อะไรคือส่วนที่สำคัญที่สุดของการนำเสนอ

ในยุคปัจจุบัน เมื่อเราพูดถึงการนำเสนอ เรามักจะนึกถึงการพรีเซนงานอะไรสักอย่างที่เป็นทางการ เช่น นำเสนอต่อที่สาธารณะ นำเสนอต่อหัวหน้า นำเสนออาจารย์ หรือนำเสนอสินค้าต่อลูกค้า จริงๆแล้ว เรานำเสนออยู่ตลอดเวลา ตั้งแต่คุณออกจากบ้านคุณเป็นคนเลือกนำเสนอตัวตนของคุณที่อยากให้โลกรับรู้ว่าคุณเป็นใคร แต่ในวันนี้เราจะนำเสนอหลักการและคุณสมบัติของการนำเสนอที่ถูกต้องที่ใครๆไม่ก็จะมือเก่าหรือมือใหม่ก็นำไปปรับใช้ได้ง่ายๆ ลองอ่านดูเลยครับ

ลักษณะการนำเสนอที่ดี

1.       มีวัตถุประสงค์ที่ชัดเจน

คุณต้องมีความต้องการที่แน่ชัดว่า  เสนอเพื่ออะไร  โดย ไม่ต้องให้ผู้รับรับการนำเสนอต้องถามว่าต้องการให้พิจารณาอะไร

2.       มีรูปแบบการนำเสนอเหมาะสม

คุณต้องมีความกระทัดรัดได้ใจความ  เรียงลำดับไม่สนใช้ภาษาเข้าใจง่าย  ใช้ตาราง  แผนภูมิ  แผนภาพ  ช่วยให้พิจารณาข้อมูลได้สะดวก

3.       เนื้อหาสาระดี  

คุณต้องมีความน่าเชื่อถือ  เที่ยงตรง  ถูกต้อง  สมบูรณ์ครบถ้วน ตรงตามความต้องการ  มีข้อมูลที่เป็นปัจจุบันทันสมัย  และมีเนื้อหาเพียงพอแก่การพิจารณา

4.       มีข้อเสนอที่ดี

คุณต้องมีข้อเสนอที่สมเหตูสมผล  มีข้อพิจารณาเปรียบเทียบ ทางเลือกที่เห็นได้ชัด  เสนอแนะแนวทางปฏิบัติที่ชัดเจน

คุณสมบัติของผู้นำเสนอ

ในการนำเสนอด้วยวาจา  คุณสมบัติอันเป็นลักษณะประจำตัวของผู้นำเสนอ  ถือได้ว่าเป็นส่วนสำคัญของความสำเร็จในการนำเสนอ  เพราะคุณสมบัติของผู้นำเสนอจะมีอิทธิพลต่อการโน้มน้าวชักจูงให้เกิดความสนใจ  ความไว้วางใจ  เชื่อถือ  และการยอมรับได้มาก  เท่ากับหรือมากกว่าเนื้อหาที่นำเสนอ ฉะนั่น คุณควรศึกษา 10 คุณสมบัติของผู้ที่ประสบความสำเร็จในการนำเสนอ ไปด้วย มีอะไรบ้างไปดูกันเลย

1.       มีบุคลิกดี

2.       มีความรู้อย่างถ่องแท้

3.       มีความน่าเชื่อถือไว้วางใจ

4.       มีความเชื่อมั่นในตนเอง

5.       มีภาพลักษณ์ที่ดี

6.       มีน้ำเสียงชัดเจน

7.       มีจิตวิทยาโน้นน้าวใจ

8.       มีความสามารถในการใช้โสตทัศนอุปกรณ์

9.       มีความช่างสังเกต

10.    มีไหวพริบปฏิภาณในการคำถามดี

และนี่คือ 10 คุณสมบัติของผู้ที่ประสบความสำเร็จในการนำเสนอ ผมเชื่อว่าเราทุกคนมีคุณสมบัติบางข้ออยู่แล้ว ฉะนั่นเพียงแค่เพิ่มอีกเพียงไม่กี่ข้อที่คุณยังขาดอยู่ ก็จะทำให้คุณกลายเป็นผู้นำเสนอที่ดีคนหนึ่งได้เลยครับ

ลักษณะการนำเสนอที่ดี

                        นอกจากการเลือกรูปแบบของการนำเสนอ  ให้ถูกต้องและเหมาะสมแล้ว  จะต้องคำนึงถึงลักษณะของการนำเสนอ  ที่จะช่วยให้บรรลุผลตามวัตถุประสงค์ของการนำเสนอด้วย  โดยทั่วไปลักษณะของการนำเสนอที่ดี  ควรมีดังต่อไปนี้

1.  มีวัตถุประสงค์ที่ชัดเจน  กล่าวคือ  มีความต้องการที่แน่ชัดว่า  เสนอเพื่ออะไร  โดยไม่ต้องให้ผู้รับรับการนำเสนอต้องถามว่าต้องการให้พิจารณาอะไร

2.  มีรูปแบบการนำเสนอเหมาะสม  กล่าวคือ  มีความกระทัดรัดได้ใจความ  เรียงลำดับไม่สนใช้ภาษาเข้าใจง่าย  ใช้ตาราง  แผนภูมิ  แผนภาพ  ช่วยให้พิจารณาข้อมูลได้สะดวก

3.  เนื้อหาสาระดี  กล่าวคือ  มีความน่าเชื่อถือ  เที่ยงตรง  ถูกต้อง  สมบูรณ์ครบถ้วน ตรงตามความต้องการ  มีข้อมูลที่เป็นปัจจุบันทันสมัย  และมีเนื้อหาเพียงพอแก่การพิจารณา

4.  มี ข้อเสนอที่ดี  กล่าวคือ  มีข้อเสนอที่สมเหตูสมผล  มีข้อพิจารณาเปรียบเทียบ ทางเลือกที่เห็นได้ชัด  เสนอแนะแนวทางปฏิบัติที่ชัดเจน             

                       คุณสมบัติของผู้นำเสนอ

                        ในการนำเสนอด้วยวาจา  คุณสมบัติอันเป็นลักษณะประจำตัวของผู้นำเสนอ  ถือได้ว่าเป็นส่วนสำคัญของความสำเร็จในการนำเสนอ  เพราะคุณสมบัติของผู้นำเสนอจะมีอิทธิพลต่อการโน้นน้าวชักจูงให้เกิดความสนใจ  ความไว้วางใจ  เชื่อถือ  และการยอมรับได้มาก  เท่ากับหรือมากกว่าเนื้อหาที่นำเสนอ

                       ผู้นำเสนอที่ประสพความสำเร็จส่วนใหญ่  จะมีคุณสมบัติดังต่อไปนี้

1.       มีบุคลิกดี

2.       มีความรู้อย่างถ่องแท้

3.       มีความน่าเชื่อถือไว้วางใจ

4.       มีความเชื่อมั่นในตนเอง

5.       มีภาพลักษณ์ที่ดี

6.       มีน้ำเสียงชัดเจน

7.       มีจิตวิทยาโน้นน้าวใจ

8.       มีความสามารถในการใช้โสตทัศนอุปกรณ์

9.       มีความช่างสังเกต

   10.     มีไหวพริบปฏิภาณในการคำถามดี

           การสร้างงานนำเสนอที่ดีต้องมีแบบแผน ต้องเตรียมการ ใช้ทั้งศาสตร์และศิลป์ เริ่มต้นจากจุดประสงค์ในการนำเสนอ ว่าจะนำเสนอเรื่องอะไร ใครเป็นผู้รับฟัง มีกลุ่มเป้าหมายกี่ท่าน ใช้อุปกรณ์ใดในการนำเสนอ ฯลฯ สิ่งสำคัญที่ขาดไม่ได้คือ ต้องมีระบบตรวจสอบการรับฟังว่าผู้ฟังมีความเข้าใจถูกต้องตรงกับที่เราเสนอ เพียงใด
          ขั้นตอนการสร้างงานนำเสนอไม่มีหลักเกณฑ์ที่แน่นอนตายตัว จากประสบการณ์ของผู้เขียนพบว่าหากเราจัดเตรียมงานเสนออย่างรัดกุม โดยอยู่ในกรอบแบบแผนที่วางไว้ งานนำเสนอจะออกมาดีแน่นอน
          ต่อไปนี้เป็นขั้นตอนการเตรียมงานนำเสนออย่างคร่าวๆซึ่งผู้อ่านสามารถนำไปใช้ เป็นแนวทางตามความเหมาะสม

                    เตรียมข้อมูล การเตรียมตัวสำหรับงานนำเสนอ ต้องมีข้อมูลทั้งในส่วนของผู้บรรยายและผู้ฟังบรรยาย เรียกว่าต้องรู้เขารู้เรา หากทำเช่นนี้รบกี่ครั้งก็ชนะ ด้านหนึ่งคือต้องหาข้อมูลที่ดีที่สุดเพื่อใช้นำเสนอ เริ่มจากต้องทราบว่าการนำเสนอในครั้งนี้มีจุดประสงค์อะไร ต้องการให้ผู้ฟังทราบอะไรบ้าง ใครเป็นผู้ที่เหมาะสมในการถ่ายทอดสิ่งเหล่านี้ และอีกด้านหนึ่งก็เป็นส่วนสำคัญคือ ต้องทราบว่าผู้ฟังเป็นใคร มีวุฒิภาวะ การศึกษาระดับใด มีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสิ่งที่จะนำเสนอบ้าง หรือมีความสนในสิ่งนี้หรือไม่
                    เมื่อทราบวัตถุประสงค์อย่างคร่าวๆแล้ว ต่อไปก็ให้รวบรวมข้อมูลที่เรามีอยู่มาทำการวิเคราะห์ว่าข้อมูลใดที่ควรนำมา ใส่ไว้ในสไลด์บ้าง มีข้อมูลใดที่เป็นส่วนสำคัญและยังขาดอยู่ ก็ให้หามาให้ครบถ้วน

                    จัดทำงานนำเสนอ เมื่อมีข้อมูลจนครบถ้วน ก็ให้นำข้อมูลต่างๆมาสร้างเป็นงานนำเสนอ เริ่มจากการจัดเตรียมหัวข้อหลักๆให้เหมาะสม ให้เป็นไปตามจุดประสงค์ที่วางเอาไว้คือ ต้องทราบว่าในสไลด์แต่ละแผ่นมีวัตถุประสงค์อะไร ควรมีข้อข้อความใดบ้าง เมื่อครบถ้วนแล้ว จึงค่อยตกแต่งแต่ละสไลด์ให้สวยงาม การตกแต่งอาจใส่รูปภาพ ใส่กราฟ ตัวการ์ตูน ใส่เสียง ภาพเคลื่อนไหว ฯลฯ
                    เมื่อเราสร้างงานนำเสนอเสร็จแล้ว ก็ให้จัดพิมพ์เอกสารลงกระดาษ เพื่อเตรียมไว้แจกผู้เข้ารับฟังการบรรยาย แนะนำว่าควรจัดทำเผื่อไว้สัก 30 เปอร์เซ็นต์ เพราะเอกสารที่เหลือดีกว่าไม่มีพอแจกผู้ฟัง

                    ซักซ้อมก่อนนำเสนอจริง เมื่อได้สร้างงานนำเสนอพร้อมกับพิมพ์เอกสารเตรียมไว้แล้ว สิ่งที่ต้องทำต่อไปคือ การซักซ้อมการบรรยาย ผู้อ่านสามารถตรวจสอบท่าทางตัวเองได้ในกระจกบานใหญ่ๆ สังเกตน้ำเสียงและท่าทาง เพื่อป้องกันการประหม่าขณะอยู่ท่ามกลางสายตาประชาชนจำนวนมาก จุดประสงค์ของการซ้อมก่อนการนำเสนอจริงมีดังนี้คือ
                    ซ้อมเพื่อให้เข้าใจข้อมูลอย่างถ่องแท้ ในขณะที่ผู้อ่านทดลองบรรยายแต่ละหัวข้อสไลด์ จะทราบโดยทันทีว่าหัวข้อใดควรเน้นพิเศษ หัวข้อใดควรข้ามไป ข้อดีอีกประการหนึ่งของการซ้อมการบรรยายคือ ผู้บรรยายจะรู้ด้วยตนเองว่าอธิบายจุดใดได้ไม่ดี ซึ่งอาจเกิดจากตัวผู้บรรยายเองไม่เข้าใจหัวข้อนี้ หรือข้อมูลที่ได้มายังไม่กระจ่างเพียงพอ
                    ซ้อมเพื่อลำดับการนำเสนอที่ถูกต้อง ขณะทดลองบรรยาย หากพบว่าหัวข้อใดที่มีลำดับไม่ถูกต้อง ก็สามารถกลับไปแก้ไขได้ทันที
                    ซ้อมเพื่อให้เกิดความมั่นใจ การทดลองซ้อมจริงๆหน้ากระจก วิธีการเน้นเสียง กิริยาท่าทาง หากเราซ้อมไปเรื่อยๆ จะเกิดความชำนาญและความมั่นใจ ช่วยให้ภาพโดยรวมของการนำเสนอจริงเป็นไปอย่างราบรื่น
                    ซ้อมเพื่อหากำหนดเวลาที่แน่นอน การจับเวลาการซ้อมบรรยาย จะได้ทราบว่าควรเน้นหัวข้อใดบ้าง casino online polska หรือควรใช้เวลากับเรื่องใดเป็นพิเศษ ถ้าพบว่าใช้ช่วงเวลาใดไม่เหมาะสมเราจะได้หาทางป้องกันและแก้ไขได้ทันที

                    นำเสนอจริง ขณะนำเสนอจริง ผู้บรรยายควรเป็นส่วนเดียวกับผู้ฟัง กล่าวคือควรทำให้บรรยากาศการบรรยายเป็นกันเอง เมื่อเป็นกันเองแล้วเรื่องต่างๆ ก็จะง่าย ผู้บรรยายก็ไม่เกร็ง ผู้ฟังรู้สึกสบาย งานนำเสนอก็จะราบรื่นไปด้วยดี
                    ขณะนำเสนอ PowerPoint มีทางเลือกในการเปลี่ยนสไลด์ได้หลายทาง คุณอาจใช้เมาส์คลิก หรือใช้คีย์ นอกจากนี้ยังสามารถวาดเส้นบางส่วนบนสไลด์ในขณะทำการบรรยาย
                    คุณสมบัติอย่างหนึ่งใน PowerPoint ที่อำนวยความสะดวกในการบรรยาย ได้แก่ การเลือกแสดงบางสไลด์ที่ต้องการ ผู้บรรยายสามารถกำหนดให้แสดงบางกลุ่มสไลด์ หรือกระโดดไปยังสไลด์ในแผ่นใดๆก็ได้ รวมทั้งสามารถอ้างอิงกับแหล่งข้อมูลอื่นๆ เช่น อินเตอร์เน็ต
                    การพูด การสื่อความหมาย การโน้มน้าวจิตใจให้คนต่างวัย ต่างอาชีพ ต่างฐานะความรู้ ฯลฯ ให้มีเจตคติที่ดีและเข้าใจในสิ่งที่เราอยากนำเสนอจำเป็นต้องมีวิธีการนำเสนอ ที่ดี ประทับใจ และโดดเด่นเหนือคู่แข่ง ซึ่งคนเราทุกคนไม่ว่าจะเป็นผู้บริหาร พ่อค้า พนักงานขาย วิทยากร หรือบุคคลต่างๆ จะต้องฝึกทักษะและพัฒนาฝีมือในการนำเสนอความคิดหรือสินค้าของตนตั้งแต่ระดับ ง่ายๆ จนกระทั่งถึงวิธีการนำเสนอแบบมืออาชีพ “ท่านจะได้รับผลตอบแทนตามมาอย่างคุ้มค่า หากท่านจะมีความตั้งใจจริงที่จะสื่อสารให้คนจำนวนหนึ่งเข้าใจท่านได้อย่าง แท้จริงเท่านั้น”
                    Alan Loy McGinnis Bringing Out the Best in People, Augsburg Publishing House, Minneapolis, 1985, p 167
                    คำจำกัดความที่ไพเราะและเหมาะสมของ “การนำเสนอ” ก็คือ “การให้” ชนิดหนึ่งนั่นเอง ซึ่งก็หมายความว่าผู้นำเสนอจะให้ในสิ่งที่ “ผู้รับ” (ผู้ฟัง) อยากได้นั่นเอง ท่านเคยสังเกตไหมว่าเวลาท่านให้ของที่ถูกใจแก่ผู้รับเขามีกริยา “การตอบสนอง” อย่างไร ? ฉันใดก็ฉันนั้นกริยาอาการอย่างนั้นท่านก็จะพึงได้รับถ้าหากท่านนำเสนอได้ อย่าง “มืออาชีพ” และ “การตอบสนอง” จากผู้ฟังนี่เองคือข้อแตกต่างประการที่สองระหว่าง “การกล่าวคำปราศรัย” และ “การนำเสนอ”

การนำเสนอมีหลักที่สำคัญอย่างไร

การนำเสนอจะต้องมีจุดมุ่งหมายที่อยู่บนพื้นฐานของหลักการ ดังนี้.
1. ต้องก่อประโยชน์ทั้งต่อฝ่ายผู้นำเสนอและผู้รับการนำเสนอ.
2. ต้องคำนึงถึงผู้รับการนำเสนอเป็นหลัก.
3. ต้องมีจุดมุ่งหมายที่มีความเป็นไปได้.
4. ต้องไม่กำหนดจุดมุ่งหมายมากหลากหลายจนคลุมเครือ.
5. ต้องกำหนดจุดมุ่งหมายให้สอดคล้องกับสถานการณ์.

ข้อใดคือองค์ประกอบสำคัญในการพูดนำเสนอ

การนำเสนอเป็นรูปแบบหนึ่งของการสื่อสารเพื่อสร้างความเข้าใจที่ชัดเจนแก่ผู้ฟังโดยการพูดประกอบสื่อในระยะเวลาสั้น ๆ องค์ประกอบของการนำเสนอประกอบด้วย ผู้นำเสนอ (Presenter) เนื้อหา (Content) ผู้ฟัง (Audlence) ผู้นำเสนอจะต้องมีบุคลิกภาพ ความเชื่อมั่น ประสบการณ์ การเตรียมตัว ความรู้ ความสามารถ สไตล์การนำเสนอ เนื้อหาการสำเสนอ จะ ...

จุดประสงค์สำคัญที่สุดของการนำเสนอข้อมูล คือข้อใด

การนำเสนอข้อมูลมีวัตถุประสงค์ คือนำเสนอข้อมูลที่รวบรวมได้มาแสดงหรือเสนอให้ผู้อื่นได้ทราบ หรือเข้าใจความหมายได้ง่ายและชัดเจน ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์ของผู้นำเสนอต้องการสื่อให้ทราบ วิธีการ นำเสนอที่ดีควรมีลักษณะดังนี้ 1. อ่านเข้าใจได้ง่าย 9 2. ช่วยให้สามารถเข้าใจความหมายของผลการศึกษานั้นได้ดี

วัตถุประสงค์ข้อใดของการนำเสนอ

1.1 เพื่อให้ความรู้หรือข้อมูลข่าวสารใหม่ๆ (To inform) 1.2 เพื่อปลุกใจหรือเป็นแรงบันดาลใจ (To convince) 1.3 เพื่อเรียกร้องให้ผู้รับมีปฏิกิริยาตอบสนอง (To request for action)