Ultraviolet อ ลตร าไวโอเลต ม จจ ราชมหาประล ย

การลาํ ดบั เครอ่ื งราชอสิ ริยาภรณไ ทย The Order of Precedence of the Royal Thai Decorations and Awards

เครื่องราชอสิ ริยาภรณไ ทย ถือเกียรตติ ามลาํ ดับ ต้ังแตช นั้ สูงลงไปหาช้นั ตา่ํ โดยถอื : เหรียญที่ระลึกใหถอื เหรยี ญท่ีระลึกของทางราชการ

มากอ นเหรียญทรี่ ะลกึ ซ่งึ มิใชเ ปนของทางราชการ และถอื อาวุโสในการสรางกอ นหลงั ของเหรียญแตละชนดิ เปนการเรียงลําดับ ซงึ่ จะไดถอื ลําดบั

ดังตอไปน้.ี

๑. เครื่องราชอิสรยิ าภรณ - ดารา The Royal Decorations - Royal Stars 0H

๒. เหรียญราชอิสริยาภรณ - เหรียญบําเหน็จกลาหาญ The Royal Medals - The Bravery Medals. 1H

๓. เหรียญราชอสิ ริยาภรณ - เหรียญบาํ เหน็จในราชการ The Royal Medals - The King's Service Medals. 2H

๔. เหรียญราชอสิ ริยาภรณ - เหรยี ญบําเหนจ็ ในพระองค พระมหากษตั รยิ  The Royal Medals - The King's Interrior Service Medals. 3H

๕. เหรียญราชอสิ ริยาภรณ - เหรียญท่ีพระราชทานเปนทรี่ ะลกึ ตางๆ The Royal Medals - The Royal Commemorative Medals. H4

๑. เครือ่ งราชอิสริยาภรณ - ดารา The Royal Decorations - Royal Stars

๑.๑ ราชมิตราภรณ (ร.ม.ภ.) The Most Auspicious Order of the Rajamitrabhorn. (For The Head of the Country only - See picture)

๑.๒ มหาจกั รีบรมราชวงศ (ม.จ.ก.) Knight of the Most Illustrious Order of the Royal House of Chakri.(For Dynasty Only)

๑.๓ นพรตั นราชวราภรณ (น.ร.) Knight of the Ancient and Auspicious Order of the Nine Gems.

๑.๔ ปฐมจลุ จอมเกลา วิเศษ (ป.จ.ว.) Knight Grand Cordon (Special Class) of the Most Illustrious Order of Chula Chom Klao.

๑.๕ รัตนวราภรณ (ฝา ยหนา ฝายใน) The (ร.ว.)Ratna Varabhorn Order of Merit.

๑.๖ ปฐมจลุ จอมเกลา (ป.จ.) Knight Grand Cross (First Class) of the Most Illustrious Order of Chula Chom Klao.

๑.๗ รามาธิบดี ช้ันที่ ๑ (เสนางคะบดี) (ส.ร.) Senangapati" (Knight Grand Commander) of the Honourable Order of Rama.

รังสีอัตราไวโอเลต(UV)

รังสีอัตราไวโอเลต คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีความถี่สูงกว่าแสงคือมีความถี่อยู่ในช่วง

ถึง
เฮิรตซ์เรียกว่า รังสีอัลตราไวโอเลต หรือ รังสีเหนือม่วง รังสีอัตราไวโอเลตที่มีในธรรมชาติ ส่วนใหญ่มาจากดวงอาทิตย์ และรังสีนี้ทำให้บรรยากาศชั้นไอโอโนสเฟียร์มีประจุอิสระและไอออน เพราะรังสีอัลตราไวโอเลตมีพลังงานสูงพอที่จะทำให้อิเล็กตรอนหลุดจากโมเลกุลของอากาศ พบว่าในไอโอโนสเฟียร์มีโมเลกุลหลายชนิด เช่น โอโซนซึ่งสามารถกั้นรังสีอัลตราไวโอเลตได้ดีตามปกติรังสีอัตราไวโอเลตไม่สามารถทะลุผ่านสิ่งกีดขวางที่หนาได้ แต่สามารถฆ่าเชื้อโรคบางชนิดได้ ในวงการแพทย์จึงใช้รังสีอัลตราไวโอเลตในปริมาณพอเหมาะรักษาโรคผิวหนังบางชนิด แต่ถ้ารังสีอัลตราไวโอเลตจากดวงอาทิตย์ส่งลงมาถึงพื้นโลกในประเทศใดมากเกินไป ประชากรจำนวนมากในประเทศนั้นอาจเป็นมะเร็งผิวหนังได้ เพราะได้รับรังสีในปริมาณมากเกินควร เราสามารถสร้างรังสีอัลตราไวโอเลตได้โดยการผ่านกระแสไฟฟ้าไปในหลอดที่บรรจุไอปรอท อะตอมปรอทจะรับพลังงานจากอิเล็กตรอนในกระแสไฟฟ้า แล้วปลดปล่อยรังสีอัตราไวโอเลตออกมาพร้อมกับให้แสงสีม่วงจางด้วย รังสีอัลตราไวโอเลตสามารถทะลุผ่านแก้วได้บ้างเล็กน้อย แต่ผ่านควอตซ์ได้ดี ดังนั้นหลอดผลิตรังสีอัลตราไวโอเลตจึงทำด้วยควอตซ์ในหลอดฟลูออเรสเซนซ์ที่มีไอปรอทบรรจุอยู่ภายใน เมื่อมีกระแสไฟฟ้าผ่านจะมีรังสีอัลตราไวโอเลตเกิดขึ้น แต่เมื่อแสงต้องการคือแสงขาว ดังนั้นจึงฉาบสารวาวแสงไว้ที่ผิวในของหลอด เมื่อรังสีอัลตราไวโอเลตกระทบสารวาวแสงก็จะถ่ายโอนพลังงานให้ และสารวาวแสงจะแผ่แสงสว่างออกมาอีกทอดหนึ่ง ส่วนรังสีอัลตราไวโอเลตจะถูกแก้วสกัดกั้นไม่ให้แผ่ออกมานอกหลอด นอกจากนี้การเชื่อมโลหะด้วยไฟฟ้าก็สามารถทำให้เกิดรังสีอัลตราไวโอเลตที่มีความเข้มสูงในปริมาณในเป็นอันตรายต่อนัยน์ตาได้ จึงจำเป็นต้องสวมแว่นสำหรับป้องกันโดยเฉพาะ

ภาพถ่ายจากย่านรังสีอัลตราไวโอเลต ที่มาภาพ : //www.thaispaceweather.com/October07.html

การค้นพบ หลังจากที่รังสีอินฟราเรดถูกค้นพบ นักฟิสิกส์ชาวเยอรมันชื่อ โยฮันน์ วิลเฮล์ม ริตเตอร์ (Johann Wilhelm Ritter) ได้ทดลองค้นหารังสีที่อยู่ตรงข้ามกับรังสีอินฟราเรด นั่นคือ รังสีอินฟราเรดมีความยาวคลื่นยาวกว่าแสงสีแดง แต่ริตเตอร์ต้องการจะหารังสีชนิดหนึ่งที่มีความยาวคลื่นสั้นกว่าสีม่วง เขาได้ใช้กระดาษอาบซิลเวอร์คลอไรด์วางไว้กลางแดด พบว่ากระดาษนั้นเปลี่ยนเป็นสีดำ ริตเตอร์เรียกรังสีนี้ว่า deoxidizing rays ต่อมาก็เปลี่ยนชื่อเป็นยูวีดังเช่นในปัจจุบัน

บทบาทของรังสีอัลตราไวโอเลต

รังสีดวงอาทิตย์มีบทบาทสำคัญต่อธรรมชาติเพราะว่าก่อให้เกิดภูมิอากาศของโลกและมีอิทธิพลต่อสิ่งแวดล้อมอย่างยิ่ง สเปคตรัมของดวงอาทิตย์ช่วงอัลตราไวโอเลตมีบทบาทสำคัญในกระบวนการทางชีววิทยาหลายประการ แต่ก็มีอันตรายหากได้รับรังสีอัลตราไวโอเลตในปริมาณที่มากเกินไปเช่นความสามารถในการปรับและป้องกันตัวของสิ่งมีชีวิตบางชนิด รวมทั้งมนุษย์จะเสื่อมถอยลงและจะเป็นอันตรายขั้นรุนแรงต่อไปโดยเฉพาะผิวหนังและตา ดังนั้นเพื่อหลีกเลี่ยงรังสีอัลตราไวโอเลตที่มีความเข้มสูงจึงควรมีวิธีป้องกันและจำกัดการรับรังสีดวงอาทิตย์

ชนิดรังสีอัลตราไวโอเลต

UVC (100-280nm) สามารถทำลายเนื้อเยื่อและทำให้เกิดมะเร็งที่ผิวหนังได้ เป็นรังสีที่เป็นอันตรายต่อผิวหนังมาก แต่รังสีนี้ถูกกรองกั้น โดยชั้นบรรยากาศไว้ได้ทั้งหมด จึงแทบไม่มี หลุดลอดมายัง โลกเลย UVB (280-315nm) มีอยู่ประมาณ 18% ของรังสี UV ที่ส่องมายังโลก ซึ่งเป็นรังสีที่มีพลังงานมาก โดยจะเห็นได้จากการ ที่รังสีนี้เป็นตัวการทำให้ผิวหนังมีอาการไหม้ ร้อนแดง และยังส่งผลให้มีการสร้างเมลานินเพิ่มมากขึ้นจึงทำให้ผิดหนังเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาลแดง UVA (315-400nm) มีอยู่ประมาณ 75% ของรังสี UV ที่ส่องมายังโลก โดยที่จะมีพลังงานต่ำกว่า UVB จึงไม่ทำให้เกิดอาการร้อนแดง หรือว่าการไหม้ แต่จะแทรกลงไปในชั้นผิวหนัง และก็ทำลายสารองค์ประกอบ ของผิวหนัง ทำให้เกิดการ Photo aging หรืออาการจาก UV ที่ทำอันตรายต่อ DNA โปรตีน และไขมันซึ่งเป็นเสมือนเกราะป้องกันผิวหนัง ซึ่งผลของมันก็คือ ทำให้เกิดริ้วรอยเหี่ยวย่นและฝ้าตามใบหน้าและร่างกาย

ผลกระทบจากรังสีอัลตราไวโอเลต

สามารถแบ่งประเภทผลกระทบได้ 3 ประเภท คือ 1. ผลกระทบต่อมนุษย์ รังสีอัลตราไวโอเลต มีทั้งคุณและโทษต่อสุขภาพมนุษย์ คุณประโยชน์ของรังสีอัลตราไวโอเลตคือ ช่วยสังเคราะห์วิตามิน D ที่ผิวหนังมนุษย์และสัตว์และมีส่วนสำคัญในการสร้างเสริมเนื้อเยื่อกระดูก ส่วนผลกระทบที่เป็นโทษของรังสีอัลตราไวโอเลต คือ ผิวหนังเกรียม กระจกตาอักเสบ (snow blindness) ต้อกระจก ผิวหนังเหี่ยวย่น และมะเร็งผิวหนัง เราสามารถแบ่งผลกระทบออกเป็น 4 ส่วนดังนี้ 1. ผลกระทบต่อดวงตา ตาของมนุษย์ไม่เพียงแต่ได้รับแสงที่ส่งมาจากดวงอาทิตย์โดยตรงเท่านั้น แต่ยังได้รับแสงจากการตก กระทบภายใต้มุมที่เฉียงมากๆอีกด้วย ดังนั้นหากตาได้รับรังสีอัลตราไวโอเลตโดยที่ไม่มีอุปกรณ์ป้องกัน ก็จะเป็นอันตรายต่อดวงตา โดยผลกระทบระยะสั้นที่เกิดขึ้นคือ กระจกตาอักเสบ และผลกระทบระยะยาวเช่น ต้อเนื้อ ต้อลมหรือ ต้อกระจก 2. การยับยั้งภูมิคุ้มกันร่างกาย ระบบภูมิคุ้มกัน ทำหน้าที่ป้องกันร่างกายไม่ให้เกิดโรคติดต่อ และมะเร็งบางชนิด โดยมีกลไกสำคัญ 2 ข้อ คือ - Antibody สามารถแก้พิษ ทำลายจุลินทรีย์ ป้องกันการติดเชื้อ และกำจัดสิ่งแปลกปลอมที่เข้ามาสู่ร่างกาย - Lymphocyte เป็นสื่อที่นำไปสู่การผลิต cytokines ซึ่งกระตุ้นเซลล์อื่นๆของระบบเม็ดเลือดขาวเพื่อทำลายเชื้อโรค ไวรัส และเซลล์มะเร็งบางชนิด รังสีอัลตราไวโอเลตสามารถเปลี่ยนแปลงระบบภูมิคุ้มกันบริเวณตำแหน่งที่ได้รับรังสี โดยยับยั้งภูมิคุ้มกันและมีบทบาทในการก่อให้เกิดโรคมะเร็งทั้งชนิด Melanoma และ non-melanoma โรคติดเชื้อ autoimmunity และภูมิแพ้ 3. มะเร็งผิวหนัง รังสีอัลตราไวโอเลต จะทำลาย DNA (genotoxic) เป็นสาเหตุให้เกิดมะเร็งผิวหนัง ซึ่งมี 2 ประเภทคือ - มะเร็งผิวหนังชนิด Non-melanoma (NMSC) - มะเร็งผิวหนังชนิด Melanoma หรือ cutaneous malignant melanoma (CMM) 4. การติดเชื้อ รังสีอัลตราไวโอเลต มีผลกระทบต่อเชื้อโรคที่เข้าสู่ร่างกาย โดยการเปลี่ยนแปลงกลไกการป้องกันการติดเชื้อหรือโดยการกระตุ้นการติดเชื้อโดยตรง เช่น การติดเชื้อจากปรสิต เนื่องจาก UV-B อันเนื่องมาจาก การถูกยับยั้งภูมิคุ้มกันร่างกาย

2. ผลกระทบต่อพืช รังสีอัลตราไวโอเลตที่เพิ่มขึ้นมีผลกระทบทั้งทางตรงและทางอ้อมต่อพืช เช่น ยับยั้งกระบวนการสังเคราะห์แสง ทำลาย DNA และเปลี่ยนแปลงองค์ประกอบในพืช ทำให้ลักษณะทางกายภาพ และขบวนการเจริญเติบโตของพืช เปลี่ยนแปลงไป นำไปสู่การเปลี่ยนแปลงมวลชีวภาพและผลิตผลลดลง ถึงแม้ว่าจะมีกลไกที่ลดหรือซ่อมแซมและความสามารถในการปรับตัวต่อการเพิ่มระดับของ UV ที่จำกัด ทำให้การเจริญเติบโตของพืชได้รับผลกระทบโดยตรงจากรังสี UV-B การเปลี่ยนแปลงทางอ้อมที่เกิดจาก UVB (เช่น การเปลี่ยนรูปร่างของพืช) อาจสำคัญเท่าๆกันหรือบางครั้งก็มากกว่าผลกระทบในการทำลายของ UVB การเปลี่ยนแปลงนี้มีความสำคัญต่อพืชที่มีการแข่งขันกันอย่างสมดุล สัตว์ที่กินพืช โรคพืช และวัฏจักร biogeochemical

3. ผลกระทบต่อวัสดุสิ่งก่อสร้าง Polymer สังเคราะห์, biopolymer และวัตถุบางอย่างที่มีประโยชน์ทางพาณิชย์ถูกกระทบโดยรังสีอัลตราไวโอเลตที่มาจากแสงอาทิตย์ รังสีอัลตราไวโอเลตทำให้วัสดุต่างๆมีสีซีดลง เนื่องจากปฏิกิริยาแสงทำให้วัสดุเปลี่ยนโครงสร้างทางเคมีไป ไม้ และกระดาษจะเปลี่ยนเป็นสีเหลืองซีดเมื่อได้รับรังสีอัลตราไวโอเลต ปัจจุบันนี้ วัสดุค่อนข้างจะถูกออกแบบให้ป้องกันรังสี UV ได้โดยการเพิ่มคุณสมบัติพิเศษ ดังนั้นการเพิ่มขึ้นของระดับ UV จะทำให้เกิดการเปราะพังของวัสดุเร็วขึ้น

ข้อกำหนดของการรับรังสีและมาตรการการป้องกัน มีข้อกำหนดไว้สำหรับผู้ที่มีโอกาสได้รับรังสี UV เป็นประจำได้ปฏิบัติ เพื่อหลีกเลี่ยงจากผลกระทบของรังสีนี้และข้อกำหนดนี้ยังมีจุดประสงค์สำหรับใช้ในการหาค่าความเป็นไปได้ของอันตรายที่จะ เกิดขึ้นจากการได้รับรังสีจากแสงแดด ประกายไฟ ก๊าซ และไอเสีย หลอดพลูโอเรสเซ็นต์ และแหล่ง กำเนิดไฟที่ลุกไหม้ ซึ่งไม่รวมถึงในคนที่มีปฏิกิริยาไวต่อแสง หรือเด็กทารก มาตรการการป้องกันได้เสนอแนะดังนี้ - ควรใช้ฉากกั้นแสง ซึ่งมีประสิทธิภาพในการป้องกันรังสีทั้ง UVA และ UVB เพื่อลดการถูกแสงแดด มิใช่เพื่อให้สามารถรับแสงแดดได้นานขึ้น - ประชาชนควรรู้จักระวังตนเองต่อการรับรังสี UV มากขึ้น และการใช้วิธีป้องกันที่เหมาะสม รวมทั้งการหลบแดดในเวลาเที่ยงวัน เนื่องจากเวลาดังกล่าวแสงแดดจะมี ระดับของรังสี UV สูงสุด ฉะนั้นจึงควรสวมหมวกปีกกว้าง ใส่เสื้อผ้าให้มิดชิด และ แว่นตากันแดดที่ดูดซับรังสี UV ได้ - การป้องกันในเด็กเล็กที่สำคัญอย่างยิ่ง คือ การป้องกันผลระยะยาวที่จะเกิดตามมา - ต้องเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม เพื่อป้องกันการได้รับรังสี UV จากแสงแดดที่เพิ่มขึ้น

ขอบคุณที่มา //ozone.tmd.go.th/uvaffect.htm //sites.google.com/site/fisiksthudey/-rangsi-xaltrawixolet //www.bloggang.com/viewdiary.php?id=anak-nnn&month=03-2007&date=13&group=3&gblog=1

รังสีUV ชนิดใด ที่มีความอันตรายมากที่สุด

1. รังสียูวี ซี (UV C rays,100-280 nm) เป็นรังสียูวีที่มีพลังงานสูงที่สุดและสามารถก่อให้เกิดอันตรายกับผิวหนังและดวงตาได้มากที่สุด โอโซนในชั้นบรรยากาศสามารถกรองไว้ได้หมด แต่ปัจจุบันชั้นโอโซนในบรรยากาศกำลังถูกทำลายมากขึ้น จึงทำให้รังสีชนิดนี้อาจทะลุผ่านลงมาสู่พื้นผิวโลกมากขึ้น และอาจก่อให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพได้

แสงอัลตราไวโอเลท (UV : Ultraviolet) คือแสงที่มีคุณสมบัติอย่างไร

รังสีอัลตราไวโอเลต (UV) คือ รังสีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ที่มีความยาวคลื่นในช่วง 100 - 400 นาโนเมตร ไม่สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า เนื่องจากช่วงความยาวคลื่นไม่ถึงช่วง Visible Light ที่มนุษย์สามารถมองเห็นได้ จึงทำให้รังสีอัลตราไวโอเลต มีอีกชื่อเรียกหนึ่งว่า รังสีเหนือม่วง นั่นเอง

รังสี UV มีผลต่อ DNA อย่างไร

รังสี UV-C สามารถทำลาย DNA ของสิ่งมีชีวิต ด้วยคุณสมบัตินี้จึงมีการนำรังสี UV-C มาใช้ โดยรัง สีจะทำลายเชื้อโรคโดยจะเข้าไปทำลาย DNA โดยการทำงานต้องอาศัยความเข้มของรังสี UV-C ในระดับ ที่เพียงพอและระยะเวลาที่เหมาะสม (มากน้อยขึ้นอยู่กับเชื้อโรคแต่ละชนิด)

UVA และ UVB ต่างกันยังไง

สรุปก็คือว่า ทั้งสองรังสีนี้มีความต่างที่ช่วงคลื่นความยาว รังสี UVA จะยาวกว่า อีกทั้ง UVA จะพบเจอได้มากกว่า และยังทะลุเข้าผิวได้ลึกกว่า เป็นสาเหตุทั้งผิวคล้ำเสีย ริ้วรอยได้ด้วย ส่วน UVB แม้ช่วงคลื่นจะสั้นกว่า แต่ก็มีพลังมาก สามารถทำให้ผิวไหม้แดด เกิดรอยคล้ำได้ อีกทั้งไม่ว่าจะเป็นรังสีไหน ต่างก็ทำให้เสี่ยงเป็นมะเร็ง ...

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

แปลภาษาไทย ไทยแปลอังกฤษ โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน lmyour แปลภาษา ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv แปลภาษาอาหรับ-ไทย แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip แอพแปลภาษาอาหรับเป็นไทย ค้นหา ประวัติ นามสกุล ห่อหมกฮวกไปฝากป้า หนังเต็มเรื่อง ไทยแปลอังกฤษ ประโยค Terjemahan เมอร์ซี่ อาร์สยาม ล่าสุด แปลภาษาจีน กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น ่้แปลภาษา Google Translate ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย พร บ ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 วิธีใช้มิเตอร์วัดไฟดิจิตอล สหกรณ์ออมทรัพย์กรมส่งเสริมการปกครอง ส่วนท้องถิ่น ห่อหมกฮวก แปลว่า Bahasa Thailand Thailand translate mu-x มือสอง รถบ้าน การวัดกระแสไฟฟ้า ด้วย แอมมิเตอร์ การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 4 ก่อนจะนิ่งก็ต้องกลิ้งมาก่อน เนื้อเพลง ก่อนจะนิ่งก็ต้องกลิ้งมาก่อน แคปชั่น พจนานุกรมศัพท์ทหาร ภูมิอากาศ มีอะไรบ้าง สถาบันพัฒนาบุคลากรท้องถิ่น อาจารย์ ตจต อเวนเจอร์ส ทั้งหมด เขียน อาหรับ แปลไทย ใบรับรอง กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน Google map Spirited Away 2 spirited away ดูได้ที่ไหน tor คือ จัดซื้อจัดจ้าง กินยาคุมกี่วัน ถึง ปล่อยในได้ ธาตุทองซาวด์เนื้อเพลง บช.สอท.ตำรวจไซเบอร์ ล่าสุด บบบย มิติวิญญาณมหัศจรรย์ ตอนจบ รหัสจังหวัด อําเภอ ตําบล ศัพท์ทางทหาร military words สอบ O หยน