คลื่นชนิดใดจัดอยู่ในช่วงความถี่ของคลื่นวิทยุ

��ѧ�ҹ�ͧ���� �Ԩ�ó��繤�������ͧ���ѧ�ҹ ���Ϳ�ѡ��ͧ������ѧ�� (��˹����� ��ѧ�ҹ���˹������ҵ��˹��¾�鹷�� = Joule s-1 m-2 = watt m-2) ����Ҩ�Ѵ�ҡ��������������͡�� (radiance) ���ͤ��������赡��з� (irradiance)

�ҡ�Ҿ�繡���ʴ���ǧ������Ǥ��蹢ͧ�����������俿�� �������ͧ����Ѵ (Sensor) �ͧ������������ػ�ó��Ǩ�Ѵ���͡Ẻ�������������Ѻ��ǧ������Ǣͧ�����������俿��㹪�ǧ���蹵�ҧ�ѹ ��

  • ��ǧ�ѧ������ (gamma ray : l < 0.1 nm) ��Ъ�ǧ�ѧ����硫� (x-ray : 0.1 nm < l < 300 nm) �繪�ǧ����վ�ѧ�ҹ�٧ ���ѧ�ըҡ��ԡ����ҹ�������� ���ͨҡ��á���ѹ��ѧ��
  • ��ǧ��ŵ�������ŵ �繪�ǧ����վ�ѧ�ҹ�٧ ���ѹ���µ��������ժ��Ե
  • ��ǧ�����ʧ �繪�ǧ���蹷����������Ѻ����� ��Сͺ�����ʧ����ǧ ���ŧ�Ҩ��֧�ʧ��ᴧ
  • ��ǧ�Թ����ô �繪�ǧ���蹷���վ�ѧ�ҹ��� ���������ͧ������ ��ṡ�͡�� �Թ����ô������� ����Թ����ô���蹤�����͹
    • Near Infrared (NIR) ������Ǥ��蹨�����㹪�ǧ�����ҧ 0.7 �֧ 1.5 µm.
    • Short Wavelength Infrared (SWIR) ������Ǥ��蹨�����㹪�ǧ�����ҧ 1.5 �֧ 3 µm.
    • Mid Wavelength Infrared (MWIR) ������Ǥ��蹨�����㹪�ǧ�����ҧ 3 �֧ 8 µm.
    • Long Wavelength Infrared (LWIR) ������Ǥ��蹨�����㹪�ǧ�����ҧ 8 �֧ 15 µm.
    • Far Infrared (FIR) ������Ǥ��蹨��ҡ���� 15 µm.
  • ��ǧ�����Է�� (radio wave) �繪�ǧ���蹷���Դ�ҡ�����蹢ͧ��֡���ͧ�ҡ���Ѻʹ��俿�� �����Դ�ҡ�����Ѻ����俿�� ����Ѻ㹪�ǧ�����ǿ �ա��������੾�� ��
    • P band �����������㹪�ǧ 0.3 - 1 GHz (30 - 100 cm)
    • L band �����������㹪�ǧ 1 - 2 GHz (15 - 30 cm)
    • S band �����������㹪�ǧ 2 - 4 GHz (7.5 - 15 cm)
    • C band �����������㹪�ǧ 4 - 8 GHz (3.8 - 7.5 cm)
    • X band �����������㹪�ǧ 8 - 12.5 GHz (2.4 - 3.8 cm)
    • Ku band �����������㹪�ǧ 12.5 - 18 GHz (1.7 - 2.4 cm)
    • K band �����������㹪�ǧ 18 - 26.5 GHz (1.1 - 1.7 cm)
    • Ka band �����������㹪�ǧ 26.5 - 40 GHz (0.75 - 1.1 cm
������Ǫ�ǧ������Ф�������ͧ�����������俿�� �������Ѻ�س����Ԣͧ���觡��Դ�����������俿�� �� �ǧ�ҷԵ�� ���س����� 6,000 K �����ѧ�ҹ㹪�ǧ�����ʧ�ҡ����ش �ѵ�ص�ҧ� ������š��ǹ�ҡ�����س����Ի���ҳ 300 K �����ѧ�ҹ㹪�ǧ�Թ����ô������͹�ҡ����ش �����������俿��������Թ�ҧ��ҹ��鹺���ҡ�� �ж١���š���ҡ�� ��н�����ͧ��ҡ�ȴٴ��׹ ��Т�ҧ���������蹡���ԧ�����͡� ������ǹ����з��١�ѵ�ب��з�͹��Ѻ ����Թ�ҧ��ҹ��鹺���ҡ���ҵ�����ػ�ó��Ѵ���� ���ͧ�ҡ�ѵ�ص�ҧ� �դس���ѵԡ���з�͹�����������俿�ҷ���ǧ���蹵�ҧ� �������͹�ѹ �ѧ�����Ҩ֧����ö������������俿��㹡�����Ǩ�ҡ�������� �ٻ���仹���ʴ��ѡɳС���з�͹�ʧ���º��º�����ҧ�ѵ�ص�ҧ��Դ�ѹ����ǧ���蹵�ҧ� �ѹ ��������ö㹡���з�͹�ʧ�ͧ�ѵ�ص�ҧ� ������š����ö��ػ��ѧ���
  • ����з�͹�ʧ㹪�ǧ�ʧ�չ���Թ��� ��дٴ��׹����㹪�ǧ���� �������ѧࡵ��ҹ�Өдٴ��׹���� IR ��ǧ 0.91 mm 㹪�ǧ�������ҡ
  • �Թ�з�͹�ʧ㹪�ǧ�����ʧ��շء��
  • �ת�з�͹�ʧ��ǧ��������� ����з�͹��ǧ�Թ����ô��ա��ҹ����дԹ�ҡ
������� ������Ǥ��� (m) ����dz�Ӥѭ
����Ҩ�Դ�ѹ���� �ŷ���Դ��� ���¡��� 150 MHz �ҡ���� 2.00 - ���ؼ�ҹ��ҧ���������ա�ôٴ��׹ 150 MHz - 1.2 GHz 2.00-0.25 ���������ҧ��� �Դ������͹����dz����˹ѧ ������������� 1-3 GHz 0.30-0.10 �Ź��� ���ѹ���µ���Ź��ҷ�����س������٧��� 3-10 GHz 0.10-0.03 �Ź�����м��˹ѧ ����֡��͹�����˹ѧ ����͹�١�ʧ�ҷԵ�� �ҡ���� 10 GHz ���¡��� 0.03 ���˹ѧ �з�͹�����˹ѧ ���Ͷ١�ٴ��׹�����ҡ

  คลื่นวิทยุ

ถ้าพิจารณาจากสเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า จะเห็นว่าคลื่นวิทยุมีความถี่อยู่ในช่วง 106 - 109 เฮิรตซ์ คลื่นช่วงนี้ใช้ในการส่งข่าวสารและสาระบันเทิงไปยังผู้รับ สำหรับคลื่นวิทยุความถี่ตั้งแต่ 530 - 1600 กิโลเฮิรตซ์ ที่สถานีวิทยุส่งออกอากาศใน ระบบเอเอ็ม เป็นการสื่อสารโดยการผสม (modulate) คลื่นเสียงเข้ากับคลื่นวิทยุ ซึ่งเรียกว่า คลื่นพาหะ และสัญญาณเสียงจะบังคับให้แอมพลิจูดของคลื่นพาหะเปลี่ยนแปลงไป
เมื่อคลื่นวิทยุที่ผสมสัญญาณเสียงกระจายออกจากสายอากาศไปยังเครื่องรับวิทยุ เครื่องรับวิทยุจะทำหน้าที่แยกสัญญาณเสียงซึ่งอยู่ในรูปของสัญญาณไฟฟ้าออกจากสัญญาณคลื่นวิทยุ แล้วขยายให้มีแอมพลิจูดสูงขึ้น เพื่อส่งให้ลำโพงแปลงสัญญาณออกมาเป็นเสียงที่หูรับฟังได้


การส่งคลืนวิทยุระบบเอเอ็ม
ในการกระจายเสียงคลื่นวิทยุระบบเอเอ็มออกอากาศนั้น นอกจากจะใช้คลื่นที่มีความถี่ขนาด 530 - 1600 กิโลเฮิรตซ์ แล้ว ยังมีคลื่นที่มีช่วงความถี่ต่ำกว่านี้ซึ่งเรียกว่า คลื่นยาว และคลื่นที่มีความถี่สูงกว่านี้ซึ่งเรียกว่า คลื่นสั้น ด้วยในการส่งระบบเอเอ็มซึ่งเป็นการผสมคลื่นโดยให้แอมพลิจูดของคลื่นพาหะเปลี่ยนแปลงตามสัญญาณคลื่นเสียง ขณะคลื่นเคลื่อนที่ไปในบรรยากาศ ปรากฏการณ์ฟ้าแลบหรือฟ้าผ่า สามารถทำให้เกิดคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าได้ ซึ่งคลื่นใหม่ที่เกิดขึ้นนี้สามารถรวมกับคลื่นวิทยุที่ส่งมาแบบเอเอ็ม ทำให้เกิดการรบกวน การส่งคลื่นวิทยุอีกระบบหนึ่งเรียกว่า ระบบเอฟเอ็ม เป็นการผสมสัญญาณเสียงเข้ากับคลื่นพาหะ โดยให้ความถี่ของคลื่นพาหะเปลี่ยนแปลงตามสัญญาณเสียง

การส่งคลื่นวิทยุเอฟเอม
การส่งคลื่นในระบบเอฟเอ็มถูกกำหนดให้อยู่ในช่วงความถี่จาก 88-108 เมกะเฮิรตซ์ หรือความยาวคลื่นตั้งแต่ 2.8-3.4 เมตร ระบบการส่งคลื่นแบบเอเอ็มและเอฟเอ็มต่างกันที่วิธีการผสมคลื่น ดังนั้นเครื่องรับวิทยุระบบเอเอ็มกับเอฟเอ็มจึงไม่สามารถรับคลื่นวิทยุของอีกระบบหนึ่งได้
คลื่นวิทยุมีสมบัติที่น่าสนใจอีกประการหนึ่ง คือ คลื่นวิทยุบางช่วงสามารถสะท้อนได้ที่บรรยากาศชั้นไอโอโนสเฟียร์ เพราะบรรยากาศในชั้นนี้ประกอบด้วยอนุภาคที่มีประจุไฟฟ้าเป็นจำนวนมาก ดังนั้นเมื่อคลื่นวิทยุเคลื่อนที่มากระทบจะสะท้อนกลับสู่ผิวโลกอีกสมบัติข้อนี้ทำให้สามารถใช้คลื่นวิทยุในการสื่อสารเป็นระยะทางไกลๆได้ แต่ถ้าเป็นคลื่นวิทยุที่มีความถี่สูงสมบัติการสะท้อนดังกล่าวจะเกิดได้น้อยลง
ในการส่งกระจายเสียงด้วยคลื่นวิทยุระบบเอเอ็ม คลื่นสามารถเดินทางถึงเครื่องรับวิทยุได้สองทาง คือ เคลื่อนที่ไปตรงๆในระดับสายตา ซึ่งเรียกว่าคลื่นดิน ส่วนคลื่นที่สะท้อนกลับลงมาชั้นไอโอโนสเฟียร์ ซึ่งเรียกว่า คลื่นฟ้า ส่วนคลื่นวิทยุระบบเอฟเอ็มซึ่งมีความถี่สูงจะมีการสะท้อนที่ชั้นไอโอโนสเฟียร์น้อย ดังนั้นถ้าต้องการส่งกระจายเสียงด้วยระบบเอฟเอ็มให้ครอบคลุมพื้นที่ไกลๆ จึงต้องมีสถานีถ่ายทอดเป็นระยะๆและผู้รับต้องตั้งสายอากาศให้สูง

การเคลื่อนที่ของคลื่นวิทยุที่ไปเครื่องรับ
ในขณะที่คลื่นวิทยุเคลื่อนที่ผ่านสิ่งกีดขวางที่มีขนาดใกล้เคียงความยาวคลื่นจะมีการเลี้ยวเบนเกิดขึ้น ทำให้คลื่นวิทยุอ้อมผ่านไปได้ แต่ถ้าสิ่งกีดขวางมีขนาดใหญ่มาก เช่น ภูเขาคลื่นวิทยุที่มีความยาวคลื่นสั้นจะไม่สามารถอ้อมผ่านภูเขาไปได้ ทำให้ด้านตรงข้ามของภูเขาเป็นจุดปลอดคลื่น
โลหะมีสมบัติสามารถสะท้อนและดูดกลืนแม่เหล็กไฟฟ้าได้ดี ดังนั้นคลื่นวิทยุจะทะลุผ่านเข้าไปถึงภายในโลหะได้ยาก อาจจะสังเกตได้ง่ายเมื่อฟังวิทยุในรถยนต์ เมื่อรถยนต์ผ่านใต้สะพานที่มีโครงสร้างเป็นเหล็ก เสียงวิทยุจะเบาลง หรือเงียบหายไป
ในการส่งกระจายเสียง สถานีส่งคลื่นวิทยุหนึ่งๆจะใช้คลื่นวิทยุที่มีความถี่คลื่นโดยเฉพาะ เพราะถ้าใช้คลื่นที่มีความถี่เดียวกัน จะเข้าไปในเครื่องรับพร้อมกัน เสียงจะรบกวนกัน แต่ถ้าสถานีส่งวิทยุอยู่ห่างกันมากๆ จนคลื่นวิทยุของสถานีทั้งสองไม่สามารถรบกวนกันได้ สถานีทั้งสองอาจใช้ความถี่เดียวกันได้
คลื่นวิทยุที่มีความถี่นอกเหนือจากช่วงส่งออกอากาศตามปกติ อาจนำไปใช้ในการสื่อสารเฉพาะกรณี เช่น ใช้สื่อสารระหว่างเจ้าหน้าที่ตำรวจ ระหว่างหน่วยงานของราชการและในระบบวิทยุสมัครเล่น เป็นต้น อย่างไรก็ตาม ปัจจุบันราชการไม่อนุญาตให้เอกชนมีเครื่องส่งวิทยุในครอบครอง ยกเว้นเพื่อกิจการวิทยุสมัครเล่นหรือเพื่อกิจกรรมสาธารณประโยชน์เท่านั้น

//sites.google.com/site/fisiksthudey/-khlun

คลื่นวิทยุเป็นคลื่นที่มีความถี่อยู่ในช่วงใด

คลื่น (Wave) คือพลังงานรูปหนึ่งที่เกิดจากแหล่งก าเนิดที่ต่างกัน เช่น คลื่นเสียง (มีความถี่ อยู่ในช่วง 20 Hz – 20 kHz) คลื่นวิทยุ เป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มนุษย์สร้างขึ้นมาใช้งาน (มีความถี่อยู่ ในช่วง 10 kHz – 300 GHz)

คลื่นวิทยุจัดเป็นคลื่นประเภทใดได้บ้าง

คลื่นวิทยุ เป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าชนิดหนึ่งที่เกิดขึ้นในช่วงความถี่วิทยุ บนเส้นสเปกตรัมแม่เหล็กไฟฟ้า คลื่นวิทยุไม่ต้องอาศัยตัวกลางในการเคลื่อนที่ ใช้ในการสื่อสาร มี 2 ระบบคือ A.M. และ F.M.

คลื่นชนิดใดมีความถี่มากที่สุด

คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีความถี่ตั้งแต่ 109 Hz ถึงประมาณ 1012 Hz จะเรียกว่า คลื่นไมโครเวฟ (microwave) คลื่นประเภทนี้มักใช้ในการสื่อสาร รวมไปถึงใช้ในเตาไมโครเวฟ คลื่นไมโครเวฟที่มีความยาวคลื่นประมาณ 1 mm ถึง 30 cm จะเป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีความถี่มากที่สุดที่สามารถสร้างจากวงจรไฟฟ้าได้

คลื่นวิทยุมีความถี่กี่เฮิร์ต

1. คลื่นวิทยุ ( Radio wave ) เป็นคลื่นที่มีความถี่อยู่ในช่วง 104 – 109เฮิตรซ์ ความยาวคลื่นประมาณ 10-1 - 103 เมตร สามารถแบ่งลักษณะของการใช้งานซึ่งแบ่งออกเป็น 2 ระบบ คือ 1.1 ระบบ AM ( Amplitude Modulation )

กระทู้ที่เกี่ยวข้อง

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

แปลภาษาไทย ไทยแปลอังกฤษ โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน lmyour แปลภาษา ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv แปลภาษาอาหรับ-ไทย แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip แอพแปลภาษาอาหรับเป็นไทย ค้นหา ประวัติ นามสกุล ห่อหมกฮวกไปฝากป้า หนังเต็มเรื่อง ไทยแปลอังกฤษ ประโยค Terjemahan เมอร์ซี่ อาร์สยาม ล่าสุด แปลภาษาจีน กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น ่้แปลภาษา Google Translate ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย พร บ ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 วิธีใช้มิเตอร์วัดไฟดิจิตอล สหกรณ์ออมทรัพย์กรมส่งเสริมการปกครอง ส่วนท้องถิ่น ห่อหมกฮวก แปลว่า Bahasa Thailand Thailand translate mu-x มือสอง รถบ้าน การวัดกระแสไฟฟ้า ด้วย แอมมิเตอร์ การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 4 ก่อนจะนิ่งก็ต้องกลิ้งมาก่อน เนื้อเพลง ก่อนจะนิ่งก็ต้องกลิ้งมาก่อน แคปชั่น พจนานุกรมศัพท์ทหาร ภูมิอากาศ มีอะไรบ้าง สถาบันพัฒนาบุคลากรท้องถิ่น อาจารย์ ตจต อเวนเจอร์ส ทั้งหมด เขียน อาหรับ แปลไทย ใบรับรอง กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน Google map Spirited Away 2 spirited away ดูได้ที่ไหน tor คือ จัดซื้อจัดจ้าง กินยาคุมกี่วัน ถึง ปล่อยในได้ ธาตุทองซาวด์เนื้อเพลง บช.สอท.ตำรวจไซเบอร์ ล่าสุด บบบย มิติวิญญาณมหัศจรรย์ ตอนจบ รหัสจังหวัด อําเภอ ตําบล ศัพท์ทางทหาร military words สอบ O หยน