คำ ขึ้นต้น ในการเขียนจดหมาย กิจ ธุระ ถึง ผู้จัดการ สำนัก พิมพ์ ข้อ ใด ถูก ต้อง


�Ԫ� ������ (���� � ����) �дѺ �Ѹ���֡�һշ�� �
����ͧ �����¹�����¡Ԩ���� �ӹǹ � ���
�� �. ����� ���ҵ�� �ç���¹�ѹ�������
����� ���͡ ���� ����ӵͺ���١��ͧ����ش
 1. �. ��ͤ�������¶֧�����¡Ԩ����
   �. �����·��ؤ�ŵԴ��ͤ�������͡�ä�Ң��
   �. �����·��ؤ�ŵԴ��ͤ�������ͧҹ�Ҫ���
   �. �����·��ؤ�ŵԴ��ͤ�������Ͷ�����Ǥ��Ǥ�ͺ����
   �. �����·��ؤ�ŵԴ��ͤ�������͸��з��������ä�Ң��
 2. �. ������Ӣ�鹵鹶֧�ؤ�ŷ������١��ͧ�����ѡ�����¹������
   �. ���¹ �س����� ���ʺ⪤
   �. ���¹ ��иҹ��Ůա� �����þ
   �. ���¹ ���Ѵ�����ҹ�����Է�� ���Ѻ���
   �. ���¹ Ͼ�� ��¡�Ѱ����� �����þ���ҧ���
 3. �. �������ŧ���¶֧�ؤ�ŷ������١��ͧ�����ѡ�����¹������
   �. ���ʴ������Ѻ������ҧ�٧
   �. ���ʴ������Ѻ������ҧ���
   �. ���ʴ�������þ�Ѻ���
   �. ���ʴ������Ѻ���
 4. �. ������¹ �ѹ ��͹ �� ��١��ͧ�����ѡ�����¹������
   �. �� �.�. ��
   �. �� ���Ҥ� ��
   �. �� ���Ҥ� ����
   �. �� ���Ҥ� �.�. ����
 5. �. ��ͤ���㴷��������������Ҿ㹡����¹�����¡Ԩ����
   �. �ԩѹ�آ�Ҿ���ç��о��㹧ҹ���
   �. ��м����ز��дѺ��ԭ�ҵ����§ҹ俿��
   �. �ԩѹ�ջ��ʺ��ó�㹡�÷ӧҹ������ � ��
   �. ������ö������餹���������������ѹ���

  ส่วนประกอบของจดหมายกิจธุระ และ จดหมายราชการ

จดหมายกิจธุระ / จดหมายราชการ แบ่งส่วนประกอบได้ ๑๒ ส่วน ดังนี้

๑.” หัวจดหมายเป็นส่วนของชื่อองค์กรหรือหน่วยงานที่เป็นต้นสังกัดของผู้ออกจดหมาย จะบอกรายละเอียดถึงหน่วยงานที่รับผิดชอบและที่อยู่หน่วยงาน ซึ่งจะมีตราองค์กรหรือตราหน่วยงานอยู่กลางหน้ากระดาษ ที่อยู่จะอยู่ทางขวามือของกระดาษ

๒.“ ลำดับที่ของจดหมายจะใช้คำว่า “ ที่ ” ตามด้วย “ เลขบอก ลำดับที่ ของจดหมายตามด้วย ปี พ.ศ. โดยจะมีเครื่องหมาย “/” ทับคั่น เช่น ที่ ๕ / ๒๕๕๖ ลำดับอยู่ทางด้านซ้ายของจดหมาย ซึ่งตรงกับที่อยู่ของผู้ออกจดหมาย ในส่วนลำดับที่ของจดหมายอาจมีตัวย่อของชื่อองค์กรได้ แต่คำย่อของชื่อองค์กรต้องเป็นที่รู้จักและยอมรับกันโดยทั่วไป เช่น ที่ ศธ ๕๖๗๕ / ๒๓๗ “ ศธ ” เป็นอักษรย่อของ “ กระทรวงศึกษาธิการ ”

๓.“ วัน เดือน ปีจะเขียนอยู่กลางหน้ากระดาษต่อจากที่อยู่ของผู้ออกจดหมาย การเขียนวัน เดือน ปี ไม่ต้องเขียนคำว่า “ วันที่ และ “ ปี ” ให้ระบุ วัน เดือน ปี เท่านั้น เช่น “ ๑๐ ตุลาคม ๒๕๕๖ ”

๔.“ เรื่องเป็นการสรุปสาระสำคัญของจดหมาย ควรเป็นประโยคสั้น กะทัดรัด และบอกวัตถุประสงค์ที่ออกจดหมาย เช่น “ ขอความอนุเคราะห์……” “ ขอเชิญเป็นวิทยากร ”

๕.“ คำขึ้นต้นใช้คำว่า “ เรียน ” ขึ้นต้นจดหมายทุกครั้ง จากนั้นตามด้วยชื่อ และนามสกุล หรืออาจตามด้วยตำแหน่งของผู้รับจดหมาย เช่น “ เรียน นายวรพพล คงเดช ” “ เรียน ผู้อำนวยการโรงเรียนมัธยมวัดนายโรง ”

๖.“ สิ่งที่ส่งมาด้วยเป็นสิ่งที่ผู้ส่งจดหมายส่งให้ผู้รับพร้อมจดหมาย เช่นรายละเอียดโครงการ เอกสารประกอบการประชุม หนังสือ (อาจจะมีหรือไม่มีก็ได้)

๗.“ ข้อความหรือเนื้อหาของจดหมาย เป็น เนื้อหาสาระหลักของจดหมาย มักมี ๒ ย่อหน้า หากเนื้อหาจดหมายมีความยาวอาจ มี ๓ ย่อหน้า ก็ได้

หากมี ๒ ย่อหน้า

 • ย่อหน้าแรก บอกถึงสาเหตุที่ต้องเขียนจดหมาย หากเป็นจดหมายฉบับแรกต้องขึ้นต้นคำว่า “ ด้วย ” “ เนื่องด้วย ” “ เนื่องจาก ” เช่น • ด้วยกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย โรงเรียนมัธยม วัดนายโรง จะจัดการแสดงผลงาน โครงงานของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒…….” • “ เนื่องด้วยห้องน้ำของโรงเรียนมัธยมวัด นายโรงมีสภาพชำรุดมาก ทำให้เกิดกลิ่นรบกวนและ นักเรียนไม่ได้รับความสะดวกในการใช้……” • “ เนื่องจากชมรมจิตอาสา โรงเรียนมัธยม วัดนายโรง จัดโครงการหนังสือเพื่อน้อง ประจำปี ๒๕๕๓…….” แล้วตามด้วยรายละเอียด จุดประสงค์ ความต้องการ

• หากเป็นกรณีการตอบจดหมาย หรือส่งจดหมายเพื่อติดตามเรื่อง จำต้อง เท้าความเรื่องที่เคยติดต่อไว้ โดยใช้คำว่า “ ตามที่ ” ขึ้นต้นเรื่องที่เท้าความ และใช้คำว่า “ นั้น ” ลงท้าย เช่น………….. • “ ตามที่ท่านได้สั่งซื้อวารสารเมืองโบราณฉบับย้อนหลัง ฉบับที่ ๓๑ และฉบับที่ ๓๒ จำนวนฉบับละ ๑เล่ม ในราคาเล่มละ ๑๒๐ บาทนั้น…….” • “ ตามที่ท่านได้ขอความอนุเคราะห์ให้ทางชมรมพระพุทธศาสนา โรงเรียนมัธยมวัดนายโรง ส่งนักเรียนไปเข้าร่วมกิจกรรมวันวิสาขบูชา ณ มณฑลพิธีท้องสนามหลวง ในวันที่ ๑๙ พฤษภาคม ๒๕๕๖ นั้น……”

• ย่อหน้าที่สอง บอกหรือย้ำวัตถุประสงค์ของจดหมายอย่างชัดเจน โดยใช้คำขึ้นต้นว่า “ จึงเรียนมาเพื่อ……( บอกจุดประสงค์ )……. เช่น จึงเรียนมาเพื่อทราบ, จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณา, จึงเรียนมาเพื่อขอความอนุเคราะห์…….. •    “ จึงเรียนมาเพื่อขอความอนุเคราะห์ บริจาคหนังสือเพื่อเข้าร่วมโครงการ ดังกล่าว และขอขอบคุณมา ณ โอกาสนี้ ”

หากมี ๓ ย่อหน้า

– ย่อหน้าแรก บอกถึงสาเหตุที่ต้องเขียนจดหมาย หากเป็นจดหมายฉบับแรกต้องขึ้นต้นคำว่า “ ด้วย ” “ เนื่องด้วย ” “ เนื่องจาก”

– ย่อหน้าที่สอง บอกจุดประสงค์ในการเขียนอย่างชัดเจนว่าต้องการจะให้ทำอะไร มักขึ้นต้นด้วยชื่อของหน่วยงานที่ออกจดหมาย

– ย่อหน้าที่สาม ขึ้นต้นด้วยคำว่า  “จึงเรียนมาเพื่อ….”

๘.“ คำลงท้ายใช้คำว่า “ ขอแสดงความนับถือ ” โดยให้เขียนตรงกับวันที่

๙.“ ลายมือชื่อ เป็นลายมือชื่อจริงของผู้ลงชื่อ ห้ามใช้ตรายาง

๑๐.“ ชื่อเต็มของผู้เขียนจดหมายชื่อเต็มและนามสกุลจะเขียนใส่ไว้ในวงเล็บ หรืออาจจะพิมพ์ก็ได้และจะต้องมีคำนำหน้าชื่อเสมอ เช่น “ นายณเดช คูกิมิยะ ” “ นางสาวอุรัสยา สเปอร์บันด์ ”

๑๑.“ ตำแหน่งของผู้เขียนจดหมาย หากผู้เขียนจดหมายเป็นผู้มีตำแหน่ง รับผิดชอบ งานของหน่วยงานที่ออกจดหมายจะต้องพิมพ์ กำกับต่อท้ายเสมอ แต่หากออกจดหมายในนาม ชมรมในสถานศึกษา ต้องมีลายมือชื่ออาจารย์ที่ ปรึกษาชมรมกำกับท้ายจดหมายด้วย

๑๒. “ หมายเลขโทรศัพท์ของผู้เขียนจดหมายหรือหน่วยงานที่ออกในส่วนนี้จะอยู่ลำดับสุดท้ายของจดหมาย และพิมพ์ชิดขอบจดหมายด้านซ้าย ควรระบุหมายเลขโทรศัพท์ โทรสาร และที่อยู่ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ด้วย

แหล่งข้อมูล : //slideplayer.in.th/slide/1898050/

 ตัวอย่างแบบฟอร์มจดหมายกิจธุระ   

    การเขียนเลขที่หนังสือออก  

ตัวอย่างจดหมายราชการ  จดหมายกิจธุระ

การพับจดหมายใส่ซอง กรณีที่กระดาษจดหมาย ขนาด A4 มีวิธีการพับดังนี้

     1. แบ่งกระดาษจดหมายออกเป็น 3 ส่วน โดยเหลือขอบบนกระดาษไว้ประมาณ 1/2 นิ้ว

     2. พับจดหมายจากล่างขึ้นบนทีละส่วนตามรอยประ

     3. ขอบจดหมายที่พับแล้วต้องพอดีกับรอยประของขอบบนที่ว่างไว้ 1/2 นิ้ว

     4. นำจดหมายที่พับแล้วใส่ซองโดยให้ขอบบนของกระดาษที่ว่างไว้ 1/2 นิ้ว อยู่ด้านบน

….. อ่านต่อได้ที่: //www.gotoknow.org/posts/258675

การเขียนจดหมายกิจธุระควรใช้คำขึ้นต้นอย่างไร

คำขึ้นต้น ใช้คำว่า เรียน ขึ้นต้นจดหมายเสมอ ตามด้วยชื่อและนามสกุล หรือตามด้วยตำแหน่งของผู้รับจดหมายก็ได้ เช่น เรียน ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สมบัติ รักการเรียน, เรียน ผู้อำนวยการโรงเรียนสตรีศึกษา เป็นต้น

จดหมายกิจธุระใช้คำขึ้นต้นและลงท้ายอย่างไร

- ย่อหน้าที่ ๑ บอกสาเหตุขอการเขียนจดหมาย กรณีเป็นจดหมายติดต่อฉบับแรกให้ขึ้นต้นด้วยคำว่า “ด้วย เนื่องด้วย เนื่องจาก” กรณีเป็นจดหมายที่มีมาถึง หรือจดหมายติดตามเรื่อง ต้องเท้าความที่เคยติดต่อกันไว้ โดยใช้คำว่า “ตามที่” ขึ้นต้นเรื่อง และใช้คำว่า “นั้น” ลงท้าย

คำลงท้ายจดหมายกิจธุระข้อใดเหมาะสมที่สุด *

คำลงท้ายจดหมายกิจธุระข้อใดเหมาะสมที่สุด ขอแสดงความนับถือ ขอแสดงความเคารพ ด้วยความเคารพอย่างสูง

รูปแบบของจดหมายกิจธุระเป็นอย่างไร

1. จดหมายกิจธุระเต็มรูปแบบ ใช้ในการเขียนที่เป็นทางการ เหมือนหนังสือราชการภายนอก แต่มีการดัดแปลงให้เหมาะสมกับหน่วยงานของตน และใช้ภาษาที่เป็นทางการ 2. จดหมายกิจธุระไม่เต็มรูปแบบ ใช้ในการเขียนจดหมายกิจธุระส่วนตัว ใช้รูปแบบเหมือนจดหมายส่วนตัว สิ่งที่ต่างจากจดหมายส่วนตัว คือ วัตถุประสงค์และใช้ภาษากึ่งทางการหรือทางการ

กระทู้ที่เกี่ยวข้อง

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

แปลภาษาไทย ไทยแปลอังกฤษ โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน lmyour แปลภาษา ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv แปลภาษาอาหรับ-ไทย แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip แอพแปลภาษาอาหรับเป็นไทย ค้นหา ประวัติ นามสกุล ห่อหมกฮวกไปฝากป้า หนังเต็มเรื่อง ไทยแปลอังกฤษ ประโยค Terjemahan เมอร์ซี่ อาร์สยาม ล่าสุด แปลภาษาจีน กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น ่้แปลภาษา Google Translate ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย พร บ ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 วิธีใช้มิเตอร์วัดไฟดิจิตอล สหกรณ์ออมทรัพย์กรมส่งเสริมการปกครอง ส่วนท้องถิ่น ห่อหมกฮวก แปลว่า Bahasa Thailand Thailand translate mu-x มือสอง รถบ้าน การวัดกระแสไฟฟ้า ด้วย แอมมิเตอร์ การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 4 ก่อนจะนิ่งก็ต้องกลิ้งมาก่อน เนื้อเพลง ก่อนจะนิ่งก็ต้องกลิ้งมาก่อน แคปชั่น พจนานุกรมศัพท์ทหาร ภูมิอากาศ มีอะไรบ้าง สถาบันพัฒนาบุคลากรท้องถิ่น อาจารย์ ตจต อเวนเจอร์ส ทั้งหมด เขียน อาหรับ แปลไทย ใบรับรอง กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน Google map Spirited Away 2 spirited away ดูได้ที่ไหน tor คือ จัดซื้อจัดจ้าง กินยาคุมกี่วัน ถึง ปล่อยในได้ ธาตุทองซาวด์เนื้อเพลง บช.สอท.ตำรวจไซเบอร์ ล่าสุด บบบย มิติวิญญาณมหัศจรรย์ ตอนจบ รหัสจังหวัด อําเภอ ตําบล ศัพท์ทางทหาร military words สอบ O หยน