หน่วยงานใดที่ดูแลเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชน

องค์กรระหว่างประเทศเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนที่มีต่อประเทศไทย
     1.  คณะมนตรีสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ(The United Nations Human Rights Council)
ได้ก่อตั้งขึ้นแทนที่คณะกรรมาธิการการสิทธิมนุษย์ชนแห่งสหประชาชาติ(Un  commission  for human  rights) คณะมนตรีสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ ประกอบด้วยสมาชิกทั้งหมด  47  ประเทศ  วัตถุประสงค์ขององค์กรคือ การพัฒนากลไกสิทธิมนุษยชนเป็นเอกภาพมากขึ้น  สำหรับประเทศไทยคณะมนตรีสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติได้เข้ามามีบทบาทในหการเผยแพร่ความรู้ในเรื่องสิทธิมุนษยชนให้แพร่หลายมากขึ้น เพื่อตรวจสอบ  ติดตาม ให้ข้อแนะนำและเผยแพร่รายงานกรณีสิทธิมนุษยชน  สำนักงานตั้งอยู่ที่กรุงเฮก  ประเทศเนเธอร์แลนด์
      2.  องค์กรนิรโทษกรรมสากล  (AI: Amnesty  Internationnal)
เป็นองค์กรอาสาสมัครระหว่างประเทศที่ทำงานด้านมนุษยชน  โดยมีวัตถุประสงค์หลัก  คือ ยุติการละเมิดมนุษยชนและพยายามที่จะหาวิธีที่เหมาะสมในการช่วยเหลือผู้ที่ตกเป็นเหยื่อของการละเมิดสิทธิมนษยชน  เช่น ปลดปล่อยนักโทษทางความคิดอย่างไม่มีเงื่อนไข ซึ่งได้แก่บุคคลที่ถูกกักขังเรื่องสีผิว  เชื้อชาติ ภาษาหรือศาสนา โดยที่นักโทษไม่เคยใชช้หรือสนับสนุนที่จะใช้ความรุนแรง เป็นต้น ปัจุบัจมีสมาชิกทั้งหมดประมาณ ๑๐๐ ประเทศทั่วโล และมีสำนักงานในประเทศไทยตั้งอยู่ที่เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร
     3.  องค์กรแรงงานระหว่างประเทศ  (ILO:Internatonal Labour Orgenization)
องค์กรแรงงานระหว่างประเทศเป็นองค์กรที่ส่งเสริมการเคารพสิทธิมนุษยชน  ความยุติธรรมในสังคมและสนับสนุนให้เกิดความเป็นธรรมในการใช้แรงงาน รวมทั้งช่วยเหลือประเทศสมาชิกในการพัฒนาเศษฐกิจแลtสังคม  องค์กรแรงงานระหว่างประเทศเป็นองค์กรแรกขององค์การชำนัญพิเศษองค์การแรกของสหประชาชาติ  โดยประเทศไทยก็เป็นหนึ่งที่รวมก่อตั้ง    ปัจจุบันมีสมาชิกทั้งหมดจำนวน 178  ประเทศจากทั่วโลก
    4.  มูลนิธิความร่วมมือเพื่อต้านการค้าหญิง (GAATW:Global Alliance  Against Traffic in woman)
มูลนิธิความร่วมมือเพื่อต่อต้านการค้าหญิง  เป็นเครือข่ายขององค์กพัฒนาเอกชนจากทั่วทุกภูมิภาคของโลก  ที่ทำงานในประเด็นปัญหาผู้หญิง เด็กและผู้ชายที่ถูกละเมิดสิทธิมนุษยชนจากการค้ามนุษย์  โดยมีเป้าหมายหลัก คือ เพื่อต่อต้านการคุกคามแรงงานหญิงที่ย้ายถิ่นจากระบบตลาดแรงงานไม่เป็นทางการในปัจจุบัน  รวมทั้งความปลอดภัยจากหารย้ายถิ่น ปกป้องสิทธิของแรงงานข้ามพรมแดน ปัจุบันมีองค์กรที่เป็นสมาชิกประมาณ  80  ประเทศทั่วโลก
    5.  มูลนิธิเพื่อยุติการแสวงหาประโยชน์ทางเพศจากเด็ก (ECPAT:End child Prostitution In Asia Tourism)
มูลนิธิเพื่อการยุติการแสวงหาประโยชน์ทางเพศจากเด็ก เป็นองค์กรระหว่างประเทศที่มีหน้าที่ในการต่อต้านการล่วงระเมิดทางเพศกับเด็กทุกรูปแบบ  พร้อมทั้งกระตุ้นในสาธารณชนได้ตระหนักถึงสถานการณ์ความรุนแรง  ของธุรกิจการค้าประเวณีและการท่องเที่ยว  อันเป็นสาเหตุสำคัญที่ทำให้เด็กถูกเอาเปรียบทางเพศ  เช่น เพื่อเสนอทางเลือกอื่นให้ครอบครัวที่มีความเสี่ยงในการเข้าสู่กระบวนการค้าประเวณี  
เป็นต้น  ประเทศไทยได้มีบทบาทดำเนินงานเกี่ยวกับเรื่องเพศและการค้าประเวณี ในพื้นที่ภาคเหนือ ของประเทศไทยและได้สนับสนุนงบประมาณในการดำเนินงานโครงการรณรงค์ป้องกันเด็กเข้าสู่กระบวนการการค้าประเวณีในภาคเหนือของไทย  อันประกอบด้วยจังหวัดเชียงราย  เชียงใหม่  ลำพูน  และพะเยา  สำนักงานในไทยตั้งอยู่ที่จังหวัดเชียงราย

สำนักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ

โทรศัพท์ : 0-2141-3800, 0-2141-3900

สายด่วนร้องเรียน 1377 (ในเวลาราชการ)
อีเมลติดต่อ : [email protected]

สำนักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติพื้นที่ภาคใต้

การเดินทางมาศูนย์ราชการฯ
1.    รถเมล์ ขสมก. ได้แก่
     สาย 26 มีนบุรี-ศูนย์ราชการ สาย 59 รังสิต-ศูนย์ราชการ วิ่งให้บริการ 2 ช่วงเวลา ช่วงเช้าตั้งแต่เวลา 06.00-09.00 น. บ่ายตั้งแต่เวลา 15.00-19.00 น.
     สาย 66 สถานีขนส่งสายใต้-ศูนย์ราชการ สาย 166 อนุสาวรีย์-ศูนย์ราชการ สาย 505 ลุมพินี-ศูนย์ราชการโดยวิ่งให้บริการตลอดวัน ตั้งแต่เวลา 06.00-22.00 น.
     สาย 356 สายแรก วิ่งจาก ท่าน้ำนนท์ แจ้งวัฒนะ สายที่สอง วิ่งจาก สะพานใหม่ - แจ้งวัฒนะ
     สาย 52 ปากเกร็ด-บางซื่อ, ปากเกร็ด-จตุจักร
     สาย 150 ปากเกร็ด-รามคำแหง

     ท่านสามารถสอบถามข้อมูลเพิ่มเติมที่ www.bmta.co.th หรือ ศูนย์ Call Center 1348 ทุกวัน ตั้งแต่เวลา 05.00-22.00 น.
2.   ทางรถไฟ
​     เดินทางมาลงสถานีรถไฟหลักสี่ โดยสามารถเช็คตารางเวลา ได้ที่ http://www.railway.co.th/checktime/checktime.asp
3.   รถตู้โดยสารสาธารณะ
     สาย ปากเกร็ด-จตุจักร
     สาย จตุจักร-เมืองทองธานี
     สาย ฟิวเจอร์รังสิต-ปากเกร็ด
     สาย ปากเกร็ด-มีนบุรี
4.   รถไฟฟ้า
     สถานี ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติ (อยู่ระหว่างการก่อสร้าง)

ศูนย์ศึกษาและประสานงานด้านสิทธิมนุษยชนภูมิภาค

หน่วยงานใดที่ดูแลเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชน

1. ศูนย์ศึกษาและประสานงานด้านสิทธิมนุษยชนในภูมิภาค ณ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
ที่อยู่ : คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
เลขที่ 181 หมู่ที่ 6 ถนนเจริญประดิษฐ์ ตำบลรูสะมิแล อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี 94000
โทรศัพท์ : 08 1841 - 1660
อีเมลติดต่อ : [email protected]
ประวัติการจัดตั้ง : พิธีเปิดศูนย์ฯ เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน 2557

2. ศูนย์ศึกษาและประสานงานด้านสิทธิมนุษยชนในภูมิภาค ณ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ที่อยู่ : คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
เลขที่ 123 หมู่ 16 ถนนมิตรภาพ ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น 40002
โทรศัพท์ : 043 009 700 ต่อ 42496 และ 06 1415 – 8143
อีเมลติดต่อ : [email protected]
ประวัติการจัดตั้ง : พิธีเปิดศูนย์ฯ เมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2560

3. ศูนย์ศึกษาและประสานงานด้านสิทธิมนุษยชนในภูมิภาค ณ มหาวิทยาลัยบูรพา
ที่อยู่ : คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
เลขที่ 169 อาคารสหศึกษา ถนนลงหาดบางแสน ตำบลแสนสุข อำเภอเมือง จังหวัดชลบุรี 20131
โทรศัพท์ : 038 102 369 ต่อ 106
อีเมลติดต่อ : [email protected]
ประวัติการจัดตั้ง : พิธีเปิดศูนย์ฯ เมื่อวันที่ 19 พฤษภาคม 2560

4. ศูนย์ศึกษาและประสานงานด้านสิทธิมนุษยชนในภูมิภาค ณ มหาวิทยาลัยราชภัฎสุราษฎร์ธานี
ที่อยู่ : คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎสุราษฎร์ธานี
เลขที่ 272 หมู่ 9 ถนนสุราษฎร์-นาสาร ตำบลขุนทะเล อำเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี 84100
โทรศัพท์ : 06 5504 1702
อีเมลติดต่อ : [email protected]
ประวัติการจัดตั้ง : พิธีเปิดศูนย์ฯ เมื่อวันที่ 7 สิงหาคม 2560

5. ศูนย์ศึกษาและประสานงานด้านสิทธิมนุษยชนในภูมิภาค ณ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ที่อยู่ : คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
เลขที่ 239 ถนนห้วยแก้ว ตำบลสุเทพ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ 50200
โทรศัพท์ : 06 1385 0771
อีเมลติดต่อ : [email protected]
ประวัติการจัดตั้ง : พิธีเปิดศูนย์ฯ เมื่อวันที่ 9 สิงหาคม 2560

6. ศูนย์ศึกษาและประสานงานด้านสิทธิมนุษยชนในภูมิภาค ณ มหาวิทยาลัยราชภัฎเพชรบุรี
ที่อยู่ : คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎเพชรบุรี
เลขที่ 38 หมู่ 8 ถนนเจ้าสำราญ ตำบลนาวุ้ง อำเภอเมือง จังหวัดเพชรบุรี 76000
โทรศัพท์ : 08 3987 3725
อีเมลติดต่อ : [email protected]
ประวัติการจัดตั้ง : พิธีเปิดศูนย์ฯ เมื่อวันที่ 9 สิงหาคม 2561

7. ศูนย์ศึกษาและประสานงานด้านสิทธิมนุษยชนในภูมิภาค ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี
ที่อยู่ : สำนักงานอธิการบดี  มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี
เลขที่ 41 หมู่ 5 ถนนสุขุมวิท อำเภอเมืองจันทบุรี จังหวัดจันทบุรี 22000
โทรศัพท์ : 08 0131 5759
อีเมลติดต่อ : [email protected]
ประวัติการจัดตั้ง : พิธีเปิดศูนย์ฯ เมื่อวันที่ 20 ธันวาคม 2564

8. ศูนย์ศึกษาและประสานงานด้านสิทธิมนุษยชนในภูมิภาค ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี
ที่อยู่ : คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์  มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี
เลขที่ 70 หมู่ 4 ตำบลหนองบัว อำเภอเมืองกาญจนบุรี จังหวัดกาญจนบุรี 71190
โทรศัพท์ : 09 8907 4293.
อีเมลติดต่อ : [email protected]
ประวัติการจัดตั้ง : พิธีเปิดศูนย์ฯ เมื่อวันที่ 21 ธันวาคม 2564

9. ศูนย์ศึกษาและประสานงานด้านสิทธิมนุษยชนในภูมิภาค ณ มหาวิทยาลัยพะเยา
ที่อยู่ : คณะนิติศาสตร์  มหาวิทยาลัยพะเยา
เลขที่ 19/2 หมู่ 2 ตำบลแม่กา อำเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา 56000
โทรศัพท์ : 09 3278 6870
อีเมลติดต่อ : [email protected]
ประวัติการจัดตั้ง : พิธีเปิดศูนย์ฯ เมื่อวันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2564

10. ศูนย์ศึกษาและประสานงานด้านสิทธิมนุษยชนในภูมิภาค ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต
ที่อยู่ : คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต
เลขที่ 21/32 ถนนเทพกษัตรี ตำบลรัษฎา อำเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต 83000
โทรศัพท์ : 08 4307 0989
อีเมลติดต่อ : [email protected]
ประวัติการจัดตั้ง : พิธีเปิดศูนย์ฯ เมื่อวันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2564

11. ศูนย์ศึกษาและประสานงานด้านสิทธิมนุษยชนในภูมิภาค ณ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
ที่อยู่ : คณะรัฐศาสตร์  มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
เลขที่ 85 ถนนสถลมาร์ค ตำบลเมืองศรีไค อำเภอวารินชำราบ จังหวัดอุบลราชธานี 34190
โทรศัพท์ : 045 353 949
อีเมลติดต่อ : [email protected]
ประวัติการจัดตั้ง : พิธีเปิดศูนย์ฯ เมื่อวันที่ 5 มีนาคม 2564

12. ศูนย์ศึกษาและประสานงานด้านสิทธิมนุษยชนในภูมิภาค ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา
ที่อยู่ : อาคาร 4 ชั้น 1 มหาวิทยาลัยราชภัฎยะลา
เลขที่ 133 ถนนเทศบาล 3 ตำบลสะเตง อำเภอเมือง จังหวัดยะลา 95000
โทรศัพท์ : 09 8015 0801
อีเมลติดต่อ : [email protected]
ประวัติการจัดตั้ง : พิธีเปิดศูนย์ฯ เมื่อวันที่ 10 มีนาคม 2564 

หน่วยงานใดมีบทบาทเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนมากที่สุด

1. คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ เป็นหน่วยงานที่ได้รับการยกย่องให้เป็นองค์การตาม รัฐธรรมนูญ จึงเป็นหน่วยกลางที่มีบทบาทอ านาจหน้าที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชนกว้างขวางมากที่สุด

หน่วยงานใดมีหน้าที่ดำเนินคดีกับบุคคลที่มีการละเมิดสิทธิมนุษยชน

NHRC : สำนักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ - สำนักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ

กระทรวงใดมีหน้าที่ในการดูแลเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชน

หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชนที่สำคัญมีดังนี้ 1. คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ เป็นหน่วยงานที่ได้รับการยกย่องให้เป็นองค์การตามรัฐธรรมนูญ จึงเป็นหน่วยกลางที่มีบทบาทอำนาจหน้าที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชนกว้างขวางมากที่สุด 2. กระทรวงศึกษาธิการ และกระทรวงวัฒนธรรม เป็นหน่วยงานที่จะทำหน้าที่อบรมสั่งสอน

คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนประกอบไปด้วยใครบ้าง

(๑) ประธานศาลฎีกา เป็นประธานกรรมการ (๒) ประธานสภาผู้แทนราษฎร และผู้น าฝ่ายค้านในสภา ผู้แทนราษฎร เป็นกรรมการ (๓) ประธานศาลปกครองสูงสุด เป็นกรรมการ (๔) ผู้แทนองค์กรเอกชนด้านสิทธิมนุษยชน องค์กรละ หนึ่งคน ซึ่งเลือกกันเองให้เหลือ ๓ คน เป็นกรรมการ