ฮิจเราะห์ศักราชมีที่มาอย่างไร

         มวลการสรรเสริญเป็นสิทธิของอัลลอฮ์ผู้ทรงอภิบาลแห่งสากลโลก และขอความสันติจงมีแด่ท่านนบีมูฮัมหมัด ซ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัม บรรดาเครือญาติ บรรดาซอฮาบะฮ์ และตลอดจนผู้ปฏิบัติตามแนวทางของท่าน

         คำว่า ฮิจเราะห์ นั้น คือ การอพยพของท่านศาสนทูตจากเมืองมักกะห์ไปสู่เมืองมะดีนะห์อันเนื่องจากความอธรรมของชาวกุเรซที่ป่าเถื่อนต่อหมู่ศรัทธาชนในเมืองมักกะห์ ด้วยการบัญชาของพระผู้เป็นเจ้าผู้ทรงเมตตาปราณีเสมอ 

          ที่มาและความสำคัญของศักราชอิสลาม หรือฮิจเราะฮ์ศักราชถือเอาการอพยพของท่านนะบีมุฮัมมัดและบรรดาผู้ที่เข้ารับนับถือศาสนาอิสลาม เมื่อ 1432 ปีที่ผ่านมา โดยอพยพย้ายจากการพำนักที่นครมักกะห์สู่นครมะดีนะห์ (ประเทศซะอุดีอาราเบียในปัจจุบัน) ซึ่งเป็นการย้ายถิ่นที่อยู่จากสถานที่ ที่มีบรรยากาศแห่งการต่อต้านและทำลายล้างอิสลาม โดยชาวนครมักกะห์มาสู่บรรยากาศแห่งความเอื้ออารี ความมีภารดรภาพเดียวกันระหว่างชาวเมืองมะดีนะห์ที่มีจิตใจเต็มเปี่ยมด้วยความศรัทธาที่จะรับนับถือศาสนาอิสลาม กับชาวมักกะห์ผู้อพยพ

ภาพจาก//www.indepencil.com

         ศักราชของอิสลามใช้คำว่าฮิจเราะห์ศักราช ใช้ตัวอักษรย่อว่า ฮ.ศ. คำว่า ฮิจเราะฮ์ หมายถึง การอพยพ  หลังจากที่ท่านนะบีมุฮัมมัด ได้เสียชีวิต ท่านเคาะลีฟะฮ์อุมัร อิบนุคอฎฎ็อบ  ผู้ปกครองอาณาจักรอิสลามคนที่สองต่อจากท่านอบูบักร์ ได้ปรึกษากันว่า อิสลามควรจะต้องมีการนับศักราชเพื่อใช้ในการกำหนดวัน เดือน ปี เช่นเดียวกับคริสตศักราช แต่การเริ่มศักราชของอิสลามจะเริ่มเมื่อใดนั้น ได้มีบรรดาอัครสาวกที่ใกล้ชิดของท่านนะบีมุฮัมมัด  และบรรดาผู้นับถือศาสนาอิสลามในเวลานั้นเสนอแนวทางในการกำหนดศักราชอิสลาม 4 แนวทางด้วยกัน คือ major-bidi;mso-hansi-font-family:"Angsana New";mso-hansi-theme-font:major-bidi;
mso-bidi-font-family:"Angsana New";mso-bidi-theme-font:major-bidi">

          1. เสนอให้ถือเอาปีเกิดของท่านนะบีมุฮัมมัด  เป็นปีเริ่มต้นศักราช
          2. เสนอให้ถือเอาปีที่ท่านนะบีมุฮัมมัด  เริ่มเผยแพร่ศาสนาอิสลาม เป็นปีเริ่มต้นศักราช
          3. เสนอให้ถือเอาปีที่ท่านนะบีมุฮัมมัด  อพยพจากเมืองมักกะห์สู่เมืองมะดีนะห์ เป็นปีเริ่มต้นศักราช
          4. เสนอให้ถือเอาปีที่ท่านนะบีมุฮัมมัด  เสียชีวิต เป็นปีเริ่มต้นศักราช
mso-ascii-theme-font:major-bidi;mso-hansi-font-family:"Angsana New";mso-hansi-theme-font:
major-bidi;mso-bidi-font-family:"Angsana New";mso-bidi-theme-font:major-bidi">

   ในปีนี้วันขึ้นปีใหม่อิสลาม   วันที่ 1 มุฮัรรอม  ฮ.ศ.1433 คือ วันเริ่มศักราชใหม่ของอิสลาม ตรงกับวันที่  26 พฤศจิกายน  2554 
       

เรียบเรียงโดย vjujur

mso-hansi-font-family:"Angsana New";mso-hansi-theme-font:major-bidi;mso-bidi-font-family:
"Angsana New";mso-bidi-theme-font:major-bidi">

  • อิสลาม ศาสนา สำคัญ

ศักราชอิสลาม

       ปีฮิจเราะฮ์ศักราช ตามปฏิทินอิสลามนั้นถือตามทางจันทรคติ ซึ่งจะมีจำนวนวันในแต่ละเดือนแตกต่างกับปฏิทินสากล คือ แต่ละเดือนตามปฏิทินอิสลามจะมี 29 หรือ 30 วันเท่านั้น จะไม่มีเดือนที่มี 28 วัน และ 31 วัน เหมือนปฏิทินสากล ซึ่งถือตามทางสุริยคติ เมื่อครบ 1 ปี ตามปีปฏิทินอิสลามจำนวนวันในรอบ 1 ปี จะมีจำนวนวันน้อยกว่าจำนวนวันตามปีปฏิทินสากลประมาณ 10 วัน ดังนั้นวันขึ้นศักราชใหม่ หรือวันขึ้นปีใหม่ของอิสลามก็จะร่นเร็วขึ้นประมาณปีละ 10 วัน ทุกปี

       การถือศีลอดหรือการถือบวชของพี่น้องมุสลิมซึ่งจะต้องถือบวชในเดือนรอมฎอน หรือเดือนที่ 9 ของปฏิทินอิสลามและการประกอบพิธีฮัจญ์ ซึ่งจะต้องกระทำในเดือนซุ้ลฮิจญะฮ์ หรือเดือนที่ 12 ของปฏิทินอิสลาม เดือนที่พี่น้องมุสลิมถือบวชหรือถือศีลอดและทำพิธีฮัจญ์ จึงหมุนเวียนไปเรื่อยๆ ซึ่งบางปีจะตรงกับฤดูหนาว บางปีตรงกับฤดูร้อน และบางปีก็ตรงกับฤดูฝน หมุนเวียนไปตลอดกาล ซึ่งเป็นฮิกมะฮ์จากเอกองค์อัลลอฮ์

อย่างหนึ่งที่พระองค์ทรงโปรดประทานแก่พี่น้องมุสลิม

       ที่มาและความสำคัญของศักราชอิสลาม หรือฮิจเราะฮ์ศักราชถือเอาการอพยพของท่านนะบีมุฮัมมัด

และบรรดาผู้ที่เข้ารับนับถือศาสนาอิสลาม เมื่อ 1430 ปีที่ผ่านมา โดยอพยพย้ายจากการพำนักที่นครมักกะห์สู่นครมะดีนะห์ ซึ่งเดิมเรียกว่า “ยัษริบ”ต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็นมะดีนะตุนนบี เรียกสั้นๆ ว่า “มะดีนะห์” ซึ่งเป็นการย้ายถิ่นที่อยู่จากสถานที่ที่มีบรรยากาศแห่งการต่อต้านและทำลายล้างอิสลาม โดยชาวนครมักกะห์มาสู่บรรยากาศแห่งความเอื้ออารี ความมีภารดรภาพเดียวกันระหว่างชาวเมืองมะดีนะห์ที่มีจิตใจเต็มเปี่ยมด้วยความศรัทธาที่จะรับนับถือศาสนาอิสลาม กับชาวมักกะห์ผู้อพยพ

         ทั้งนี้เนื่องจากการที่ท่านนะบีมุฮัมมัด

ใช้เวลาในการเทศนาเผยแผร่เชิญชวนชาวมักกะห์ให้ศรัทธาในคำสอนของอัลลอฮ์
ผู้เป็นพระเจ้าที่แท้จริง เพื่อให้หันกลับมายึดมั่นศรัทธาและประพฤติปฏิบัติตามแนวทางอิสลาม ละทิ้งการเคารพบูชาเจว็ด (รูปปั้น รูปเคารพ รูปสักการะ) และสิ่งงมงายต่างๆ ที่มนุษย์สร้างขึ้นมาเพื่อแสวงหาประโยชน์ให้แก่ตัวเองและพวกพ้อง ซึ่งท่านได้รับการต่อต้านจากชาวมักกะห์อย่างรุนแรงมาก ถูกข่มเหงรังแกจากชาวมักกะห์ที่เคารพบูชาเจว็ดต่างๆ จนในที่สุดมีการปองร้ายหมายเอาชีวิตของท่านนะบีมุฮัมมัด

เพราะชาวมักกะห์ที่เป็นผู้ปฏิเสธศรัทธาเห็นว่า ศาสนาอิสลามกำลังจะแผ่ขยายมากขึ้นในมักกะห์ จึงพยายามจะทำร้ายถึงขั้นเอาชีวิตของท่านนะบีมุฮัมมัด

ดังนั้นอัลลอฮ์
จึงฮิดายะห์ให้ท่านนะบีมุฮัมมัด
อพยพบรรดามุสลิมไปยังเมืองยัษริบ หรือเมื่องมะดีนะห์ ตามที่พระองค์ทรงตรัสไว้ในอัลกุรอาน ซูเราะห์อั้ลอัมฟาลอายะห์ที่ 30 มีความหมายโดยสรุป ว่า

“เมื่อบรรดาผู้ปฏิเสธศรัทธาที่เนรคุณได้ว่างแผนเพื่อกักกันเจ้าไว้ หรือฆ่าเจ้า หรือขับไล่เจ้าเพื่อไม่ให้มีโอกาสเผยแพร่ศาสนาอิสลาม

แต่อัลลอฮ์

ได้ทรงวางแผนที่ประเสริฐยิ่งกว่าแผนใดๆ ทั้งมวล”

         คือ ให้ท่านนะบีมูฮัมมัด

อพยพไปมะดีนะห์  ซึ่งในการอพยพดังกล่าวนี้ ชาวมะดีนะห์ได้มีการติดต่อท่านนะบีมูฮัมมัด
มาก่อนหน้าที่จะอพยพแล้ว และมีแนวโน้มว่าชาวเมืองมะดีนะห์จะเจ้ารับนับถือศาสนาอิสลามเป็นจำนวนมาก เมื่อมีการอพยพสู่นครมะดีนะห์ ได้มีการช่วยเหลือกันระหว่างชาวเมืองมะดีนะห์ เรียกว่า “อันศ๊อร” (ผู้ช่วยเหลือ) กับผู้อพยพที่เรียกว่า “มูฮาญิรีน” ท่านนะบีมุฮัมมัด
ได้ใช้ชีวิตในเมืองมะดีนะห์ เพื่อเผยแผ่อิสลามเป็นเวลา 10 ปี

       ช่วงแรกพี่น้องมุสลิมในนครมะดีนะห์ต้องทำสงครามต่อสู้ป้องกันตัวจากการรุกรานของชาวมักกะห์ที่หมายจะทำลายล้างพลังของมุสลิมในเมืองมะดีนะห์ การทำสงครามนั้นส่วนใหญ่มุสลิมได้รับชัยชนะต่อผู้รุกรานที่ปฏิเสธอิสลาม มีเพียงครั้งเดียวเท่านั้นที่มุสลิมพ่ายแพ้ต่อชาวมักกะห์  คือสงครามอุฮุด ซึ่งเป็นสงครามที่ท่านนะบีมูฮัมมัด

ถูกทำร้ายจนบาดเจ็บ และมีมุสลิมหลายคนต้องเสียชีวิตในสมรภูมิแห่งนี้ อันเนื่องมาจากกำลังพลมุสลิมบางกลุ่มเห็นแก่ทรัพย์สินของศัตรูในสงคราม จนละทิ้งที่มั่นเป็นเหตุให้กองทัพของมักกะฮ์ ซึ่งคุมทัพโดยท่านคอลิด บินวะลีด โจมตีกองทัพมุสลิมจนแตกพ่าย (ในขณะนั้นยังไม่ได้เข้ารับนับถืออิสลาม)

ในที่สุดชาวมักกะห์เองต้องยอมพ่ายแพ้ต่อพลังมุสลิม ยอมให้ท่านนะบีมุฮัมมัด

และผู้นับถือศาสนาอิสลามเข้ายึดครองนครมักกะห์ โดยไม่มีการสู้รบต่อต้านจากชาวนครมักกะห์ แต่อย่างใด ท่านนะบีมุฮัมมัด
ได้ให้อภัยแก่ผู้ที่เคยเป็นศัตรูของท่านทุกคน มิได้มีการแก้แค้นต่อผู้ที่เคยทำร้ายท่าน
และต่อมาผู้คนในแถบคาบสมุทรอาหรับก็เข้ารับนับถือศาสนาอิสลามด้วยความเลื่อมใสศรัทธาและเป็นประเทศมุสลิมในที่สุด

       ศักราชของอิสลามใช้คำว่าฮิจเราะห์ศักราช ใช้ตัวอักษรย่อว่า “ฮ.ศ.” คำว่า ฮิจเราะฮ์ หมายถึง “การอพยพ” คือ การอพยพของท่านนะบีมุฮัมมัด

และบรรดามุสลิมจากเมืองมักกะห์สู่เมืองมะดีนะห์ หลังจากที่ท่านนะบีมุฮัมมัด
ได้เสียชีวิต ท่านเคาะลีฟะฮ์อุมัร อิบนุคอฎฎ็อบ 
ผู้ปกครองอาณาจักรอิสลามคนที่สองต่อจากท่านอบูบักร์
ได้ปรึกษากันว่า อิสลามควรจะต้องมีการนับศักราชเพื่อใช้ในการกำหนดวัน เดือน ปี เช่นเดียวกับคริสตศักราช แต่การเริ่มศักราชของอิสลามจะเริ่มเมื่อใดนั้น ได้มีบรรดาอัครสาวกที่ใกล้ชิดของท่านนะบีมุฮัมมัด
และบรรดาผู้นับถือศาสนาอิสลามในเวลานั้นเสนอแนวทางในการกำหนดศักราชอิสลาม 4 แนวทางด้วยกัน คือ

          1. เสนอให้ถือเอาปีเกิดของท่านนะบีมุฮัมมัด

 เป็นปีเริ่มต้นศักราช


          2. เสนอให้ถือเอาปีที่ท่านนะบีมุฮัมมัด

เริ่มเผยแพร่ศาสนาอิสลาม เป็นปีเริ่มต้นศักราช


          3. เสนอให้ถือเอาปีที่ท่านนะบีมุฮัมมัด

อพยพจากเมืองมักกะห์สู่เมืองมะดีนะห์ เป็นปีเริ่มต้นศักราช


          4. เสนอให้ถือเอาปีที่ท่านนะบีมุฮัมมัด

เสียชีวิต เป็นปีเริ่มต้น ศักราช

       ข้อสรุปในที่ประชุมได้มีมติให้ถือเอาปีที่ท่านนะบีมุฮัมมัด

อพยพจากนครมักกะห์สู่นครมะดีนะห์ ซึ่งเป็นปีที่ท่านนะบีมุฮัมมัด
ถูกชาวนครมักกะห์ที่เคารพบูชาเจว็ด และสิ่งงมงายต่างๆ มุ่งหวังจะเอาชีวิต และเมื่ออพยพสู่นครมะดีนะห์นั้น ชาวเมืองมะดีนะห์ได้ให้การต้อนรับเป็นอย่างดี พร้อมทั้งเข้ารับนับถือศาสนาอิสลามเป็นจำนวนมาก และเป็นปีที่มีความสำคัญในการเริ่มแผ่ขยายการเผยแพร่ศาสนาอิสลามจนประสบกับความสำเร็จในเวลาต่อมา

       จึงเริ่มต้นนับศักราชของอิสลามตั้งแต่ปีที่ท่านนะบีมุฮัมมัด 

และบรรดามุสลิมได้อพยพจากมักกะห์สู่มะดีนะห์ คือ ฮิจเราะห์ศักราช (ฮ.ศ.) นับแต่นั้นเป็นต้นมา  ปัจจุบันมีผู้นับถือศาสนาอิสลาม หรือที่เรียกว่ามุสลิมอยู่ทั่วโลกไม่น้อยกว่า ๑,๘๐๐ ล้านคน

 วันขึ้นปีใหม่อิสลามจะตรงกับ   วันที่   1 มุฮัรรอม  ฮ.ศ. 14XX  คือ วันเริ่มศักราชใหม่ของอิสลาม  
 
 

www.islamicbangkok.or.th

เป็นศักราชของศาสนาอิสลาม คือศักราชแบบใด

ศักราชอิสลามเรียกว่า “ฮิจญเราะห์ศักราช” เนื่องจากฮิจญเราะห์ แปลว่า อพยพ ฮิจญเราะห์ ศักราชจึงหมายถึง ศักราชหรือปีแห่งการอพยพ ( Hijra ("emigration"))

วันที่เท่าใดจุดเริ่มต้นของฮิจเราะห์ศักราช

วันที่ 26. จันทร์ 22 รอบีอุลเอาวัล ฮ.ศ. 1. (4 ตุลาคม 622)

ฮิจเราะห์ศักราชใช้อักษรย่ออย่างไร

อักษรย่อ ฮิจญ์เราะหฺ คือ ฮ.ศ. ในภาษาอังกฤษนิยมใช้ H.E. (Hijrah Era) หรือ A.H. (Anno Hejira)

กระทู้ที่เกี่ยวข้อง

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

แปลภาษาไทย ไทยแปลอังกฤษ โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน lmyour แปลภาษา ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv แปลภาษาอาหรับ-ไทย แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip แอพแปลภาษาอาหรับเป็นไทย ค้นหา ประวัติ นามสกุล ห่อหมกฮวกไปฝากป้า หนังเต็มเรื่อง ไทยแปลอังกฤษ ประโยค Terjemahan เมอร์ซี่ อาร์สยาม ล่าสุด แปลภาษาจีน กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น ่้แปลภาษา Google Translate ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย พร บ ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 วิธีใช้มิเตอร์วัดไฟดิจิตอล สหกรณ์ออมทรัพย์กรมส่งเสริมการปกครอง ส่วนท้องถิ่น ห่อหมกฮวก แปลว่า Bahasa Thailand Thailand translate mu-x มือสอง รถบ้าน การวัดกระแสไฟฟ้า ด้วย แอมมิเตอร์ การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 4 ก่อนจะนิ่งก็ต้องกลิ้งมาก่อน เนื้อเพลง ก่อนจะนิ่งก็ต้องกลิ้งมาก่อน แคปชั่น พจนานุกรมศัพท์ทหาร ภูมิอากาศ มีอะไรบ้าง สถาบันพัฒนาบุคลากรท้องถิ่น อาจารย์ ตจต อเวนเจอร์ส ทั้งหมด เขียน อาหรับ แปลไทย ใบรับรอง กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน Google map Spirited Away 2 spirited away ดูได้ที่ไหน tor คือ จัดซื้อจัดจ้าง กินยาคุมกี่วัน ถึง ปล่อยในได้ ธาตุทองซาวด์เนื้อเพลง บช.สอท.ตำรวจไซเบอร์ ล่าสุด บบบย มิติวิญญาณมหัศจรรย์ ตอนจบ รหัสจังหวัด อําเภอ ตําบล ศัพท์ทางทหาร military words สอบ O หยน