น จากนั้นลิ้น ฟัน ริมฝีปากจะเกิดการขยับเกิดเป็นคำพูดขึ้นมาตามที่ต้องการ

หน้าที่ของกล่องเสียง

  • เป็นทางผ่านของลมหายใจ ทั้งลมหายใจเข้าและออก
  • เปล่งเสียง กล่องเสียงช่วยในการสื่อสารและออกเสียงพูด
  • ป้องกันการสำลักอาหารในขณะกลืน ทำให้หลอดลมและปอดไม่เสี่ยงต่อการติดเชื้อจากอาหารที่อาจตกลงไปในทางเดินหายใจ
  • ช่วยในการไอเมื่อมีสิ่งแปลกปลอม เชื้อโรค หรือเสมหะหลุดเข้าไปในทางเดินหายใจ ซึ่งกล่องเสียงเป็นกลไกหนึ่งที่ช่วยทำให้เกิดการไอ เพราะฉะนั้นเมื่อกล่องเสียงทำงานผิดปกติจะส่งผลเสียอีกมากมายตามมา

เสียงแหบเกิดจาก

  • การติดเชื้อ ได้แก่ เชื้อหวัด เชื้อไวรัส เชื้อแบคทีเรียที่กล่องเสียง
  • การอักเสบบวมช้ำของเส้นเสียง จากการตะโกน ตะเบ็ง ตะคอก เค้นเสียง ฯลฯ
  • อุบัติเหตุกระทบกระเทือนกล่องเสียง เช่น ทำร้ายร่างกายด้วยการบีบคอ, อุบัติเหตุทางรถยนต์ที่คอไปกระแทกกับพวงมาลัยหรือกระเด็นออกไปนอกรถ, การใส่ท่อช่วยหายใจขณะดมยาสลบ ฯลฯ
  • เนื้องอกที่เส้นเสียงและกล่องเสียง
  • มะเร็งกล่องเสียง
  • โรคของกล้ามเนื้อและระบบประสาทบางอย่าง เช่น พาร์กินสัน เป็นต้น
  • สูดสารพิษต่าง ๆ ที่เข้าไประคายเคืองกล่องเสียง
  • โรคอื่น ๆ ที่มีผลกับเสียง เช่น กรดไหลย้อนจากกระเพาะขึ้นมาที่คอไประคายเคืองกล่องเสียง ภูมิแพ้ ไอเรื้อรัง

อาการแบบนี้ต้องพบแพทย์

  • เสียงแหบติดต่อกันมากกว่า 1 สัปดาห์ ดูแลตัวเองแล้วก็ยังไม่หาย
  • เสียงแหบแบบเป็น ๆ หาย ๆ
  • เสียงแหบมากขึ้นเรื่อย ๆ เกิน 7 วัน จนแทบไม่มีเสียง และสื่อสารไม่ได้
  • เสียงแหบและมีอาการอื่นร่วมด้วย เช่น เสียงแหบเรื้อรัง ไอเป็นเลือด สำลัก กลืนลำบาก ต่อมน้ำเหลืองที่คอโต หายใจติดขัด
  • เสียงแหบในคนที่ดื่มสุราเป็นประจำ
  • เสียงแหบและหอบในคนที่สูบบุหรี่

การรักษาเสียงแหบ

การรักษาเส้นเสียงประกอบไปด้วย

  • การใช้ยา
  • การดื่มน้ำมาก ๆ
  • พักการใช้เสียง พูดน้อย ๆ เบา ๆ ไม่พูดนาน
  • งดดื่มแอลกอฮอล์ งดสูบบุหรี่

การปฏิบัติตัวตามที่กล่าวมาข้างต้นควรทำต่อเนื่องเป็นเวลาอย่างน้อย 2 สัปดาห์ หากยังใช้เสียงมากในขณะที่เส้นเสียงมีปัญหา จะทำให้บวมและอักเสบมากยิ่งขึ้น คุณภาพของเสียงแย่ลง และเมื่อได้รับการรักษาจะหายช้ากว่าที่ควรหรืออาจหายไม่สนิท และอาจมีโรคแทรกเกิดขึ้นได้ เช่น เนื้องอกเส้นเสียง เป็นต้น

ดูแลเส้นเสียงให้แข็งแรง

  • พักผ่อนให้เพียงพอ ประมาณ 6 – 8 ชั่วโมงต่อคืน
  • ดื่มน้ำ 8 แก้วต่อวัน (ประมาณ 2 ลิตร) เพื่อไม่ให้ร่างกายขาดน้ำ ควรเป็นน้ำเปล่าที่อุณหภูมิห้อง
  • งดเครื่องดื่มที่มีคาเฟอีนและแอลกอฮอล์
  • งดสูบบุหรี่
  • เลี่ยงมลภาวะในอากาศ เช่น ฝุ่น ควัน สารพิษต่าง ๆ
  • ไม่คลุกคลีกับผู้ป่วยที่กำลังเป็นโรคทางเดินหายใจติดเชื้อ
  • ฝึกการออกเสียงพูดหรือร้องเพลงที่ถูกวิธี ไม่ตะเบ็งเสียง หากฝึกเป็นประจำช่วยให้กล้ามเนื้อเส้นเสียงแข็งแรง
  • เมื่อไม่สบายควรรีบรักษาอย่างถูกต้อง ไม่ปล่อยให้หายเอง เพราะถ้าหวัดหายช้า เสียงจะยิ่งแหบง่ายขึ้น
  • ไม่ใช้เสียงมากขณะที่เสียงกำลังแหบหรือทางเดินหายใจมีการอักเสบและติดเชื้อหรือมีภาวะกล่องเสียงอักเสบ

การรักษาอาการเสียงแหบขึ้นอยู่กับสาเหตุของโรคเป็นสำคัญ ซึ่งควรเข้ารับการตรวจกับแพทย์ผู้ชำนาญการเพื่อจะได้ทราบสาเหตุและทำการรักษาอย่างถูกวิธีโดยเร็ว เพราะหากปล่อยทิ้งไว้ นอกจากส่งผลให้เสียกับบุคลิกภาพ ยังอาจเรื้อรังจนรุนแรงมากกว่าที่คิด

Bipolar I disorder มีลักษณะไบโพลาร์ประเภทใด

ไบโพลาร์มีกี่ประเภท? ผู้เชี่ยวชาญด้านสุขภาพจิตจำแนกไบโพลาร์ หรือโรคอารมณ์สองขั้วออกเป็น 4 ประเภทหลัก ได้แก่ Bipolar I disorder. มีลักษณะอารมณ์ดี (Mania) หรือก้าวร้าวรุนแรงแบบสุดโต่ง สลับกับอาการซึมเศร้ารุนแรง (Depressed) และอาจจำเป็นต้องแยกโรคจากโรคจิตเภทบางชนิดที่ยากจะรู้ว่าเชื่อมโยงกับโรคไบโพลาร์หรือไม่

โรคไบโพลาร์ สามารถหายได้ไหม

กรมสุขภาพจิตเผยโรคอารมณ์สองขั้วสามารถรักษาหายได้ เป็นโรคที่มีความผิดปกติทางอารมณ์เป็นอาการสำคัญ แนะผู้ป่วยต้องรับประทานยาอย่างเคร่งครัดสม่ำเสมอ พบแพทย์ตามนัด ดูแลตัวเอง รวมทั้งควรต้องได้รับกำลังใจและความเข้าใจจากสังคม ครอบครัว และคนใกล้ชิด

โรคไบโพล่าร์มีกี่ระยะ

ผู้ป่วยไบโพลาร์จะมีอาการของโรคแบ่งเป็น 2 ช่วง แปรปรวนสลับกันระหว่าง อารมณ์ดีหรือก้าวร้าวผิดปกติ และ อารมณ์ซึมเศร้าผิดปกติโ ดยอาการทั้ง 2 อารมณ์จะไม่ขึ้นอยู่กับสถานการณ์ใด ๆ

Mania กับ hypomania ต่างกันอย่างไร

  1. อาการคึก (Mania and Hypomania)อาการคึกรุนแรง (Mania) และคึกน้อย ๆ (Hypomania) จะเป็นแบบเดียวกัน เพียงแต่ความรุนแรงของอาการที่เรียกว่า คึกน้อย (Hypomania) นั้นจะไม่รุนแรงเท่า อาการมีดังนี้ มีอาการคึก มีความรู้สึกเป็นสุข อารมณ์แจ่มใสเกิน พลังเยอะ แอ็กทีฟ หรืออาจกระวนกระวาย แม้แต่หงุดหงิดได้ง่าย ๆ