อาจารย์ที่สอนดนตรีให้กับบีโธเฟ่นและโมสาร์ทชื่อว่าอะไร

นักดนตรีคลาสสิคที่ได้ชื่อเสียงเรียงนามว่า คีตกวีหูหนวก อย่าง ลุดวิก แวน บีโธเฟน ชายผู้ที่เต็มไปด้วยพรสวรรค์ทางด้านดนตรีคลาสสิค ด้วยการเรียบเรียงตัวโน้ตบนบรรทัดห้าเส้น เรียงร้อยกันอย่างสวยงาม ทำให้เสียงที่ออกมานั้นบรรเลงได้อย่างไพเราะเพราะพริ้งและนั่นเป็นจุดที่ กำเนิดให้บุรุษผู้นี้ได้ดังทั่วโลกไปไกล ซึ่งเกิดจากบีโธเฟนไม่เคยย่อท้อต่อความยากลำบากกับร่างกายเขาด้วยที่เขาหู หนวกแต่ด้วยพรสวรรค์อันเลอเลิศ เขาก็ได้สร้างเสียงเพลงคลาสสิคในเพลงอัมตะที่ทั่วโลกนั่นได้ยินแล้วต้อง รู้จักเขา ลุดวิก แวน บีโธเฟน เกิดวันที่ 16 ธันวาคม 1770 ที่ประเทศเยอรมนี เมืองบอนน์ ซึ่งครอบครัวของเขาเป็นนักดนตรีอยู่แล้วอย่างพ่อของเขา ฟาน เบโธเฟน ที่เป็นนักดนตรีประจำราชสำนัก แต่ด้วยที่เขาขาดความรับผิดชอบและติดสุราเป็นอย่างมาก ทำให้รายด้ายเกือบครึ่งหนึ่งของครอบครัวนั้นหายไป

อาจารย์ที่สอนดนตรีให้กับบีโธเฟ่นและโมสาร์ทชื่อว่าอะไร

จึงทำให้ครอบครัวนั้นยากจน แต่บิดาของ ลุดวิก นั้นก็คาดหวังว่าเขาจะเป็นนักดนตรีที่อัจฉริยะแบบ โมสาร์ท ที่โด่งดังในยุคเบทโฮเฟิน แต่ด้วยที่คาดหวังสูงเกินไป เพราะบิดาอยากให้เขานั้นเล่นดนตรีหาเงินเลี้ยงครอบครัวได้ตั้งแต่ 6 ขวบ แบบ โมสาร์ท จึงทำให้บิดาของเขานั้นฝึกซ้อม ลุดวิก อย่างหนักทั้งสั่งห้ามไม่ให้เล่นกับน้องๆ ให้อยู่เพียงลำพังกับเปียนโนอันเดียว แต่นั่นก็ทำให้เขาเกิดความท้อแท้บ้างแต่ด้วยที่บิดาของ บีโธเฟน เป็นวัณโรค ทำให้เขาสู้และเรียนรู้ที่จะเล่นมันให้เก่งอย่างที่บิดาเขาหวังไว้ที่จะนำมา ซึ่งการเลี้ยงดูครอบครัวในภายภาคหน้า แต่เมื่ออายุ 11 ปีนั้น บีโธเฟน ได้แสดงความสามารถให้กับทุกคนเห็นถึงความเก่งและอัจฉริยะ เขาจึงได้เข้าทำงานเป็นครั้งแรกจากการเล่นออร์แกน และเป็นผู้ช่วยประจำราชสำนักอีกด้วย พออายุได้ 17 ปี เขาได้มาเยือนยังกรุงเวียนนาซึ่งได้รับการสนับสนุนจากญาติผู้ใหญ่ และได้เจอกับโมสาร์ทจึงได้บรรเลงเพลงจากเปียโนให้กับโมสาร์ทฟัง จนตัวโมสาร์ทและคนรอบข้างนั้นต้องตลึงถึงความอัจฉริยะของเด็กคนนี้ และได้พูดกล่าวขานว่า ให้จับตาดูเด็กน้อย บีโธเฟนไว้ วันหนึ่งเขาจะก้าวสู่ความสำเร็จและจะสร้างผลงามที่คนทั่วโลกต่างก็ต้อง รู้จักนักดนตรีคลาสสิกผู้นี้

อาจารย์ที่สอนดนตรีให้กับบีโธเฟ่นและโมสาร์ทชื่อว่าอะไร

  ระยะเวลา สถานที่ เกิดและตาย  เกิด :  16 ธันวาคม 1770 ในบอนน์, เยอรมนีตาย : 26 มีนาคม 1827 ในเวียนนา, ออสเตรีย สัญชาติ (Nationality)เยอรมันGermanยุคสมัยดนตรีและระยะเวลา (Style / Period)ยุคคลาสสิค  ค.ศ.1750 - 1820Classic Period 1750 - 1820ตัวอย่างผลงานที่มีชื่อเสียง (Famous Works) Symphony No. 1 - 9, Moonlight Sonata, Fur Elise, Fidelio, and Missa Solemnisอัตชีวประวัติ (Biography)

       เบโธเฟนเติบโตขึ้นมาในกรุงบอนน์  ประเทศเยอรมัน  ในวัยเด็กชีวิตความเป็นอยู่ในบ้านน่าเศร้ามาก เขาถูกบังคับให้ฝึกหัดเล่นเปียโน พ่อของเบโธเฟนมีความมุ่งมั่นที่จะให้เขาเก่งเหมือนอย่างโมสาร์ท  พ่อจะลงโทษเขาอย่างไร้ความปราณีของเขาเมื่อเขาเล่นผิดพลาด   เมื่อเบโธเฟนอายุได้สิบสองปี เขาสามารถประกอบอาชีพเพื่อเลี้ยงครอบครัวได้ โดยการเล่นออร์แกนและแต่งเพลง เขาเป็นเป็นนักเปียโนที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในช่วงระยะเวลาที่มีชีวิตอยู่ 

       ผลงานซิมโฟนี่ 2 ลำดับแรกมีลักษณะคล้ายคลึงกับผลงานของนักดนตรีในยุคเดียวกัน คือ ฟรานซ์ โจเซฟ ไฮเดิน  ซึ่งถือว่าเป็นครูของเขา   ผลงานตั้งแต่ซิมโฟนี หมายเลข 3 เป็นต้นไป  มีความเป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัว เขาได้ประพันธ์บทเพลงซิมโฟนีไว้ 9 บท ซิมโฟนีทุกบทมีความไพเราะแตกต่างกันออกไป  หมายเลขที่ได้รับความนิยมคือ 5, 6, 7 และ 9  ผลงานดนตรีประเภทอื่น ๆ ที่มีชื่อเสียงได้แก่ คอนแชร์โตสำหรับเปียโนหมายเลข 4 และ 5  สำหรับอุปรากรนั้น เบโธเฟนได้ประพันธ์ไว้เพียง 1 เรื่องเท่านั้น คือ ฟิเดลิโอ(Fidelio) 

       แม้ว่าเบโธเฟนค่อย ๆ สูญเสียการได้ยินของเขา แต่เขาก็ยังคงแต่งเพลง  ผลงานที่มีชื่อเสียงมากที่สุดคือซิมโฟนี หมายเลข 9  เขาแต่งในขณะที่เขาได้กลายเป็นคนหูหนวกโดยสิ้นเชิง  ซิมโฟนีหมายเลข 9 ของเบโธเฟนถือว่าเป็นสุดยอดแห่งซิมโฟนี มีความยาว 4 กระบวน ใช้เวลาบรรเลงไม่น้อยกว่า 1 ชั่วโมง และยังมีการนำกลุ่มนักร้องประสานเสียงมาสอดแทรกไว้ในบทเพลงด้วย

 

  ชื่อผลงาน :  Beethoven - Fidelio Overture : Conducted by Harnoncourt

 

Beethoven - Fidelio Overture

 ชื่อผลงาน :  Fidelo Opera : Prisoners  Chorus

 

FIDELIO (10) Prisoners Chorus

William Dooley Don Fernando

Chor und Orchester der Deutschen Oper Berlin

 ชื่อผลงาน :   Beethoven op. 131 string quartet # 14 (1/5) เกี่ยวกับบทเพลง

The String Quartet No. 14 in C-sharp minor, opus 131, by Ludwig van Beethoven was completed in 1826. 

(The number traditionally assigned to it is based on the order of its publication; it is actually his fifteenth 

quartet by order of composition.) About 40 minutes in length, it consists of seven movements to be 

played without a break, as follows:

1. Adagio ma non troppo e molto espressivo

4. Andante ma non troppo e molto cantabile — Più mosso — Andante moderato e lusinghiero — Adagio

 — Allegretto — Adagio, ma non troppo e semplice — Allegretto

6. Adagio quasi un poco andante


           This work, which is dedicated to Baron Joseph von Stutterheim, was Beethoven's favourite from the latequartets. He is quoted as remarking to a friend: "thank God there is less lack of imagination than ever before"[citation needed]. Together with the quartets op. 130 and 132, it goes beyond anything Beethoven had previously written. (Op. 131 is the conclusion of that trio of great works, written in the order 132, 130 with the Grosse Fugue ending, 131; they may be profitably listened to and studied in that sequence.) It is
said that upon listening to a performance of this quartet, Schubert remarked, "After this, what is left for us to write?"

 ชื่อผลงาน :  SString Quartet Op. 132

Borodin Quartet plays Beethoven String Quartet Op.132

00:00 - Assai sostenuto - Allegro

09:48 - Allegro ma non troppo

19:24 - Molto adagio - Andante

37:02 - Alla marcia, assai vivace

39:26 - Finale. Allegro appassionato

ฟัง | ชม ตัวอย่างผลงาน

ชื่อผลงาน : Fur Elise       Piano : Ivo Pogorelichชื่อผลงาน :   วิดีโอแสดงประวัติของเบโธเฟนประกอบการบรรเลงซิมโฟนีหมายเลข 9 ท่อนสุดท้าย (Choral)"

Symphony No.9 ท่อน Choral ประกอบประวัติเบโธเฟน

ชื่อผลงาน :  Beethoven Piano Concerto 5 complete

Australian Doctors Orchestra

 ชื่อผลงาน :  Wilhelm Kempff plays Beethoven's Moonlight Sonata mvt.1  , mvt.2  and mvt.3

Moonlight Sonata 1st.movement

Moonlight Sonata 2nd.movement

Moonlight Sonata 3rd.movement

 ชื่อผลงาน : Symphony No. 5 in C minor, Op. 67, conductor is Leonard Bernstein

Beethoven : Symphony No.5

 ชื่อผลงาน : Symphony No.9    4th. movement (Choral)

 

Beethoven : Symphony No.9 "Choral"

04 Presto; Allegro molto assai (Alla marcia); Andante, Beethoven, Symphony 9/4/1 D minor Op 125 'Choral' Thielemann Vienna Philharmonic Orchestra

Presto; Allegro molto assai (Alla marcia); Andante maestoso; Allegro energico, sempre ben marcato. Duration approx. 24 mins.

The famous choral finale is Beethoven's musical representation of Universal Brotherhood. American pianist and music author Charles Rosen has characterized it as a symphony within a symphony, the view which will be followed below. It is important to note that many other writers have interpreted its form in different terms, including two of the greatest analysts of the twentieth century, Heinrich Schenker and Donald Tovey. In Rosen's view, it contains four movements played without interruption.[10] This "inner symphony" follows the same overall pattern as the Ninth Symphony as a whole. The scheme is as follows:
First "movement": theme and variations with slow introduction. Main theme which first appears in the cellos and basses is later "recapitulated" with voices.
Second "movement": 6/8 scherzo in military style (begins at "Alla marcia," words "Froh, wie seine Sonnen fliegen"), in the "Turkish style". Concludes with 6/8 variation of the main theme with chorus.
Third "movement": slow meditation with a new theme on the text "Seid umschlungen, Millionen!" (begins at "Andante maestoso")
Fourth "movement": fugato finale on the themes of the first and third "movements" (begins at "Allegro energico")

The movement has a thematic unity, in which every part may be shown to be based on either the main theme, the "Seid umschlungen" theme, or some combination of the two.

The first "movement within a movement" itself is organized into sections: An introduction, which starts with a stormy Presto passage. It then briefly quotes all three of the previous movements in order, each dismissed by the cellos and basses which then play in an instrumental foreshadowing of the vocal recitative. At the introduction of the main theme, the cellos and basses take it up and play it through. The main theme forms the basis of a series of variations for orchestra alone. The introduction is then repeated from the Presto passage, this time with the bass soloist singing the recitatives previously suggested by cellos and basses. The main theme again undergoes variations, this time for vocal soloists and chorus.