จุดเริ่มต้นที่สำคัญของการแก้ปัญหา คือข้อใด

สิ่งสำคัญอันดับแรกในการจะแก้ปัญหาให้ได้ผล นั้น คือการยอมรับว่าปัญหาว่าเป็นปัญหา งงมั้ย หากงง อ่านใหม่  หากยังไม่เข้าใจอีกให้อ่านใหม่อีก สำคัญนะข้อนี้

2. กำจัดขอบเขตของปัญหา

คือการหาให้เจอว่าปัญหานั้นคืออะไร มีมากน้อยขนาดไหน เป็นปัญหาเล็ก ปัญหาใหญ่ เกิดบ่อยหรือนานๆเกิดที ปํญหาเล็กปัญหาใหญ่มีวิธีการแก้ไม่เหมือนกัน

3. กำหนดทางเลือกในการแก้ปัญหา

การมองหาทางออก วิธีที่จะใช้ในการแก้ปัญหา มีหลากหลาย บางวิธีแก้ระยะสั้น บางวิธีเป็นการแก้ระยะยาว

4. การลงมือทำตามแผน

ลงมือทำตามแผนที่วางไว้จริง เปรียบเหมือนการที่หมอจ่ายยาแล้วไม่กินยาตามสั่ง  ประเด็นคือเราจะไม่รู้ว่าอะไรคือปัญหา ไม่เกิดปัญญาในการเรียนรุ้ว่าแนวทางในการแก้ปัญหาคืออะไร

5. การติดตาม

การติดตามผลตอบรับและผลลัพธ์ที่ได้จากการแก้ไข ปัญหาเป็นเรื่องสำคัญ บางปัญหามีผลกระทบจากวิธีการแก้ มีปัญหาบานปลาย มีปัญหาข้างเคียง เพื่อหาทางเลือกอื่นๆในการแก้ปัญหาได้ตรงจุด

1. การใช้กระบวนการแก้ปัญหามีประโยชน์อย่างไร 1. สามารถแก้ไขปัญหาได้อย่างเป็นระบบ 2. สามารถแก้ไขปัญหาได้ด้วยตนเอง 3. สามารถแก้ไขปัญหาได้ทุกอย่าง 4. สามารถสร้างเงื่อนไขในการแก้ปัญหาของตนเองได้ 2. กระบวนการแก้ปัญหาจะต้องเริ่มจากขั้นตอนใดเป็นขั้นตอนแรก 1. ดำเนินการแก้ไข 2. วางแผนการแก้ปัญหา 3. ตรวจสอบและปรับปรุง 4. วิเคราะห์และกำหนดรายละเอียดของปัญหา 3. ข้อใดคือรูปแบบของการระบุข้อมูลออก 1. การพิจารณาข้อมูลและเงื่อนไขที่กำหนดมาในปัญหา 2. การพิจารณาเป้าหมายหรือสิ่งที่ต้องการหาคำตอบ 3. การพิจารณาขั้นตอนวิธีการได้มาซึ่งคำตอบหรือข้อมูลออก 4. ไม่มีข้อใดถูก 4. ขั้นตอนต่อไปนี้ เป็นขั้นตอนที่ต้องดำเนินการอย่างระเอียดและต้องมีการวางแผนอย่างถูกวิธี 1. ดำเนินการแก้ปัญหา 2. เลือกเครื่องมือและออกแบบขั้นตอนวิธี 3. ตรวจสอบและปรับปรุง 4. วิเคราะห์และกำหนดรายละเอียดของปัญหา 5. จงเรียงลำดับขั้นตอนการแก้ปัญหาให้ถูกต้อง 1. วิเคราะห์  -->  ดำเนินการ  -->  ตรวจสอบ   -->  วางแผน 2. วิเคราะห์   -->  วางแผน  -->  ดำเนินการ  -->  ตรวจสอบ 3. วางแผน  -->  วิเคราะห์  -->  ตรวจสอบ  -->  ดำเนินการ 4. วางแผน  -->  วิเคราะห์  -->  ตรวจสอบ  -->  ปรับปรุง 6. ข้อใดคือปัจจัยหลักที่ทำให้การวางแผน ในการแก้ปัญหาของแต่ละบุคคลมีความแตกต่างกัน 1. โชคชะตา 2. ความรู้และประสบการณ์ 3. อาชีพ 4. ตำแหน่งงาน 7. อัลกอริทึม (Algorithm) หมายถึงอะไร 1. การจำลองความคิดเพื่อวางแผนขั้นตอนในการแก้ปัญหาทางคอมพิวเตอร์ 2. กระบวนการใช้ภาษาคอมพิวเตอร์เพื่อกำหนดโครงสร้างของข้อมูล 3. ลักษณะของปัญหา ความถนัดของผู้เขียนโปรแกรม 4. โครงสร้างแสดงขั้นตอนการทำงานที่เป็นไปตามลำดับก่อนหลัง 8.   
จุดเริ่มต้นที่สำคัญของการแก้ปัญหา คือข้อใด
  จากรูป คือ สัญลักษณ์ ที่มีความหมายว่าอย่างไร 1. การแสดงข้อมูล 2. การทำเอกสาร 3. การเตรียมการ 4. การปฏิบัติงาน

9 – 10 จากข้อความต่อไปนี้ใช้ตอบคำถามข้อ 9 – 10
“ หากนักเรียนลืมเอาสมุดการบ้านกลับมา  นักเรียนมีวิธีแก้ปัญหาอย่างไร”

9. จากประโยคข้างต้น  ข้อใดคือขั้นตอนการวิเคราะห์ปัญหา

1. นักเรียนทำการบ้านและนำสมุดมาโรงเรียน 2. นักเรียนจะไปทำการบ้านที่โรงเรียน 3. นักเรียนลืมเอาสมุดการบ้านมา 4. นักเรียนทำการบ้านเสร็จแล้ว 10. ข้อใดคือขั้นตอนของการวางแผน 1.นักเรียนทำการบ้านเสร็จแล้ว 2.นักเรียนลงมือทำการบ้านที่โรงเรียน 3.นักเรียนโดนครูทำโทษ 4.นักเรียนจะไปทำการบ้านที่โรงเรียน 11. เหตุใดเราจึงต้องพัฒนาหน่วยงาน ทางด้านเทคโนโลยีภายในองค์กร 1. เพราะการขยายตัวและการเปลี่ยนแปลงของโลก 2. เพราะเทคโนโลยีคือส่วนหนึ่งในชีวิต 3. เพิ่มความสามารถในการทำงานขององค์กร 4. ถูกทุกข้อ 12. ข้อใดไม่ใช่ขั้นตอนการแก้ปัญหา 1. การแจ้งปัญหาให้ผู้ดูแลตรวจสอบปรับปรุงระบบ 2. การวิเคราะห์และกำหนดรายละเอียดของปัญหา 3. การเลือกเครื่องมือและออกแบบขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหา 4. การดำเนินการแก้ปัญหา 13. State the Problem การวิเคราะห์และกำหนดรายละเอียดของปัญหา ตรงกับข้อใด 1. เป็นการเลือกเครื่องมือและออกแบบขั้นตอนวิธี 2. เป็นการตรวจสอบและปรับปรุง 3. เป็นการทำความเข้าใจกับปัญหาเพื่อแยกข้อมูลออกมา 4. เป็นการลงมือดำเนินการแก้ปัญหา 14. Tools and Algorithm Development ตรงกับข้อใด 1. การตรวจสอบและปรับปรุง 2. การวิเคราะห์และกำหนดรายละเอียดของปัญหา 3. การเลือกเครื่องมือและออกแบบขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหา 4. การดำเนินการแก้ปัญหา
15. Refinement การตรวจสอบและปรับปรุง ตรงกับข้อใด 1. เป็นการลงมือดำเนินการแก้ปัญหา 2. หลังจากที่ลงมือแก้ปัญหาแล้ว ต้องตรวจสอบให้แน่ใจ 3. เป็นการทำความเข้าใจกับปัญหา 4. เป็นการเลือกเครื่องมือและออกแบบขั้นตอนวิธี 16. ความหมายของอัลกอริทึม ตรงกับข้อใด 1. เป็นส่วนหนึ่งในขั้นตอนการพัฒนาระบบ 2. เป็นการวางแผนงาน การแก้ปัญหา 3.  เป็นการจำลองความคิดเป็นข้อความหรือคำบรรยาย 4. ถูกทุกข้อ 17. จุดประสงค์การเขียนอัลกอริทึม คือข้อใด 1. เพื่อจัดลำดับขั้นตอนการแก้ไขปัญหาของโปรแกรม 2. เพื่อให้ทุกคนได้มีตัวเลือกในการใช้โปรแกรม 3. เพื่อเป็นตัวเลือกของการตัดสินใจของผู้บริหาร 4. เพื่อให้ป้องกันการ Copy โปรแกรม 18. รูปแบบการเขียนอัลกอริทึม มีทั้งหมด 2 รูปแบบ ตรงกับข้อใด 1. ตรง (Straight) , โค้ง (Curve) 2. ง่าย (Easy) , ยาก (Difficult) 3. อย่างละเอียด (Refinement) , อย่างหยาบ (Decomposition) 4. น้อย (Little) , มาก (Very) 19. การจำลองความคิดเป็นสัญลักษณ์หรือผังงาน คือข้อใด 1. การเขียน Dictionary 2. การเขียน Flowchart 3. การเขียน Applications 4. การเขียน Software 20. การเขียน Flowchart มีความหมายตรงกับข้อใด 1.   การเลือกเครื่องมือและออกแบบขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหา 2. การดำเนินการแก้ปัญหาโดยคำพูด 3. การแสดงการทำงานของคอมพิวเตอร์ 4. การใช้รูปภาพหรือสัญลักษณ์ ที่ใช้เขียนแทนคำอธิบาย 21. ผังงาน (Flowchart) สามารถแบ่งได้เป็น 2 ประเภทดังนี้ 1. ผังงานระบบ , ผังงานโปรแกรม 2. ผังงานระบบ , ผังงานแสดงผล 3. ผังงานโปรแกรม , ผังงานแสดงผล 4. ผังงานแสดงผล , ผังงานโปรแกรม 22. ข้อจำกัดในการเขียนผังงาน (Flowchart) คือข้อใด 1. งานที่ไม่มีความซับซ้อน 2. งานที่มีความซับซ้อน 3. งานที่มีความยากง่ายปะปนกัน 4. ผิดทุกข้อ 23. การเขียนผังงาน (Flowchart) ที่ดี ตรงกับข้อใด 1. มีความซับซ้อน 2. มีความเป็นเชื่อมโยงที่หลากหลาย 3. การนำข้อความต่อเรียงกันให้เกิดความซับซ้อน 4. มีความเป็นระเบียบเรียบร้อยเข้าใจง่าย 24. สรุปแล้วการเขียนผังงาน (Flowchart) คือข้อใด 1. การอธิบายโปรแกรมด้วยคำพูด 2. การอธิบายโปรแกรมด้วยตัวหนังสือ 3. การนำรูปภาพมาต่อเรียงกันให้เกิดความเข้าใจ 4. การเขียนเว็บไซต์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ 25. ประโยชน์ของการเขียน ผังงาน (Flowchart) คือข้อใด 1. ทำให้เข้าใจและแยกแยะปัญหาต่าง ๆ ได้ง่ายขึ้น 2. สามารถหาข้อผิดพลาดของโปรแกรมได้ง่าย 3. ผู้เขียนโปรแกรมมองเห็นลำดับการทำงาน 4. ถูกทุกข้อ 26. ข้อใดอธิบายความหมายของผังงานได้ถูกต้อง 1. แผนภูมิแสดงการเปรียบเทียบการทำงานโปรแกรม 2. แผนภาพแสดงการทำงานของระบบหรือโปรแกรม 3. แผนงานแสดงลำดับขั้นตอนของระบบงานคอมพิวเตอร์ 4. แผนผังแสดงการทำงานภายในระบบคอมพิวเตอร์ 27. ลักษณะของโครงสร้างผังงานมีกี่โครงสร้าง อะไรบ้าง 1. 2 โครงสร้าง คือ การทำงานแบบลำดับ และแบบทางเลือก 2. 2 โครงสร้าง คือ การทำงานแบบลำดับ และแบบวนซ้ำ 3. 3 โครงสร้าง คือ การงานแบบลำดับ แบบทางเลือกและแบบวนซ้ำ 4. 3 โครงสร้าง คือ การทำงานแบบลำดับ แบบทางเลือก และแบบทำในขณะที่ 28. ข้อใดไม่ใช่ประโยชน์ของผังงาน 1. ช่วยลำดับขั้นตอนการทำงานได้ง่าย ไม่สับสน
2. ไม่สามารถตรวจสอบได้ และแก้ไขงานได้ยาก 3. ช่วยให้การดัดแปลง แก้ไข ทำได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว 4. สามารถเรียนรู้และเข้าใจผังงานได้ง่าย 29. ข้อใดเป็นวิธีการเขียนผังงานที่ดี 1. คำอธิบายในภาพจะยาวหรือสั้นก็ได้
2. ทุกแผนภาพไม่ต้องมีลูกศรแสดงทิศทางเข้า – ออก 3. ไม่ควรโยงเส้นเชื่อมผังงานที่อยู่ไกลมาก ๆ ได้ 4. ใช้ลูกศรแสดงทิศทางการไหลของข้อมูลจากล่างไปบน หรือจากขวาไปซ้าย  30. การแสดงผลข้อมูลออกทางเครื่องพิมพ์คือสัญลักษณ์ในข้อใด 1. Decision
2. Manual Input 3. Process 4. Display 31. สัญลักษณ์ Connect คือสัญลักษณ์อะไร 1. แสดงการประมวล
2. แสดงจุดเชื่อมต่อในหน้าเดียวกัน 3. แสดงจุดเริ่มต้นการทำงาน 4. แสดงการรับข้อมูลเข้า 32. สัญลักษณ์ Process คือสัญลักษณ์อะไร 1. แสดงจุดเริ่มต้นการทำงาน
2. แสดงการรับข้อมูลเข้า 3. แสดงการประมวล 4. แสดงการตัดสินใจ 33. การเขียนผังงานโปรแกรมต้องเริ่มด้วยสัญลักษณ์ในข้อใด 1. Manual Input
2. Process 3. Data 4. Terminator 34. สัญลักษณ์ในข้อใด สามารถมีเพียงสัญลักษณ์เดียวเท่านั้นในผังงาน 1. การตัดสินใจ
2. การประมวลผล  3. การรับค่าข้อมูล 4. จุดสิ้นสุดของผังงาน 35. ผังงานประกอบด้วยอะไรบ้าง  1. ผังงานโปรแกรม 2. ผังงานระบบ 3. เส้นและและสัญลักษณ์รูปต่างๆ  4. ตัวเลข 36. หลักในการเขียนผังงาน มีกี่ขั้นตอน อะไรบ้าง  1. 1 ขั้นตอน การประมวลผล 2.  2 ขั้นตอน การรับ การส่งข้อมูล 3. 3 ขั้นตอน การรับข้อมูล การประมวลผล การแสดงผลลัพธ์  4. 4 ขั้นตอน การรับข้อมูล การส่งข้อมูล การประมวลผล การแสดงผล 37. ข้อใดไม่ใช่ลักษณะของหลักในการเขียนผังงาน 1. การรับข้อมูล 2. การส่งข้อมูล 3. การประมวลผล 4. การแสดงผลรับ 38. ผังงานแบ่งออกได้ 2 ประเภท ได้แก่อะไรบ้าง 1. ผังงานระบบ ผังงานวงจร 2. ผังงานโปรแกรม ผังงานระบบ 3. ผังงานโปรแกรม ผังงานวงจร 4. ผังงานวงจร ผังงานเชื่อมโยง 39. ประโยชน์ของผังคือข้อใด 1. เข้าใจและแยกแยะของปัญหา และสามารถนำไปแก้ไขได้ 2. สามารถหาข้อบกพร่องและข้อผิดพลาดของคอมพิวเตอร์ได้ง่าย 3. ทำให้โปรแกรมเป็นทีนิยม 4. ไม่ขึ้นอยู่ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาใดภาษาหนึ่ง 40. ข้อใดไม่ใช่รูปแบบของผังงาน 1. รูปแบบเรียงลำดับ 2. รูปแบบเงื่อนไข 3. รูปแบบวนรอบ 4. รูปแบบขั้นบันได