เปลี่ยนคํานําหน้านายบัตรประชาชน ใช้อะไรบ้าง

สถานที่ติดต่อ

- ที่ว่าการอำเภอ
- สำนักงานเขต
- สำนักงานเทศบาล
- ศาลาว่าการเมืองพัทยา
- หน่วยบริการจัดทำบัตรเคลื่อนที่ของกรมการปกครอง

เอกสาร/หลักฐานที่ใช้

1.บัตรประจำตัวประชาชนเดิม (ฉบับจริง)
2.เมื่อระบบแจ้งผลผ่านการตรวจสอบโดยไม่มีเหตุปฏิเสธการทำบัตร ไม่ต้องเรียกเอกสารหลักฐานอื่นใดอีก

ค่าธรรมเนียม

-

ระยะเวลา

15 นาที

หมายเหตุ

สวัสดีครับเพื่อนๆผมจะมาแชร์ประสบการณ์เปลี่ยนคํานําหน้าบนบัตรประจําตัวประชาชนครับ คือเมื่อหลังช่วงกลางเดือนเมษายนที่ผ่านมานะครับผมก็มีอายุครบ15บริบูรณ์ ผมก็ได้มีโอกาสไปทําบัตรประจําตัวประชาชนใหม่ครับ ผมก็ตื่นเต้นมากรีบตื่นแต่เช้าเลยเพราะหมู่บ้านที่ผมอยู่มันห่างจากเทศบาลเมืองมากครับเพื่อเตรียมตัวไปทําบัตรใหม่ครับ

เปลี่ยนคํานําหน้านายบัตรประชาชน ใช้อะไรบ้าง

กรณีที่ผู้ใช้งานเป็นสมาชิกอยู่แล้ว กรอกรหัสผู้ใช้งาน รหัสผู้ใช้งานเป็นหมายเลขบัตรประจำตัวประชาชน 13 หลัก และกรอกรหัสผ่าน และสามารถใช้งานได้ทันที

  • กรณีที่ผู้ใช้งานยังไม่เคยสมัคร ให้คลิก "สมัครสมาชิก"

  • ติ๊กที่ช่อง "ฉันยอมรับข้อตกลงในการบริการ" และคลิก "ถัดไป"

  • กรอกข้อมูลส่วนตัวดังนี้

    • หมายเลขบัตรประชาชน (13 หลัก)

    • เบอร์มือถือ

    • รหัสผ่าน และ ยืนยันรหัสผ่าน

    • คำนำหน้า ชื่อ และนามสกุล

    • วันเกิด

    • อีเมล

      และคลิก "ถัดไป" ระบบจะส่ง OTP ตามเบอร์ที่เรากรอก เพื่อยืนยันตัวตน

      สมัครสมาชิกเช็กสิทธิประกันสังคม กรณียังไม่เคยสมัคร

  • กรอกหมายเลข OTP 

  • ลงทะเบียนเพื่อเข้าเช็กสิทธิประกันสังคมได้ทันที

  • ตรวจสอบ เช็คสิทธิประกันสังคม ได้มีรายละเอียดดังนี้

    1. ข้อมูลการส่งเงินสมทบ
    2. ยื่นแบบขอเปลี่ยนสถานพยาบาล
    3. ประวัติการเปลี่ยนแปลงสถานพยาบาล
    4. การใช้สิทธิประโยชน์ทดแทน
    5. การคำนวณเงินสงเคราะห์ชราภาพ
    6. ขอเบิกสิทธิประโยชน์กรณีคลอดบุตร
    7. ขอเบิกสิทธิประโยชน์กรณีสงเคราะห์บุตร
    8. ขอเบิกสิทธิประโยชน์กรณีว่างงาน
    9. ขอเบิกสิทธิประโนชน์กรณีชราภาพ
    10. เลือกบัญชีธนาคารเพื่อรับเงิน
    11. ประวัติการทำรายการ
    12. ระบบทันตกรรม

    ที่สำคัญผู้ประกันตน ประกันสังคมมาตรา 39 และ ประกันสังคมมาตรา 40 สามารถตรวจสอบข้อมูลด้านสิทธิประโยชน์ประกันสังคมได้เช่นกัน

    หากมีข้อสงสัยเพิ่มเติม สามารถติดต่อ โทรสอบถาม รายละเอียดสำนักงานประกันสังคมได้ที่สายด่วน 1506 หรือเว็บไซต์สำนักงานประกันสังคม www.sso.go.th

    • ประกันสังคม ชี้จ่ายแค่ 432 บาท ก็เป็นผู้ประกันตนในระบบได้

    • ประกันสังคม ชวนแรงงานอิสระสมัครเป็นผู้ประกันตนมาตรา 40 ทางเลือกใหม่

    เปลี่ยนคํานําหน้านายบัตรประชาชน ใช้อะไรบ้าง
    ตรวจสอบสิทธิประกันสังคม

    โหลดเพิ่ม

    แท็กที่เกี่ยวข้อง

    ตรวจสอบสิทธิประกันสังคมประกันสังคมเช็คสิทธิ์ประกันสังคมสิทธิประกันสังคมสำนักงานประกันสังคมสปสเงินประกันสังคมเว็บเช็กสิทธิประกันสังคมเช็กสิทธิประกันสังคมด้วยบัตรประชาชนssoข่าวเศรษฐกิจธุรกิจTips Tricks and Guides

    บริการชำระค่าสินค้าและบริการผ่านร้านค้าออนไลน์ ด้วยบัตรเครดิตธนาคารออมสินให้คุณเพลิดเพลินกับทุกการใช้จ่ายบนโลกออนไลน์จากร้านโปรดทั่วทุกมุมโลก สะดวกง่ายดายเพียงปลายนิ้ว ปลอดภัย มั่นใจจากการทำรายการผ่านระบบVerified by Visa มาตรฐานสากลจาก VISA

    เปลี่ยนคํานําหน้านายบัตรประชาชน ใช้อะไรบ้าง

    คะแนนสะสม

    รับคะแนนสะสมจากการใช้จ่ายผ่านบัตรเครดิตธนาคารออมสินทุก 25 บาท รับคะแนน GSB Reward Point 1 คะแนน

    เปลี่ยนคํานําหน้านายบัตรประชาชน ใช้อะไรบ้าง

    สิทธิประโยชน์ระหว่างเดินทาง

    • คุ้มครอง ในวงเงินสูงสุด 8,000,000 บาท
    • รับผิดชอบต่อหนึ่งยานพาหนะ สูงสุดไม่เกิน 200,000,000 บาท
    • คุ้มครองร่วมคู่สมรส วงเงินสูงสุด 4,000,000 บาท
    • คุ้มครองร่วมบุตรอายุไม่เกิน 23 ปี วงเงินสูงสุด 800,000 บาท

    เปลี่ยนคํานําหน้านายบัตรประชาชน ใช้อะไรบ้าง

    ช้อปปิ้งออนไลน์ แบบง่ายๆ ด้วยบัตรเครดิตธนาคารออมสิน

    • เลือกซื้อสินค้าและบริการจากร้านค้าออนไลน์ ที่รับบัตรเครดิต VISA
    • เลือกวิธีการชำระเงิน ด้วยบัตรเครดิตธนาคารออมสิน
    •  กรอกข้อมูลรายละเอียดของบัตรเครดิตที่ต้องการชำระให้ถูกต้องครบถ้วน
      • ชื่อ นามสกุล ผู้ถือบัตร
      • หมายเลขหน้าบัตรเครดิต จำนวน 16 หลัก
      •  วันบัตรหมดอายุ (เดือน/ปี)
      • หมายเลข CVV จำนวน 3 หลัก
      • ข้อมูลอื่นๆ ตามที่ร้านค้าออนไลน์ระบุ
    • กด Request OTP (ถ้ามี ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับเงื่อนไขและข้อกำหนดของร้านค้าออนไลน์) เพื่อรับรหัสผ่าน (OTP: One Time Password) โดย OTP ถูกส่งผ่าน SMS ไปยังเบอร์โทรศัพท์มือถือที่ท่านแจ้งไว้กับธนาคารตอนยื่นสมัครบัตรเครดิต หลังจากนั้นให้กรอกเลข OTP ในช่องที่ระบุ
    • กดยืนยันการทำรายการเพื่อชำระเงินผ่านบัตรเครดิตธนาคารออมสิน

    รายละเอียดผลิตภัณฑ์

    ช่องทางการชำระเงิน

    1. วงเงินบัตรเครดิตใช้สำหรับชำระค่าสินค้าและบริการ รวมทั้งการเบิกถอนเงินสดล่วงหน้า เมื่อรวมกับยอดค้างชำระของเดือนก่อนต้องไม่เกินวงเงินที่ธนาคารกำหนด
    2. วงเงินบัตรเครดิตจะถูกลดยอดลง เท่ากับยอดคงค้างทั้งหมดที่เกิดขึ้น และยังไม่ได้ชำระคืนธนาคาร
    3. กรณีที่มีบัตรเครดิตหลายใบ วงเงินรวมทุกบัตร สามารถใช้ร่วมกันได้ภายในวงเงินเดียวกัน

    ช่องทางการชำระ

    1. เคาน์เตอร์ธนาคารออมสินทุกสาขาทั่วประเทศ
    2. เครื่องถอนเงินอัตโนมัติ (ATM) หรือเครื่องฝาก-ถอนเงินอัตโนมัติ (ADM-Recycle) ของธนาคารออมสิน
    3. บริการ Internet Banking ของธนาคารออมสิน
    4. บริการ Mobile Banking (MyMo) ของธนาคารออมสิน
    5. หักบัญชีเงินฝากธนาคารออมสิน (Direct Debit)
    6. พร้อมเพย์ (Promptpay) Bill Payment
    7. เคาน์เตอร์เซอร์วิส
    8. โลตัส
    9. ตู้เติมสบายพลัส

    บริการอื่นๆ

    1. บัตรสูญหายหรือถูกขโมย
    2. บัตรชำรุด
    3. ต้องการเปลี่ยนแปลงชื่อ – นามสกุล
    4. ต้องการเปลี่ยนแปลงที่อยู่
    5. ต้องการขอรหัสใหม่
    6. ต้องการเปลี่ยนแปลงการใช้บริการรับใบแจ้งยอดค่าใช้จ่ายบัตรอิเล็กทรอนิกส์ (E-Statement)

    โปรดสอบถามได้ที่ GSB Contract Center โทร. 1115 หรือ GSB Contact Credit Card โทร. 02 299 8888 ทุกวันตลอด 24 ชั่วโมง

    อัตราดอกเบี้ยและค่าธรรมเนียม

    ค่าบริการ

    รายการค่าธรรมเนียม / ค่าบริการค่าธรรมเนียมแรกเข้าไม่มีค่าธรรมเนียมรายปีฟรีค่าธรรมเนียมรายปี ปีแรกค่าธรรมเนียมรายปี บัตรหลัก500 บาทค่าธรรมเนียมรายปี บัตรเสริม500 บาทค่าธรรมเนียมการออกบัตรใหม่ (ชำรุด/สูญหาย)200 บาท ต่อ บัตรค่าธรรมเนียมการขอใบแจ้งยอดบัญชี50 บาท ต่อ ฉบับค่าธรรมเนียมการขอสำเนาใบบันทึกสินค้าและบริการ (Sales Slip)100 บาท ต่อครั้ง สำหรับรายการใช้จ่ายภายในประเทศ
    200 บาท ต่อครั้ง สำหรับรายการใช้จ่ายในต่างประเทศค่าธรรมเนียมในการขอรหัสประจำตัวบัตรเครดิตใหม่ทดแทนรหัสเดิม100 บาท ต่อ ครั้งค่าธรรมเนียมในการขอตรวจสอบรายการยกเว้นค่าใช้จ่ายในการติดตามทวงถามหนี้99 บาท ต่อรอบบัญชี หรือตามที่ถูกเรียกเก็บจากหน่วยงานภายนอกค่าธรรมเนียมการเบิกถอนเงินสดล่วงหน้าร้อยละ 3 ของจำนวนเงินสดที่เบิกถอน
    หมายเหตุ การเบิกถอนเงินสดในต่างประเทศ ผู้ถือบัตรอาจถูกเรียกเก็บค่าธรรมเนียมการเบิกถอนเงินระหว่างประเทศ (International Access Fee) ตามอัตราที่ธนาคารในต่างประเทศนั้นกำหนด

    การชำระเงิน

    อัตราค่าธรรมเนียมในการชำระเงินกรุงเทพฯและปริมณฑลต่างจังหวัดชำระด้วยเงินสด ณ เคาน์เตอร์ธนาคารออมสินทุกสาขาทั่วประเทศยกเว้น ชำระเงินผ่านบริการเครื่องถอนเงินอัตโนมัติ (ATM) ของธนาคารออมสินยกเว้น ชำระเงินผ่านบริการออมสิน Internet Bankingยกเว้น ชำระเงินผ่านบริการออมสิน MyMoยกเว้น ชำระโดยการหักบัญชีเงินฝากธนาคารออมสิน (Direct Debit) ยกเว้น ชำระเงินผ่านเคาน์เตอร์เซอร์วิส ไม่เกิน 30,000/รายการ15 บาท/รายการ20 บาท/รายการชำระเงินผ่านเทสโก้ โลตัสทุกสาขา ไม่เกิน 49,000/รายการ10 บาท/รายการ ชำระเงินผ่านจุดบริการแคชเชียร์เซ็นเพย์ (CenPay) ไม่เกิน 49,000/รายการ15 บาท/รายการ ชำระเงินผ่านบิ๊กซี ทุกสาขา ไม่เกิน 49,000 บาท/รายการ10 บาท/รายการ ชำระเงินผ่านตู้เติมสบายพลัสไม่เกิน 2,000 บาท/รายการ ไม่เกิน 40,000 บาท/วัน15 บาท/รายการ 

    ฟรีค่าธรรมเนียมรายปี

    ฟรีค่าธรรมเนียมรายปี ปีถัดไป เมื่อมีการใช้จ่ายผ่านบัตรอย่างน้อย 12 ครั้งต่อปี หรือมียอดใช้จ่ายผ่านบัตรตลอดปี ตั้งแต่ 12,000 บาท

    คุณสมบัติและเอกสารการสมัคร

    คุณสมบัติ

    1. เป็นบุคคลธรรมดาที่มีสัญชาติไทย โดยมีคุณสมบัติเพิ่มเติม ดังนี้

    1.1 กรณีผู้มีรายได้ประจำ มีอายุครบ 20 ปี แต่ไม่เกิน 60 ปี

    1.2 กรณีผู้ประกอบอาชีพอิสระ มีอายุครบ 20 ปี แต่ไม่เกิน 70 ปี

    1.3 กรณีผู้ประกอบการรายย่อย มีอายุครบ 20 ปี แต่ไม่เกิน 70 ปี

    1.4 กรณีเจ้าของกิจการ มีอายุครบ 20 ปี แต่ไม่เกิน 70 ปี

    2. กรณีมีรายได้น้อยกว่า 30,000 บาทต่อเดือน มีวงเงินสินเชื่อส่วนบุคคลภายใต้การกำกับที่ได้รับจากสถาบันการเงินอื่น หรือผู้ประกอบธุรกิจสินเชื่อส่วนบุคคลที่มิใช่สถาบันการเงินอยู่แล้วไม่เกิน 3 แห่ง (รวมสินเชื่อบัตรเงินสดธนาคารออมสินแล้วไม่เกิน 3 แห่ง)

    เอกสารการสมัคร

    1. ชุดใบสมัคร (ใบสมัคร และหนังสือให้ความยินยอมในการเปิดเผยข้อมูล (NCB Consent))

    2. สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน หมายเหตุ : กรณีสำเนาบัตรประจำตัวประชาชนไม่ชัดเจน ให้แนบสำเนาใบอนุญาตขับรถ/บัตรประจำตัวข้าราชการ หรือพนักงานองค์การของรัฐ เพิ่มเติม

    3. เอกสารแสดงรายได้ ได้แก่

    3.1 ผู้มีรายได้ประจำ และรายได้อื่น ๆ หรือผู้ประกอบวิชาชีพเฉพาะ

    3.1.1 กลุ่มข้าราชการ พนักงานหรือลูกจ้างหน่วยงานของรัฐ และพนักงานหรือลูกจ้างรัฐวิสาหกิจ

    3.1.1.1 ต้นฉบับ/สำเนาสลิปเงินเดือน (อายุไม่เกิน 2 เดือน) หรือ

    3.1.1.2 ต้นฉบับ/สำเนาหนังสือรับรองเงินเดือน (อายุไม่เกิน 2 เดือน) และ สำเนาบัญชีเงินฝากที่เป็นบัญชีเงินเดือน พร้อมหน้าสมุดบัญชีเงินฝากที่ระบุชื่อ – เลขที่บัญชี หรือ Statement ที่ระบุชื่อ – เลขที่บัญชีที่เป็นบัญชีเงินเดือน หรือ e-Statement ที่ระบุชื่อ – เลขที่บัญชีบางหลักที่เป็นบัญชีเงินเดือน ย้อนหลัง 3 เดือน

    3.1.2 กลุ่มพนักงานหรือลูกจ้างหน่วยงานเอกชน

    3.1.2.1 ต้นฉบับ/สำเนาสลิปเงินเดือน หรือต้นฉบับ/สำเนาหนังสือรับรองเงินเดือน (อายุไม่เกิน 2 เดือน) และ

    3.1.2.2 สำเนาบัญชีเงินฝากที่เป็นบัญชีเงินเดือน พร้อมหน้าสมุดบัญชีเงินฝากที่ระบุชื่อ – เลขที่บัญชี หรือ Statement ที่ระบุชื่อ – เลขที่บัญชี ที่เป็นบัญชีเงินเดือน หรือ e-Statement ที่ระบุชื่อ – เลขที่บัญชีบางหลักที่เป็นบัญชีเงินเดือน ย้อนหลัง 3 เดือน ยกเว้น พนักงานที่ปฏิบัติงานในบริษัทมหาชนจำกัด และพนักงานที่ปฏิบัติงานในบริษัทจำกัด ที่มียอดขายตั้งแต่ 200 ล้านบาทขึ้นไป และมีกำไรสุทธิ ณ ปีล่าสุดสามารถแสดงเฉพาะ สลิปเงินเดือนได้

    3.1.3 กรณีรับเงินเดือนเป็นเงินสด

    3.1.3.1 ต้นฉบับ/สำเนาสลิปเงินเดือน หรือต้นฉบับ/สำเนาหนังสือรับรองเงินเดือน (อายุไม่เกิน 2 เดือน) และ

    3.1.3.2 สำเนาบัญชีเงินฝากพร้อมหน้าสมุดที่ระบุชื่อ – เลขที่บัญชี หรือ Statement ที่ระบุชื่อ – เลขที่บัญชี หรือ e-Statement ที่ระบุชื่อ – เลขที่บัญชีบางหลัก ย้อนหลัง 3 เดือน และ

    3.1.3.3 สำเนาหนังสือรับรองการหักภาษี ณ ที่จ่าย (ตามประมวลรัษฎากร มาตรา 50 ทวิ) หรือเอกสารแสดงการเสียภาษีเงินได้ปีล่าสุด การพิจารณาเงินได้อื่นๆ เช่น ค่าคอมมิชชั่น ค่าล่วงเวลา ค่าเวร ค่ากะ ค่าเบี้ยขยัน ค่าบี้ยประชุม ให้แสดงต้นฉบับ/สำเนาสลิป หรือเอกสารแสดงรายได้ย้อนหลังไม่น้อยกว่า 3 เดือนติดต่อกัน

    3.2 ผู้ประกอบอาชีพอิสระ

    3.2.1 ต้นฉบับ/สำเนาสลิปเงินเดือน หรือ ต้นฉบับ/สำเนาสลิปรายได้ หรือต้นฉบับ/สำเนาเอกสารแสดงการรับเงิน และ

    3.2.2 สำเนาบัญชีเงินฝากที่แสดงรายได้จากการประกอบอาชีพ พร้อมหน้าสมุดบัญชีเงินฝากที่ระบุชื่อ – เลขที่บัญชี หรือ Statement ที่ระบุชื่อ – เลขที่บัญชีที่แสดงรายได้จากการประกอบอาชีพ หรือ e-Statement ที่ระบุชื่อ – เลขที่บัญชีบางหลักที่แสดงรายได้จากการประกอบอาชีพ ย้อนหลัง 3 เดือน และ

    3.2.3 สำเนาหนังสือรับรองการหักภาษี ณ ที่จ่าย (ตามประมวลรัษฎากร มาตรา 50 ทวิ) หรือเอกสารแสดงการเสียภาษีเงินได้ปีล่าสุด

    3.3 ผู้ประกอบการรายย่อย

    3.3.1 สำเนาบัญชีเงินฝากที่เป็นบัญชีหลักของกิจการ หรือบัญชีที่ใช้ในการดำเนินธุรกิจในนามส่วนบุคคล พร้อมหน้าสมุดบัญชีเงินฝาก ที่ระบุชื่อ – เลขที่บัญชี หรือ Statement ที่ระบุชื่อ – เลขที่บัญชีที่เป็นบัญชีหลักของกิจการ หรือบัญชีที่ใช้ในการดำเนินธุรกิจในนามส่วนบุคคล หรือ e-Statement ระบุชื่อ – เลขที่บัญชีบางหลัก ที่เป็นบัญชีหลักของกิจการ หรือบัญชีที่ใช้ในการดำเนินธุรกิจในนามส่วนบุคคล ย้อนหลัง 6 เดือน หรือทะเบียนรายรับ – รายจ่ายของกิจการ ย้อนหลัง 6 เดือน

    3.3.2 สำเนาใบทะเบียนพาณิชย์ (ถ้ามี)

    3.4 สำหรับเจ้าของกิจการ เอกสารแสดงรายได้ ผู้ประกอบกิจการที่อ้างอิงรายได้จากกิจการ ที่จดทะเบียนนิติบุคคล หรือเจ้าของกิจการที่จดทะเบียนการค้าในนามบริษัทจำกัด บริษัทมหาชนจำกัด ห้างหุ้นส่วนสามัญนิติบุคคล นิติบุคคลอื่น และห้างหุ้นส่วนที่ไม่มีฐานะเป็นนิติบุคล ได้แก่

    3.4.1 สำเนาเอกสารแสดงการประกอบธุรกิจตั้งแต่ 1 ปีขึ้นไป เช่น สำเนาหนังสือรับรองการจดทะเบียนบริษัทจากกระทรวงพาณิชย์ หรือสำเนาใบทะเบียนพาณิชย์ หรือสำเนาใบคำขอจดทะเบียน/สำเนาใบสำคัญแสดงการจดทะเบียนห้างหุ้นส่วนที่ไม่มีฐานะเป็นนิติบุคคล และ

    3.4.2 สำเนาบัญชีรายชื่อผู้ถือหุ้นคัดสำเนาไม่เกิน 6 เดือน (เฉพาะ บมจ. บจก.) หรือเอกสารจากระบบงาน ENLITE และ

    3.4.3 สำเนาบัญชีเงินฝากธนาคารในนามบริษัทจำกัด บริษัทมหาชนจำกัด ห้างหุ้นส่วนสามัญนิติบุคคล นิติบุคคลอื่น และห้างหุ้นส่วนที่ไม่มีฐานะเป็นนิติบุคล พร้อมหน้าสมุดบัญชีเงินฝาก ที่ระบุชื่อ – เลขที่บัญชี (บัญชีเงินฝากที่ใช้ในการดำเนินธุรกิจ) หรือ Statement ที่ระบุชื่อ – เลขที่บัญชี (บัญชีเงินฝากที่ใช้ในการดำเนินธุรกิจ) หรือ e-Statement ที่ระบุชื่อ – เลขที่ บัญชีบางหลัก (บัญชีเงินฝากที่ใช้ในการประกอบธุรกิจ) ย้อนหลัง 6 เดือน หรือ

    3.4.4 งบการเงินย้อนหลังปีล่าสุด/แบบแสดงรายการภาษีมูลค่าเพิ่ม (ภ.พ. 30) ย้อนหลัง 6 เดือน หรือเอกสารแสดงการเสียภาษีเงินได้ปีล่าสุด

    เปลี่ยนคำนำหน้าบัตรประชาชนต้องใช้อะไรบ้าง

    หลักฐาน 1. บัตรประจำตัวประชาชนเดิม 2. หลักฐานแสดงการเปลี่ยนคำนำหน้านาม เช่น ทะเบียนสมรส ทะเบียนอย่า เป็นต้น · ไม่เสียค่าธรรมเนียม

    เปลี่ยนคํานําหน้าในทะเบียนบ้าน 2565 ใช้อะไรบ้าง

    1. แบบฟอร์ม คำร้องขอเปลี่ยน ชื่อ-สกุล-คำนำหน้าชื่อ จำนวน 1 ฉบับ 2. หลักฐานตามแต่ก รณี ดังนี้ กรณี เปลี่ยนชื่อ - สำเนาใบเปลี่ยนชื่อ จำนวน 1 ฉบับ - สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน (ที่เ ปลี่ยนแล้ว) จำนวน 1 ฉบับ - สำเนาทะเบียนบ้าน (ที่เ ปลี่ยนแล้ว) จำนวน 1 ฉบับ

    เปลี่ยนคํานําหน้าชื่อในทะเบียนบ้าน ใช้อะไรบ้าง

    (1) บัตรประจำตัวประชาชน หรือบัตรประจำตัวอื่นที่ราชการออกให้ซึ่งมีรูปถ่ายและเลขประจำตัวประชาชนของผู้ยื่นคำร้อง (2) เอกสารการทะเบียนราษฎรที่ประสงค์จะให้แก้ไขเปลี่ยนแปลงรายการ

    เปลี่ยนคํานําหน้า บัตรประชาชน ตอนไหน

    สําหรับเพื่อนๆคนไหนที่อายุครบ15ปีบริบูรณ์แล้วก็อย่าลืมไปเปลี่ยนคําหน้าหน้าบนบัตรด้วยครับ สําหรับบทความนี้ก็ขอจบไว้แค่นี้นะครับขอบคุณครับ