บทเสภาสามัคคีเสวกแต่งขึ้นด้วยคำประพันธ์ชนิดใด

บทเสภาสามัคคีเสวกแต่งขึ้นด้วยคำประพันธ์ชนิดใด

บทร้อยกรอง
ร้อยกรองคืออะไร
      “ พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.๒๕๒๕ ให้ความหมายไว้ว่า คือ การสอดผูกให้ติดกัน ประดิษฐ์คำ แต่งหนังสือดีให้มีความไพเราะ ร้อยและเย็บดอกไม้ให้เป็นรูปต่างๆ ” ซึ่งร้อยกรองเป็นงานเขียนที่ต้องใช้ความสามารถในการเลือกภาษาแล้วจัดวางตำแหน่งถ้อยคำให้เหมาะสม ประกอบกับการฝึกบ่อยจนเกิดทักษะ ทั้งนี้เนื่องจากการเขียนร้อยกรองนั้นใช้คำได้เท่าที่ฉันทลักษณ์กำหนด ทั้งยังอาจเลยไปถึงการกำหนดคำตามเสียง / รูปวรรณยุกต์ และการกำหนดสัมผัสจึงเป็นเรื่องยุ่งยากสำหรับนักเขียนมือใหม่ แต่ขอบอกไว้ว่า เมื่อลองเขียนคำประพันธ์ชนิดใดก็ตามได้ด้วยตนเองสักบทหนึ่ง จะพบว่าร้อยกรองเป็นเรื่องไม่ยากและงดงามกว่า ให้ความหมายกว้างและลึกซึ้งกว่าการเขียนร้อยแก้วมากมายนัก
    สิ่งสำคัญที่สุดของคำประพันธ์ คือ การวางสัมผัสมารู้จักกันก่อนว่าสัมผัส มีด้วยกัน ๒ ชนิด คือ
           - สัมผัสใน ทำได้โดยสัมผัสสระ เป็นการใช้สระที่เหมือนๆ กันมาสัมผัสกัน เช่น ใจ ไป อะไร ทำไม ....กลาย สาย เป็นต้น
           - สัมผัสอักษร เป็นการเลือกพยัญชนะตัวสะกดเสียงเดียวกันมาสัมผัสกัน เช่น กาด ขาด คลาด......อนันต์ ฝัน จันทร เป็นต้น
           - สัมผัสนอก สัมผัสนอกเป็นการแสดงความสามารถในการสร้างความงดงาม ของผู้เขียนคำประพันธ์ให้ได้สีสันทางภาษา ....
ความหมายของร้อยกรอง
        คำว่า ร้อยกรอง ตรงกับคำภาษาอังกฤษว่า Poetry บางครั้งก็เรียก บทกวี บทประพันธ์ หรือ กวีนิพนธ์ คำว่าร้อยกรอง เป็นคำที่สำนักวัฒนธรรมทางวรรณกรรม กำหนดขึ้นใช้เรียกวรรณกรรมที่มีลักษณะบังคับในการแต่ง เพื่อให้เข้าคู่กับคำว่า "ร้อยแก้ว" ซึ่งเดิมบทประพันธ์ประเภทนี้ เรียกกันหลายอย่าง เช่น กลอน กาพย์ ร่าย ฉันท์ มีถ้อยคำมาประกอบประพันธ์กัน มีขนาดมาตราเสียงสูงต่ำ หนักเบาและสั้นยาวตามรูปแบบที่กำหนดไว้
        คำว่าร้อยกรอง เราสามารถแยกศัพท์ได้เป็น ๒ คำ คือคำว่า "ร้อย" กับคำว่า "กรอง" ร้อยเป็นคำกริยา หมายถึงการเรียงร้อย หรือการเรียบเรียงถ้อยคำหรืออาจจะเป็นดอกไม้ก็ได้ เช่น ร้อยดอกไม้ คำว่ากรองเป็นคำกริยา หมายถึงการเรียงร้อยกรอง เมื่อรวมกัน หมายถึง การกลั่นกรองหรือเรียบเรียงถ้อยคำ เช่นเดียวกับที่เรานำดอกไม้มาร้อยเป็นพวงมาลัยจะมีความงดงามแล้วก็อ่อนหวานไพเราะ ไม่ใช่ว่าเพียงแต่เอาถ้อยคำมาเรียงต่อกันเท่านั้น
        คำที่น่าสังเกต คือคำว่า กวีนิพนธ์ นักวิชาการบางท่าน ให้ความหมายแตกต่างไป จากร้อยกรอง คือ ร้อยกรองอาจจะเป็นคำประพันธ์ที่นำมาเรียงร้อยให้มีสัมผัสเท่านั้น แต่ว่า กวีนิพนธ์ กรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์ ได้กล่าวไว้ว่ากวีนิพนธ์นั้น เป็นการย่อยกรองถ้อยคำ เรียงถ้อยคำตามระเบียบข้อบังคับ ซึ่งได้แก่มาตราฉันทลักษณะ นั่นคือร้อยกรองทั่วไป กวีนิพนธ์โดยแท้จะต้องแสดงความรู้สึกนึกคิดที่เป็นภาพอันงามด้วยกวีนิพนธ์เป็นสิ่งวอนใจเรารู้สึกนึกคิด ทำให้เราสมใจในรสของภาษาและเห็นภาพความคิดต่าง ๆ กระจ่างขึ้น กวีนิพนธ์เป็นลักษณะยอดเยี่ยมของวรรณคดี คำร้อยกรองนั้นเป็นเพียงเครื่องประดับประกอบของกวีนิพนธ์เท่านั้น เพราะฉะนั้นตามความหมายอันนี้ ก็จะได้ว่าร้อยกรอง คือคำประพันธ์ทั่ว ๆ ไป ที่มีฉันทลักษณ์แต่ถ้ากวีนิพนธ์จะต้องเป็นร้อยกรองที่มีลักษณะยอดเยี่ยม

บทเสภาสามัคคีเสวกแต่งขึ้นด้วยคำประพันธ์ชนิดใด

               https://docs.google.com/document/preview?hgd=1&id=1mJg1ghdUoKtddMzeWem3ASkkvtte7h4YBrsloDl3x_๐
               http://2remind.blogspot.com/2005/11/blog-post.html 

บทเสภาสามัคคีเสวกแต่งขึ้นด้วยคำประพันธ์ชนิดใด

เมื่อเห็น บทเสภาสามัคคีเสวก ครั้งแรก เชื่อว่าต้องมีน้อง ๆ หลายคนต้องเผลออ่านคำว่า เสวก เป็น (สะ-เหวก) แน่ ๆ เลยใช่ไหมคะ แต่ที่จริงแล้วคำว่าเสวกนั้นต้องอ่านให้ถูกต้องว่า (เส-วก) ที่มีความหมายถึงผู้ใกล้ชิด เป็นยศของข้าราชการในราชสำนักนั่นเองค่ะ บทเรียนภาษาไทยในวันนี้ไม่เพียงแต่จะสอนอ่านให้ถูกต้อง แต่จะพาน้อง ๆ ไปเรียนรู้ประวัติความเป็นมาของเรื่องย่อวรรณคดีไทยอย่างบทเสภาสามัคคีเสวกกันอีกด้วย โดยจะเป็นเรื่องราวแบบไหน มีลักษณะคำประพันธ์และเรื่องย่ออย่างไรบ้าง เราไปศึกษาเรื่องนี้พร้อม ๆ กันเลยค่ะ

 

 

บทเสภาสามัคคีเสวกและประวัติความเป็นมา

 

บทเสภาสามัคคีเสวกแต่งขึ้นด้วยคำประพันธ์ชนิดใด
บทเสภาสามัคคีเสวกแต่งขึ้นด้วยคำประพันธ์ชนิดใด

 

บทเสภาสามัคคีเสวก มีที่มาจากที่ในสมัยก่อน ทุกวันเสาร์ ข้าราชการในราชสำนักจะจัดงานเลี้ยงที่พระราชวังสนามจันทร์ซึ่งในงานเลี้ยง จะมีการแสดงเพื่อความบันเทิง และในครั้งที่เจ้าพระยาธรรมธิกรณาธิบดี หรือ หม่อมราชวงศ์ปุ้ม มาลากุล เป็นเจ้าภาพจัดงานเลี้ยง ก็ได้ทูลขอให้พระบาทสมเด็จเพราะมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวคิดการละเล่นขึ้นมาอย่างหนึ่ง พระองค์จึงได้ผูกระบำสามัคคีเสวกขึ้น ซึ่งเป็นระบำที่ไม่มีบทร้อง มีเพียงดนตรีของวงพิณพาทย์บรรเลง โดยในระหว่างที่ให้วงพิณพาทย์พักเหนื่อย พระองค์ก็ทรงพระราชนิพนธ์บทเสภาขึ้นมาสำหรับขับร้องระหว่างตอน

บทเสภาสามัคคีเสวกแต่งขึ้นด้วยคำประพันธ์ชนิดใด
บทเสภาสามัคคีเสวกแต่งขึ้นด้วยคำประพันธ์ชนิดใด

 

 

ลักษณะคำประพันธ์

 

กลอนเสภาที่มีฉันทลักษณ์เหมือนกลอนสุภาพ

 

เรื่องย่อของบทเสภาสามัคคีเสวก

 

บทเสภาสามัคคีเสวกแต่งขึ้นด้วยคำประพันธ์ชนิดใด
บทเสภาสามัคคีเสวกแต่งขึ้นด้วยคำประพันธ์ชนิดใด

 

บทเสภาสามัคคีเสวกมีด้วยกันทั้งหมด 4 ตอน ได้แก่

1. กิจการแห่งพระนนที เป็นบทกล่าวสรรเสริญพระนนทีว่าเป็นเทพเสวกที่ดี รับใช้พระอิศวรอย่างซื่อสัตย์

2. กรีนิรมิต เป็นบทกล่าวสรรเสริญพระคเณศ เทพเจ้าแห่งศิลปวิทยา

3. วิศวกรรมา เป็นบทกล่าวสรรเสริญพระวิศวกรรมเทพ ผู้ให้กำเนิดการก่อสร้างและช่างต่าง ๆ

4. สามัคคีเสวก เป็นบทกล่าวถึงความสามัคคีในหมู่ราชการ ให้มีความจงรักภักดี ซื่อสัตย์ และขยันทำงาน

 

บทเสภาสามัคคีเสวกแต่งขึ้นด้วยคำประพันธ์ชนิดใด
บทเสภาสามัคคีเสวกแต่งขึ้นด้วยคำประพันธ์ชนิดใด

 

ตอนที่เราจะศึกษากันในวันนี้มีด้วยกัน 2 ตอน คือ วิศวกรรมาและสามัคคีเสวกค่ะ

 

บทเสภาสามัคคีเสวก ตอน วิศวกรรมา

 

บทเสภาสามัคคีเสวกแต่งขึ้นด้วยคำประพันธ์ชนิดใด
บทเสภาสามัคคีเสวกแต่งขึ้นด้วยคำประพันธ์ชนิดใด

 

บทวิศวกรรมา มีทั้งหมด 13 บท เป็นบทที่กล่าวสรรเสริญพระวิศวกรรมผู้เป็นเทพแห่งการสร้าง การช่าง นอกจากนี้ยังชี้ให้เห็นถึงความสำคัญของศิลปะ

 

บทประพันธ์เด่น

 

แม้ผู้ใดไม่นิยมชมสิ่งงาม

เมื่อถึงยามเศร้าอุราน่าสงสาร

เพราะขาดเครื่องระงับดับรำคาญ

โอสถใดจะสมานซึ่งดวงใจ

 

ถอดความ คนที่ไม่สนใจในศิลปะ เมื่อถึงเวลาที่เศร้าก็จะไม่มีสิ่งยึดเหนี่ยวจิตใจ เพราะทุกข์ที่เกิดขึ้นในใจไม่สามารถใช้ยาช่วยได้

 

อันชาติใดไร้ช่างชำนาญศิลป์

เหมือนนารินไร้โฉมบรรโลมสง่า

ใครใครเห็นไม่เป็นที่จำเริญตา

เขาจะพากันเย้ยให้อับอาย

 

ถอดความ ชาติใดก็ตามที่ไม่มีช่างฝีมือด้านศิลปะ ก็เหมือนผู้หญิงที่ไม่มีเสน่ห์ ไม่สวย ใครเห็นก็รู้สึกไม่ชอบและพากันดูถูกได้ว่าเป็นเมืองที่ไร้ศิลปะ

 

สรุปแนวคิดในตอนวิศวกรรมา

เป็นบทที่แสดงให้เห็นถึงคุณค่าของงานฝีมือและศิลปะว่ามีความสำคัญมาก เพราะศิลปะจะช่วยเยียวยาจิตใจ ให้ความเพลิดเพลิน บำรุงประเทศให้งดงาม และนอกจากนี้ยังส่งเสริมให้คนไทยภาคภูมิใจและสนับสนุนงานศิลปะ เพราะนอกจากจะช่วยพัฒนาฝีมือช่างไทยแล้วยังเป็นการพัฒนาชาติให้เจริญรุ่งเรืองอีกด้วย

 

บทเสภาสามัคคีเสวก ตอน สามัคคีเสวก

 

บทเสภาสามัคคีเสวกแต่งขึ้นด้วยคำประพันธ์ชนิดใด
บทเสภาสามัคคีเสวกแต่งขึ้นด้วยคำประพันธ์ชนิดใด

 

มีทั้งหมด 9 บท มุ่งเน้นที่จะสอนข้าราชการให้จงรักภักดีและทำงานอย่างขยันขันแข็งเพื่อให้ประเทศเจริญก้าวหน้า

 

บทประพันธ์เด่น

 

ประการหนึ่งพึงคิดในจิตมั่น

ว่าทรงธรรม์เหมือนบิดาบังเกิดหัว

ควรเคารพยำเยงและเกรงกลัว

ประโยชน์ตัวนึกน้อยหน่อยจะดี

ควรนึกว่าบรรดาข้าพระบาท

ล้วนเป็นราชบริพารพระทรงศรี

เหมือนลูกเรืออยู่ในกลางหว่างวารี

จำต้องมีมิตรจิตรสนิทกัน

 

ถอดความ พระมหากษัตริย์เปรียบเหมือนบิดาที่ควรเคารพ และสอนให้ข้าราชการนึกถึงประโยชน์ส่วนรวมมากกว่าส่วนตัว นอกจากนี้ยังเปรียบเทียบให้เห็นภาพชัดเจนอีกด้วยว่าข้าราชการเหมือนลูกเรือกะลาสี เรือเปรียบเหมือนประเทศชาติ

 

แม้ลูกเรือเชื่อถือผู้เป็นนาย

ต้องมุ่งหมายช่วยแรงโดยแข็งขัน

คอยตั้งใจฟังบังคับกัปปิตัน

นาวานั้นจึ่งจะรอดตลอดทะเล

 

ถอดความ ข้าราชการที่เหมือนลูกเรือ ต้องสามัคคี ร่วมแรงร่วมใจ และตั้งใจฟังกัปตันหรือก็คือพระมหากษัตริย์เพื่อพาประเทศชาติอยู่รอดปลอดภัยไปตลอดรอดฝั่งได้

 

แม้ต่างคนต่างเถียงเกี่ยงแก่งแย่ง

นายเรือจะเอาแรงมาแต่ไหน

แม้ไม่ถือเคร่งคงตรงวินัย

เมื่อถึงคราวพายุใหญ่จะครวญคราง

 

ถอดความ สื่อถึงว่าหากลูกเรือหรือบรรดาข้าราชการแตกคอกัน แม้แต่พระมหากษัตริย์เองก็สู้ไม่ไหว และถ้าหากเกิดเรื่องไม่ดีก็อาจจะทำให้ประเทศเดือดร้อนได้

 

ไม่ควรเลือกที่รักมักที่ชัง

สามัคคีเป็นกำลังพลังศรี

ควรปรองดองในหมู่ราชเสวี

ให้สมที่ร่วมพระเจ้าเราองค์เดียว

 

ถอดความ เป็นการสอนให้ข้าราชการไม่ลำเอียง ไม่เลือกที่รักมักที่ชัง วางตัวเป็นกลาง และควรปรองดองกันในหมู่ราชการ สามัคคีกัน

 

สรุปแนวคิดที่ในตอนสามัคคีเสวก

เป็นบทที่มุ่งเน้นสอนข้าราชการเกี่ยวกับการทำงาน ความซื่อสัตย์ ให้นึกถึงประโยชน์ส่วนรวม เคร่งครัดในระเบียบวินัย มีความจงรักภักดีและสามัคคีปรองดองกัน

 

สิ่งที่ทำให้กลอนเสภาเรื่องนี้แตกต่างจากบทเสภาทั่วไป คือการอัดแน่นไปด้วยแนวคิดมากกว่าจะเล่าเรื่องราว เรียกได้ว่าเป็นวรรณคดีที่เปี่ยมไปด้วยความรู้และข้อคิดมากมายเลยค่ะ และเพื่อให้น้อง ๆ ได้ทำความเข้าใจกันมากขึ้น ก็สามารถตามไปดูคลิปการสอนย้อนหลังของครูอุ้ม ในคลิปครูอุ้มจะอธิบายตัวบทเด่น ๆ และยังมีคำศัพท์น่ารู้อีกมากมายเลยค่ะ ไปดูพร้อม ๆ กันเลยค่ะ

 

ตอน สามัคคีเสวก

อย่าพลาดการติดตามบทความภาษาไทยใหม่ๆ ได้ใน nockacademy

NockAcademy คือโรงเรียนออนไลน์สำหรับเด็ก โดยแอปฯ และเว็บไซต์ นักเรียนสามารถเรียนรู้ผ่านคลิปบทเรียนวิชา คณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ และภาษาไทย
มากไปกว่านั้น เรายังมีคอร์สเรียนออนไลน์ การสอนพิเศษ การติวนอกสถานที่โดยติวเตอร์ที่แน่นไปด้วยความรู้ อีกด้วย

บทเสภาสามัคคีเสวกแต่งขึ้นด้วยคำประพันธ์ชนิดใด
บทเสภาสามัคคีเสวกแต่งขึ้นด้วยคำประพันธ์ชนิดใด

บทเสภาสามัคคีเสวกแต่งขึ้นด้วยคำประพันธ์ชนิดใด
บทเสภาสามัคคีเสวกแต่งขึ้นด้วยคำประพันธ์ชนิดใด

แค่ 10 นาที ก็เข้าใจได้

สามารถดูคลิปบทเรียนวิชา คณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ และภาษาไทย ที่มีมากกว่า 2,000+ คลิป และยังสามารถทำแบบทดสอบที่มีมากกว่า 4000+ ข้อ

ดูคลิป

แนะนำ

แชร์

บทเสภาสามัคคีเสวกแต่งขึ้นด้วยคำประพันธ์ชนิดใด
บทเสภาสามัคคีเสวกแต่งขึ้นด้วยคำประพันธ์ชนิดใด

การใช้ Imperative for Advice

สวัสดีค่ะนักเรียนชั้น ม.2 ที่น่ารักทุกคน วันนี้ครูจะพาเรียนรู้เกี่ยวกับ “การใช้ Imperative for Advice หรือ การใช้ประโยคแนะนำในภาษาอังกฤษ”กันค่ะ พร้อมแล้วก็ไปลุยกันเลยจร้า ประโยคแนะนำที่เจอบ่อย (Imperative for advice) คำศัพท์น่าสนใจ Advice (Noun): คำแนะนำ Advise (Verb): แนะนำ ประโยคคำแนะนำ ส่วนใหญ่แล้วจะเจอในรูปแบบของประโยคบอกเล่า ซึ่งจะมีความหมายในทางเสนอแนะ

บทเสภาสามัคคีเสวกแต่งขึ้นด้วยคำประพันธ์ชนิดใด
บทเสภาสามัคคีเสวกแต่งขึ้นด้วยคำประพันธ์ชนิดใด

Finite and Non- Finite Verb

Hi guys! สวัสดีค่ะนักเรียนชั้นม.6 ทุกคน วันนี้ครูจะพาไปทบทวนการใช้ “Finite and Non- Finite Verb” ในภาษาอังกฤษกันจร้า ถ้าพร้อมแล้วก็ไปลุยกันโลดจร้า   คำเตือน: การเรียนเรื่องนี้จะทำให้นักเรียนมึนงงได้หากว่าพื้นฐานเรื่อง Part of speech, Subject , Tense, Voice และ Mood ของเราไม่แน่น

บทเสภาสามัคคีเสวกแต่งขึ้นด้วยคำประพันธ์ชนิดใด
บทเสภาสามัคคีเสวกแต่งขึ้นด้วยคำประพันธ์ชนิดใด

โจทย์ปัญหาการวัด ม.2

ในบทความนี้เราจะได้เรียนรู้ตัวอย่างโจทย์การแปลงหน่วย และหาพื้นที่ของรูปเรขาคณิตต่างๆ พร้อมทั้งเรียนรู้การใช้สูตรที่เร็วขึ้น

บทเสภาสามัคคีเสวกแต่งขึ้นด้วยคำประพันธ์ชนิดใด
บทเสภาสามัคคีเสวกแต่งขึ้นด้วยคำประพันธ์ชนิดใด

สามเหลี่ยมที่เท่ากันทุกประการแบบ ด้าน-ด้าน-ด้าน

ในบทความนี้จะกล่าวถึงหลักการของการพิสูจน์ความเท่ากันทุกประการของสามเหลี่ยมแบบ ด้าน-ด้าน-ด้าน

บทเสภาสามัคคีเสวกแต่งขึ้นด้วยคำประพันธ์ชนิดใด
บทเสภาสามัคคีเสวกแต่งขึ้นด้วยคำประพันธ์ชนิดใด

การบรรยายตนเอง + Present Simple

สวัสดีนักเรียนชั้นม.2 ที่น่ารักทุกคน วันนี้เราจะไปดูวิธีการบอกข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับตัวเราในภาษาอังกฤษกันค่ะ ได้แก่ “ การบรรยายตนเอง + Present Simple “ พร้อมทั้งตัวอย่างสถานการณ์ใกล้ตัวกันค่ะ ไปลุยกันเลย   ทบทวน Present Simple Tense     ความหมาย: Present แปลว่า ปัจจุบัน ดังนั้น Present

บทเสภาสามัคคีเสวกแต่งขึ้นด้วยคำประพันธ์ชนิดใด
บทเสภาสามัคคีเสวกแต่งขึ้นด้วยคำประพันธ์ชนิดใด

Be Able To คืออะไร? ต่างจาก ‘can’ ‘could’ อย่างไร?

สวัสดีน้องๆ ม. 6 ทุกคนนะครับ วันนี้เราจะมาเรียนรู้เกี่ยวกับเรื่อง ‘be able to’ ในภาษาอังกฤษ จะเป็นอย่างไรนั้นเราลองไปดูกันเลยครับ