ข้อใดคือลักษณะของสังคมไทยแบบเมือง

24. ในอดีตสถาบันใด ทำหน้าที่โดยตรงในการให้การศึกษาอบรมสมาชิกเกี่ยวกับความรู้ความเชื่อ   ระเบียบ   กฎเกณฑ์และถ่ายทอดวัฒนธรรม

ก. ครอบครัว

ข. โรงเรียน

ค. ศาสนา

ง. สื่อมวลชน

25. สิ่งสำคัญที่กำกับบทบาทของแต่ละคนคืออะไร

ก. สิทธิและตำแหน่ง

ข. หน้าที่และความรับผิดชอบ

ค. ความเสมอภาคและระเบียบข้อบังคับ

ง. ศาสนาเละกฎหมาย

26. ข้อใดคือสิ่งกำหนดบทบาทและหน้าที่ของแต่ละบุคคล

ก. กฎหมาย

ข. ศาสนา

ค. ขนบธรรมเนียมประเพณี

ง. กฎหมาย  ศาสนา  ขนบธรรมเนียมประเพณี  และความรู้สึกนึกคิดของบุคคล

27. ข้อใดคือหน้าที่ของบุตรที่มีต่อบิดามารดา

ก.  ให้การศึกษา

ข. ให้ความเคารพนับถือ และเชื่อฟังคำสั่งสอน

ค. รักใคร่ปรองดอง

ง. ช่วยเหลือกันไม่ทอดทิ้งกัน

28.  ข้อใดมิใช่พฤติกรรมที่แสดงว่า   บิดา   มารดา   มีสิทธิเหนือบุตร

ก.  ทำโทษบุตรพอสมควร

ข. การมีสิทธิตัดสินใจแทนทุกเรื่องแม้ว่าบุตรจะบรรลุนิติภาวะแล้ว

ค. การกำหนดที่อยู่ของบุตร

ง. การให้บุตรทำงานตามความสามารถ

29. หน้าที่ตามกำหนดในรัฐธรรมนูญมีลักษณะตรงกับข้อใดมากที่สุด

ก. เป็นการบังคับให้ต้องปฏิบัติและมีบทลงโทษ

ข. เป็นการกำหนดหน้าที่ตามตำแหน่ง  หากเกิดความเสียหายย่อมมีความผิด

ค. เป็นข้อเรียกร้องหรือกำหนดขึ้นเพื่อจูงใจให้พลเมืองปฏิบัติ

ง. เป็นข้อควรปฏิบัติ ถ้ไม่ปฏิบัติย่อมถูกตำหนิติเตียนและถือเป็นลหุโทษ

30. หน้าที่ในข้อใดมีระบุไว้ในรัฐธรรมนูญแต่ไม่มีสภาพบังคับ

ก.  การศึกษาภาคบังคับ

ข. การไปใช้สิทธิเลือกตั้ง

ค. การเสียภาษีอากร

ง. การรับข้าราชการทหาร

31. ข้อใดมิใช่หน้าที่ที่ต้องปฏิบัติตามกฎหมายรัฐธรรมนูญ

ก. การเคารพกฎหมาย

ข. การเสียภาษีอากร

ค. การป้องกันรัฐธรรมนูญ

ง. การเคารพเชื่อฟังเจ้าหน้าที่ของทางราชการ

32. ข้อใดมิใช่จุดมุ่งหมายของการกำหนดสิทธิและหน้าที่ของพลเมือง

ก. เพื่อป้องกันการเอารัดเอาเปรียบ

ข.เพื่อการส่งเสริมช่วยเหลือเกื้อกูลกัน

ค.เพื่อให้โอกาสบุคคลได้มีอิสระในการดำรงชีวิต

ง. เพื่อการอยู่ร่วมกันเป็นระเบียบแบบแผน

33. อะไรเป็นเครื่องมือของรัฐที่ทำให้บุคคลต้องปฏิบัติหน้าที่พลเมืองโดยไม่บิดพลิ้ว

ก. การฝึกฝนอบรมให้บุคคลรู้จักหน้าที่

ข. การมีความผิดถูกลงโทษตามกฎหมาย

ค. การยกย่องชมเชย

ง. การฝึกให้คุ้นเคย

34. ในฐานะที่เป็นนักเรียน   พฤติกรรมใดแสดงให้เห็นว่าได้ช่วยเหลือทางราชการ

ก.  การแจ้งเจ้าหน้าที่เมื่อพบเห็นสิ่งที่เป็นภัยแก่บ้านเมือง

ข. การเสียภาษีอากร

ค. การรับราชการทหาร

ง. การไปใช้สิทธิเลือกตั้ง

35. วิธีการใดแสดงให้เห็นว่าเป็นการให้ความร่วมมือได้เหมาะสมที่สุดแก่ประเทศชาติ

ก. การศึกษาเล่าเรียนตามโอกาส

ข. การบริจาคทรัพย์แก่หน่วยงานราชการ

ค.การทำตัวเป็นพลเมืองที่ดี

ง. การประกอบอาชีพสุจริต

36. หน้าที่ในข้อใดมีส่วนช่วยให้รัฐบาลมีรายได้ไปใช้จ่ายในการพัฒนาประเทศ

ก. การรับราชการทหาร

ข. การเสียภาษีอากร

ค.  การไปใช้สิทธิเลือกตั้ง

ง. การเคารพกฎหมาย

37. ข้อใดมิใช่บทบาทหน้าที่ของสมาชิกต่อชุมชน

ก. รักในชุมชน

ข.  ปฏิบัติตามขนบธรรมเนียม

ค. การเห็นแก่ประโยชน์ส่วนตัว

ง. รักษาสาธารณสมบัติ

38. การที่คนไทยยึดถือปฏิบัติระบบอาวุโสมีผลทำให้คนไทยมีลักษณะนิสัยเป็นอย่างไร

ก. กล้าคิด

ข. มีความสุภาพ

ค. ร่าเริง

ง. เคร่งครัด

39. การเพิ่มประชากรของประเทศไทย   ในปัจจุบันมีลักษณะตรงกับข้อใด

ก. อัตราการเกิดและการตายสูง

ข. อัตราการเกิดสูง  อัตราการตายต่ำ

ค. อัตราการเกิดต่ำ  อัตราการตายสูง

ง. อัตราการตายและการเกิดต่ำ

40. การเปลี่ยนแปลงของประชากรกรไทยในด้านใดที่เห็นได้ชัดเจนที่สุด

ก. จำนวนประชากร

ข. คุณภาพประชากร

ค. การกระจายประชากร

ง. ความหนาแน่นของประชากร

41. การที่ประชากรจกภูมิภาคต่างๆ อพยพย้ายถิ่นเข้าสู้กรุงเทพก่อให้เกิดปัญหาในด้านใดมากที่สุด

ก. ปัญหาการศึกษา

ข. ปัญหาสุขภาพอนามัย

ค. ปัญหาคุณธรรม

ง. ปัญหาชุมชนแออัด

42.  ประชากรวัยพึ่งพิง   หมายถึงข้อใด

ก.  ผู้พิการ

ข. วัยเด็กและวัยชรา

ค. วัยศึกษาเล่าเรียน

ง. เด็กทารกและผู้พิการ

43. ประชากรในกลุ่มใดมีอัตราการย้ายถิ่นมากที่สุด

ก. คนชรา

ข.เด็กวัยเรียน

ค. สตรีวัยเจริญพันธุ

ง. ผู้อยู่ในวัยหนุ่มสาว

44. การอนุรักษ์วัฒนธรรมและประเพณีของชาติตามที่บรรพบุรุษไทยได้สร้างสรรค์และสั่งสมความเจริญเอาไว้   เป็นหน้าที่ของใคร

ก. คนไทยทุกคน

ข. ชาวพุทธทุกคน

ค. เจ้าหน้าที่ราชการ

ง. หมอรำ

45. พระมหากษัตริย์ในระบอบประชาธิปไตยทรงมีฐานะอย่างไร

ก. เป็นผู้บริหารประเทศ

ข. เป็นประมุข

ค. เป็นผู้ตรากฎหมาย

ง. เป็นทั้งผู้บิหารและประมุขของประเทศ

46. ข้อใดไม่จัดว่าเป็นกระบวนการประชาธิปไตย

ก. การโต้เถียง

ข. การใช้กำลังแก้ปัญหา

ค. การแสดงความคิดเห็น

ง. การออกเสียงเป็นประชามติ

47. เพื่อให้ความยุติธรรมในสังคม  ข้อใดที่สังคมไทยควรให้ความสำคัญต่อการพัฒนา

ก. รายได้

ข. อนามัย

ค. การศึกษา

ง. ที่อยู่

48. การที่ประชาชนละเลยไม่ปฏิบัติตามหน้าที่ในข้อใดที่กระทบกระเทือนถึงความมั่นคงของชาติ

ก. ไม่ไปเลือกตั้ง

ข. หลีกเลี่ยงการเสียภาษี  อากร

ค. ไม่เข้ารับการศึกษา

ง. หลี่กเลี่ยงการเป็นทหาร

49. ข้อใดเป็นองค์การบริหารส่วนท้องถิ่นในรูปแบบพิเศษ

ก.  เทศบาล

ข.  เมืองพัทยา

ค.  กรุงเทพมหานคร

ง.  ถูกทั้ง   ข  และ  ค

50. การแจ้งเหตุอันสมควรทีไม่อาจไปใช้สิทธิเลือกตั้งควรแจ้งภายในกี่วัน

ก.  1   วัน

ข.  7   วัน

ค.  15   วัน

ง.  30   วัน

51. ข้อใดกล่าวถึงการเลือกตั้งได้ถูกต้อง

ก. ก่อให้เกิดบูรณาการทางสังคม

ข. เหมาะสำหรับการปกครองทุกรูปแบบ

ค.เหมาะสำหรับการปกครองทุกรูปแบบ

ง.เป็นกลไกเชื่อมการเมืองกับประชาชน

52.  หากผู้มีสิทธิเลือกตั้งไม่ไปใช้สิทธิเลือกตั้งจะทำให้เสียสิทธิข้อใด

ก .สิทธิสมัครรับเลือกตั้ง

ข. สิทธิยื่นคำร้องคัดค้านการเลือกตั้ง

ค. สิทธิสมัครรับเป็นกำนันและผู้ใหญ่บ้าน

ง. ถูกทุกข้อ

53.  จุดประสงค์สำคัญที่สุดในการกำหนดให้การออกเสียงเลือกตั้งเป็นหน้าที่ของประชาชน

ก. เพื่อเป็นการให้การศึกษาทางการเมืองแก่ประชาชน

ข.  เพื่อให้ประชาชนมีความสนใจในเรื่องการเลือกตั้ง

ค. เพื่อให้ประชาชนมีส่วนร่วมทางการเมืองมากขึ้น

ง.เป็นหน้าที่ของประชาชนตามหลักการเลือกตั้ง

54. หน่วยงานใดไม่ใช่องค์การอิสระตามรัฐธรรมนูญในการตรวจสอบอำนาจรัฐ

ก.องค์การอัยการ

ข.  ผู้ตรวจการแผ่นดิน

ค. คณะกรรมการเลือกตั้ง

ง. คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน

55. บุคคลใดต่อไปนี้ไม่ถูกตรวจทรัพย์สิน

ก. นายกรัฐมนตรี

ข. ข้าราชการประจำ

ค. ข้าราชการการเมือง

ง. สมาชิกสภาผู้แทนราษฏร

56. ประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งจำนวนเท่าใดมีสิทธิ์เข้าชื่อร้องขอให้ถอดถอนบุคคลตามมาตรา 270 ออกจากตำแหน่งได้

ข้อใดเป็นลักษณะของสังคมไทย

ลักษณะทั่วไปของสังคมไทย สังคมไทย หมายถึง กลุ่มชนชาติที่อาศัยอยู่ร่วมกันในประเทศไทย มีขนบธรรมเนียมประเพณีแบบไทย มีเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมที่โดดเด่นต่างจากสังคมอื่น ได้แก่ ภาษาพูด ภาษาเขียน การแต่งกาย ความเชื่อ มารยาท อาหาร การดำเนินชีวิตที่มีพุทธศาสนาเป็นพื้นฐาน เป็นต้น

สังคมเมืองมีลักษณะอย่างไร

สังคมเมือง มีความสะดวกสบายในด้านการคมนาคมขนส่ง การสื่อสาร มากกว่าชนบท มีการพึ่งพาอาศัยกันน้อยกว่าในชนบท เพราะสามารถพึ่งตนเองได้ ชาวเมืองมีส่วนร่วมในกิจกรรมทางศาสนา สังคม น้อยกว่าชนบท มีการแบ่งชนชั้นทางสังคมด้วยฐานะทางเศรษฐกิจ ตำแหน่งหน้าที่สูงกว่าชนบท มีสถาบันทางเศรษฐกิจสังคมตั้งอยู่มากกว่าชนบท

ลักษณะของค่านิยมของสังคมไทยมีอะไรบ้าง

ค่านิยมหลักของคนไทย 12 ประการ ตามนโยบายของ คสช..
มีความรักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์.
ซื่อสัตย์ เสียสละ อดทน มีอุดมการณ์ในสิ่งที่ดีงามเพื่อส่วนรวม.
กตัญญูต่อพ่อแม่ ผู้ปกครอง ครูบาอาจารย์.
ใฝ่หาความรู้ หมั่นศึกษาเล่าเรียนทั้งทางตรง และทางอ้อม.
รักษาวัฒนธรรมประเพณีไทยอันงดงาม.

ความเป็นไทยมีลักษณะรูปแบบสังคมอย่างไร

ลักษณะทั่วไปของสังคมไทย 1. ยึดถือพระมหากษัตริย์และนับถือพระพุทธศาสนา 2. มีโครงสร้างแบบหลวม ๆ ไม่ค่อยมีการรักษากฎเกณฑ์ระเบียบอย่างเคร่งครัด มีการผ่อนปรนใน เรื่องต่าง ๆ 3. เป็นสังคมเกษตรกรรม ประชากรมีชีวิตอยู่อย่างง่าย ๆ 4. ส่วนใหญ่ยึดถือขนบธรรมเนียมประเพณีเป็นหลัก

กระทู้ที่เกี่ยวข้อง

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

แปลภาษาไทย ไทยแปลอังกฤษ โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน lmyour แปลภาษา ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv แปลภาษาอาหรับ-ไทย แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip แอพแปลภาษาอาหรับเป็นไทย ค้นหา ประวัติ นามสกุล ห่อหมกฮวกไปฝากป้า หนังเต็มเรื่อง ไทยแปลอังกฤษ ประโยค Terjemahan เมอร์ซี่ อาร์สยาม ล่าสุด แปลภาษาจีน กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น ่้แปลภาษา Google Translate ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย พร บ ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 วิธีใช้มิเตอร์วัดไฟดิจิตอล สหกรณ์ออมทรัพย์กรมส่งเสริมการปกครอง ส่วนท้องถิ่น ห่อหมกฮวก แปลว่า Bahasa Thailand Thailand translate mu-x มือสอง รถบ้าน การวัดกระแสไฟฟ้า ด้วย แอมมิเตอร์ การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 4 ก่อนจะนิ่งก็ต้องกลิ้งมาก่อน เนื้อเพลง ก่อนจะนิ่งก็ต้องกลิ้งมาก่อน แคปชั่น พจนานุกรมศัพท์ทหาร ภูมิอากาศ มีอะไรบ้าง สถาบันพัฒนาบุคลากรท้องถิ่น อาจารย์ ตจต อเวนเจอร์ส ทั้งหมด เขียน อาหรับ แปลไทย ใบรับรอง กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน Google map Spirited Away 2 spirited away ดูได้ที่ไหน tor คือ จัดซื้อจัดจ้าง กินยาคุมกี่วัน ถึง ปล่อยในได้ ธาตุทองซาวด์เนื้อเพลง บช.สอท.ตำรวจไซเบอร์ ล่าสุด บบบย มิติวิญญาณมหัศจรรย์ ตอนจบ รหัสจังหวัด อําเภอ ตําบล ศัพท์ทางทหาร military words สอบ O หยน