หน่วยความจําสํารองคืออะไร มีอะไรบ้าง

          เมื่อเลิกใช้หน่วยความจำแบบแฟลชที่ต่อกับเครื่องคอมพิวเตอร์ต้องยกเลิกการเชื่อมต่อ โดยคลิกขวาที่การเชื่อมต่อด้านขวามือของทาส์กบาร์ คลิก Safe To Remove Hardware จากนั้นคลิก Stop และ Close ที่หน้าจอ ไม่ควรดึงออกจากการต่อเชื่อมเลยทันที

4. แผ่นซีดี (Compact Disk : CD ) วิวัฒนาการของการใช้หน่วยความจำรองได้ก้าวหน้าขึ้นเป็นลำดับ ปัจจุบันได้มีการประดิษฐ์แผ่นซีดี

ใช้ในการเก็บข้อมูลจำนวนมาก การเก็บข้อมูลบนแผ่นซีดีใช้หลักการทางแสง แผ่นซีดีที่อ่านได้อย่างเดียว เรียกกันว่า

ซีดีรอม (CD- ROM) ข้อมูลที่บันทึกจะถูกบันทึกมาจากโรงงานผู้ผลิตเหมือนการบันทึกเพลงหรือภาพยนตร์

ข้อเด่นของแผ่นซีดีคือ ราคาถูก จุข้อมูลได้มาก สามารถเก็บข้อมูลหรือโปรแกรมได้มากกว่า 750 เมกะไบต์ต่อแผ่น

หน่วยความจำสำรองจะช่วยแก้ไขปัญหาการสูญเสียของข้อมูล  อันเนื่องมาจากไฟฟ้าดับเพราะข้อมูลต่างๆที่ส่งเข้ามาประมวลผล  เมื่อเรียบร้อยแล้วผลลัพธ์ที่ได้จะถูกนำไปเก็บในความจำหลักประเภทแรม  หากปิดเครื่องหรือมีปํญหาทางไฟฟ้า  อาจทำให้คอมพิวเตอร์สูญหายจึงจำเป็นต้องมีหน่วยความจำสำรอง  เพื่อนำข้อมูลจากหน่วยความจำแรมมาเก็บไว้ใช้งานในครั้งต่อไป  หน่วยความจำประเภทนี้ส่วนใหญ่จะพบในรูปแบบสื่อที่ใช้การบันทึกข้อมูลภายนอก  เช่น  ฮาร์ดดิสก์  แผ่นบันทึก  ซิปดิสก์  ซีดีรอม  ดีวีดี  เทปแม่เหล็ก  หน่วยความจำแบบแฟลช  หน่วยความจำสำรองนี้ถึงจะไม่มีอยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์  แต่เครื่องคอมพวเตอร์ก็สามารถทำงานได้

5. หน่วยความจำแบบแฟลช  (Flash Memory) เป็นหน่วยความจำประเภทรอมที่เรียกว่า “อีอีพร็อม” (Electrically Erasable Programmable Read Only Memory : EEPROM) ซึ่งเป็นเทคโนโลยีที่นำข้อดีของรอมและแรมมารวมกัน ทำให้หน่วยความจำชนิดนี้สามารถเก็บข้อมูลได้เหมือนฮาร์ดดิสก์ คือ สามารถเขียนและลบข้อมูลได้ตามต้องการ และเก็บข้อมูลได้ แม้ไม่ได้ต่อกับเครื่องคอมพิวเตอร์ หน่วยความจำชนิดนี้มีขนาดเล็ก น้ำหนักเบา พกพาได้สะดวก มักใช้เป็นอุปกรณ์เก็บข้อมูลในอุปกรณ์นำเข้าข้อมูล เช่น กล้องดิจิทัล กล้องวีดิทัศน์ที่เก็บข้อมูลแบบดิจิทัล ในปัจจุบันมีบริษัทผลิตอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์หลายบริษัทผลิตหน่วยความจำแบบแฟลชรูปแบบต่าง ๆ ออกมาเพื่อใช้งานกับผลิตภัณฑ์ของตนเอง เช่น บริษัทแซนด์ดิสด์ ได้ผลิตหน่วยความจำแบบแฟลชที่เรียกว่า “การ์ดคอมแพ็กแฟลช” ใช้กับกล้องดิจิตอลและเครื่องคอมพิวเตอร์พกพาทั่วไป เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊คและปาล์มท็อป ในขณะที่บริษัทโซนี่ผลิตหน่วยความจำแบบแฟลชที่เรียกว่า “เมมโมรีสติ๊ก” (Memory Stick) เพื่อใช้งานเฉพาะกับกล้องดิจิทัล กล้องวีดิทัศน์ ที่ผลิตโดยบริษัทโซนี่เอง

คอมพิวเตอร์ที่เราใช้กันอยู่ทุกวันนี้ ไม่ว่าจะใช้เพื่อทำงานหรือเพื่อความบันเทิงก็ตาม ระบบวิธีการทำงานของคอมพิวเตอร์ก็จะเหมือนกันทั้งหมด จะมากจะน้อยก็ขึ้นอยู่กับโปรแกรมที่ใช้ และทุกการใช้งานก็จะเป็นที่จะต้อง Run ผ่านหน่วยความจำหลัก หรือก็คือ Processer อย่าง CPU และ Ram ผนวกเข้ากับการทำงานร่วมกันกับหน่วยความจําสํารองของคอมพิวเตอร์ อาจจะเห็นชื่อว่าเป็นตัวสำรองแต่ความสำคัญนั้นกลับไม่น้อยเลย

ทำความรู้จักกับหน่วยความจําสํารองในคอมพิวเตอร์


หน่วยความจําสํารองหรือ Secondary Memory คืออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่ทำหน้าที่ในการเก็บรักษาข้อมูลในรูปแบบถาวรที่ User สามารถจะเรียกขึ้นมาใช้งานได้ตามความต้องการ โดยเมื่อได้เปรียบเทียบขนาดของหน่วยความจำรองกับตัวหลักแล้ว จะเห็นถึงความแตกต่างของปริมาณความจำได้อย่างชัดเจน ราคาก็ถูกกว่า แต่ความเร็วในการเข้าถึงข้อมูลและเรียกใช้จะสามารถทำได้ช้ากว่า ทำให้อุปกรณ์ทั้งสองอย่างนี้ต้องทำงานร่วมกันเสมอ พอพูดอย่างนี้แล้วหลายคนอาจรู้แล้วว่าหน่วยความจําสํารองคืออะไร โดยหน่วยความจำรองที่เรานิยมใช้กันในทุกวันนี้ก็จะมี ฮาร์ดดิส อุปกรณ์เก็บข้อมูลตัวหลักของคอมพิวเตอร์ สามารถรักษาข้อมูลได้อย่างถาวรตราบที่ยังสามารถทำงานได้ ไม่จำเป็นต้องมีไฟฟ้าในการหล่อเลี้ยงความจำ แน่นอนเรื่องความจุของความจำได้แซงหน่วยความจำหลักไปไกลหลาย TB แล้ว ลำดับต่อมาก็คือ Flash Drive อุปกรณ์เก็บไฟล์ยอดนิยมที่มีหลักการทำงานคล้ายกับฮาร์ดดิส แต่มีขนาดที่เล็กกว่า พกพาสะดวก หรือจะเป็น External HDD ก็ถือว่าเป็นหน่วยความจำสำรองเช่นกัน แล้วก็ยังมี CD DVD และ Blue Ray ที่นับเป็นหนึ่งในหน่วยความจำรอง แต่ความนิยมก็กำลังตกลงไปเรื่อย ๆ ทุกวัน

หน่วยความจําสํารองทำไมถึงเป็นของที่จำเป็นต้องมี


อย่างที่รู้กันว่าหน่วยความจําสํารองเป็นอุปกรณ์สำคัญที่ทำงาร่วมกับหน่วยหลัก อย่างนั้นแล้วเป็นไปไม่ได้เลยที่ในคอมพิวเตอร์ของเราจะไม่มีเจ้า HDD หรือ SSD อยู่ แต่สำหรับในเรื่องของความจำเป็นของการมีหน่วยความจำสำรองภายนอกอย่าง Flash Drive หรือ External HDD ก็จะเป็นอีกหนึ่งกรณี เพราะความจำเป็นในการเก็บรักษาข้อมูลนั้นต่างกัน แต่ถ้าหากว่าเรานั้นมาดูกันเรื่องของประโยชน์กับข้อดีก็จะเห็นได้ถึงความจำเป็น นั่นก็คือเรื่องของการทำหน้าที่เป็นอุปกรณ์เก็บสำรองข้อมูลที่สามารถเรียกใช้ตอนไหนก็ได้ แถมยังช่วยให้เรามั่นใจได้อีกว่าหากเกิดอะไรขึ้นกับคอมพิวเตอร์ที่ใช้งานอยู่ทุกวันขึ้น ไฟล์งานและเอกสารต่าง ๆ ก็จะยังอยู่ครบและสามารถนำไปใช้ต่อได้ทันที

ยิ่งหากใครที่เป็นคนที่ใช้คอมพิวเตอร์ทำงานเป็นหลักจะเข้าใจได้เป็นอย่างดีเลยว่าข้อมูลที่อยู่ในเครื่องนั้นเป็นสิ่งสำคัญที่มีค่ามากที่สุดแค่ไหน และหน่วยความจําสํารองก็คือผู้ช่วยคนสำคัญที่ เราจำเป็นจะต้องมีเอาไว้ แต่ที่สำคัญอีกอย่างก็คืออย่าลืมที่จะทำการอัพเดทข้อมูลสำรองบ่อย ๆ จะช่วยให้ข้อมูลที่เราใช้นั้นเป็นปัจจุบันตลอดและอุ่นใจได้มากขึ้นด้วย

หน่วยความจําสํารองคืออะไร มีอะไรบ้าง
ส่วนความจำรอง (secondary memory) ใช้เป็นส่วนเพิ่มความจำให้มีขนาดใหญ่มากขึ้น ทำงานติดต่อยู่กับส่วนความจำหลัก ส่วนความจำรองมีความจุมากและมีราคาถูก แต่เรียกหาข้อมูลได้ช้ากว่าส่วนความจำหลัก คือ ทำงานได้ในเวลาเศษหนึ่งส่วนพันวินาทีข่าวสารหรือข้อมูลที่จะเก็บไว้ในส่วนความจำนั้นเป็นรหัสแทนเลขฐานสอง (binary) คือ ๐ กับ ๑ ซึ่งต้องเก็บไว้เป็นกลุ่ม ๆ และมีแอดเดรสตามที่กำหนด เพื่อความสะดอกขอนิยามไว้ดังนี้บิต (bit) เป็นชื่อที่เขียนย่อจาก binary digit ซึ่งหมายถึงตัวเลขฐานสองคือ ๐ กับ ๑ ซึ่งเป็นส่วนประกอบที่เล็กที่สุดของหน่วยความจำไบต์ (byte) เป็นชื่อที่ใช้เรียกกลุ่มของบิต ซึ่งขึ้นอยู่กับการเลือกใช้ เช่น ๖ บิต ๘ บิต…….ก็ได้ ซึ่งเรียกว่า ๖ บิตไบต์ ๘ บิตไบต์ ๑๖ บิตไบต์……..ตามลำดับ เป็นต้นตัวอักษร (character) หมายถึงสัญลักษณ์ที่ใช้ในคอมพิวเตอร์ คือตัวเลข 0-9  ตัวอักษร A-Z และเครื่องหมายพิเศษบางอย่างที่จำเป็น เช่น ( ), < , +, = ,………. ฯลฯ เป็นต้น ซึ่งเราจะต้องแทนตัวอักษรหนึ่ง ๆ ด้วยรหัสของกลุ่มเลขฐานสอง 1 ไบต์ (ซึ่งอาจเป็น 7 หรือ 8 บิตไบต์)คำ (word) หมายถึงกลุ่มของเลขฐานสองตั้งแต่ 1 ไบต์ขึ้นไป ที่สามารถเก็บไว้ในส่วนความจำเพียง 1 แอดเดรส ขนาดของคำขึ้นอยู่กับการเลือกใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ บางเครื่องใช้คำหนึ่งประกอบขึ้นจาก 2 ไบต์ แต่ละไบต์เป็นชนิด 8 บิต ดังนั้นคำหนึ่งจึงมี 16 บิต บางเครื่องใช้คำหนึ่งประกอบขึ้นจาก 4 ไบต์ แต่ละไบต์เป็นชนิด 8 บิต ดังนั้นคำหนึ่งจึงมี 32 บิต เครื่องคอมพิวเตอร์บางเครื่องใช้คำหนึ่งประกอบขึ้นจาก 48 หรือ 64 บิตก็มี
หน่วยความจําสํารองคืออะไร มีอะไรบ้าง
ขนาดของส่วนความจำบอกเป็นจำนวน K คำ ซึ่ง K ย่อมาจากคำว่า kilo อันหมายถึง 1,000 แต่ค่าที่แท้จริงคือ 2 10 = 1,024 หน่วยของส่วนความจำหน่าวยหนึ่งอาจจะมีจำนวนต่ำสุด 4K จึงถึงใหญ่สุด 128K (ชนิดของแกนแม่เหล็ก) หรือใหญ่สุด 4,000K (ชนิดของวงจรเบ็ดเสร็จชนิดใหญ่)ในยุคสังคมสารสนเทศทุกวันนี้ ข้อมูลและโปรแกรมคอมพิวเตอร์จะมีจำนวนหรือขนาดใหญ่มาก ตามความ เจริญก้าวหน้าของเทคโนโลยีและความซับซ้อนของปัญหาที่พบในงานต่างๆ หน่วยความจำหลักที่ใช้เก็บข้อ มูลในคอมพิวเตอร์จึงต้องมีขนาดใหญ่ตามไปด้วย โดยทั่วไปหน่วยความจำหลักจะมีขนาดจำกัด ทำให้ไม่พอเพียงสำหรับการเก็บข้อมูลจำนวนมาก ในระบบคอมพิวเตอร์จึงมักติดตั้งหน่วยความจำรอง เพื่อนำมาใช้ เก็บข้อมูลจำนวนมาก เป็นการเพิ่มขีดความสามารถด้านจดจำของคอมพิวเตอร์ให้มากยิ่งขึ้น นอกจากนี้ถ้า มีการปิดเครื่องคอมพิวเตอร์ในขณะทำงานข้อมูลและโปรแกรมที่เก็บไว้ในหน่วยความจำหลักหรือแรมจะสูญหายไปหมด หากมีข้อมูลส่วนใดที่ต้องการเก็บไว้ใช้งานในภายหลังก็สามารถเก็บไว้ในหน่วยความจำรอง หน่วยความจำรองที่ นิยมใช้กันมากจะเป็นจานแม่เหล็กซึ่งจะมีทั้งแผ่นบันทึกและฮาร์ดดิสก์
รวบรวมจาก สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน เล่ม 11

หน่วยความจํา รอง คืออะไร จงอธิบาย

หน่วยความจําสํารองหรือ Secondary Memory คืออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่ทำหน้าที่ในการเก็บรักษาข้อมูลในรูปแบบถาวรที่ User สามารถจะเรียกขึ้นมาใช้งานได้ตามความต้องการ โดยเมื่อได้เปรียบเทียบขนาดของหน่วยความจำรองกับตัวหลักแล้ว จะเห็นถึงความแตกต่างของปริมาณความจำได้อย่างชัดเจน ราคาก็ถูกกว่า แต่ความเร็วในการเข้าถึงข้อมูลและเรียก ...

ข้อใดเป็นหน่วยความจำสำรอง

หน่วยความจำรอง (secondary storage) เป็นหน่วยเก็บข้อมูลถาวรที่ผู้ใช้สามารถย้ายข้อมูลและคำสั่งที่อยู่ในหน่วยความจำแรมขณะที่เครื่องคอมพิวเตอร์ทำงานมาจัดเก็บไว้ได้ด้วยคำสั่งบันทึกของโปรแกรมประยุกต์ ทำให้ผู้ใช้สามารถเรียกข้อมูลและคำสั่งมาใช้ภายหลังซึ่งหน่วยความจำรองมีความจุข้อมูลมากกว่าหน่วยความจำหลักและมีราคาถูกกว่า แต่ ...

หน่วยความจําสํารองมีกี่ประเภท อะไรบ้าง

หน่วยความจำรอง.
1. ฮาร์ดดิสก์ (Hard disk) ... .
2. ออปติคัลดิสก์ ... .
3. อุปกรณ์หน่วยความจำแบบแฟลช.

ข้อใดเป็นหน่วยสำรองข้อมูลแบบ Magnetic

1.1 เทปแม่เหล็ก (Magnetic Tape) เป็นหน่วยความจำสำรองที่บันทึกข้อมูลและเข้าถึงข้อมูล โดยลำดับ (Sequential Access) ราคาถูกเมื่อเทียบสัดส่วนของราคากับขนาดความจุ มีขนาดของหน่วยความจำที่ใหญ่ จึงนิยมใช้สำรองข้อมูล (Data Backup) และสามารถนำมาเชื่อมต่อกันได้ง่าย แต่การเข้าถึงข้อมูลทำได้ช้า อุปกรณ์ที่ทำหน้าที่อ่านหรือเขียนเทป ...