การบริหารภาครัฐแบบดั้งเดิม กับ แบบใหม่

กระบวนทัศน์, การบริหารภาครัฐแบบดั้งเดิม (OPA), การจัดการภาครัฐแนวใหม่ (NPM), การบริการสาธารณะแนวใหม่ (NPS), ทฤษฎีโครงสร้างเชิงสถานการณ์

บทคัดย่อ

บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่ออธิบาย พัฒนาการของการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ในสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ที่ส่งผลต่อรูปแบบการบริหารองค์การภาครัฐของไทยจากกระบวนทัศน์การบริหารองค์การ ภาครัฐแบบดั้งเดิม (Old Public Administration : OPA) จนเข้าสู่ยุคกระบวนทัศน์ใหม่ทางรัฐประศาสนศาสตร์ อันได้แก่แนวคิดการจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management : NPM) ที่กำหนดวิธีคิด และการจัดระบบการบริหารราชการให้ มีความเป็นผู้ประกอบการ จากการที่แนวคิด NPM กำหนด ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐและประชาชนอยู่บนพื้นฐานของหลักเศรษฐศาสตร์และการจัดการนิยมในตลอด ช่วงระยะเวลาสองทศวรรษที่ผ่านมาได้ส่งผลที่เห็นเป็นรูปธรรมคือการจัดตั้งองค์การภาครัฐในรูปแบบใหม่ๆ นอกเหนือจากองค์การราชการแบบดั้งเดิมและรัฐวิสาหกิจ แต่อย่างไรก็ตาม ภายใต้กระแสการบริหารจัดการในระดับสากล และ บริบททางสังคมการเมืองไทยในยุคปัจจุบันนี้ ส่งผลให้กระบวนทัศน์ใหม่ทางรัฐ ประศาสนศาสตร์ไทยร่วมสมัยได้พัฒนาไปสู่แนวคิดการบริการสาธารณะแนวใหม่ (New Public Service : NPS) ที่ยึดถือหลักการว่ารัฐจะต้องให้บริการประชาชนในฐานะพลเมือง (citizens) ไม่ใช่ในฐานะลูกค้า (customers) รวมทั้งการที่รัฐต้องปรับบทบาทมาเป็นสื่อกลางในการสร้างการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วนใน สังคม บทความนี้ใช้ทฤษฎีโครงสร้างเชิงสถานการณ์ในการวิเคราะห์รูปแบบขององค์กรภาครัฐไทยที่ สอดคล้องกับกระบวนทัศน์ใหม่ทางรัฐประศาสนศาสตร์เหล่านี้

Downloads

Download data is not yet available.

References

ทิพวรรณ หล่อสุวรรณรัตน์. (2546). ทฤษฎีองค์การสมัยใหม่ (Modern Organization Theory). กรุงเทพฯ: บริษัท แซทโฟร์ พริ้นติ้ง จำกัด.

ทิพวรรณ หล่อสุวรรณรัตน์. (2549). ปัจจัยก าหนดรูปแบบองค์การภาครัฐสมัยใหม่. วารสารพัฒนบริหาร ศาสตร์,46(1), 21-55.

นราธิป ศรีราม กิตติพงษ์ เกียรติวัชรชัย และชลัช ชนัญญ์ชัย. (2556). การสังเคราะห์แนวคิดการบริการ สาธารณะแนวใหม่. งานวิจัย ทุนวิจัยสถาบันวิจัยและพัฒนา, มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

เรืองวิทย์ เกษสุวรรณ. (2556). การจัดการภาครัฐแนวใหม่. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์บพิธการพิมพ์.

สุเทพ เชาวลิต. (2555). การบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์เสมาธรรม.

Barzeley, M. (2002). Origins of the New Public Management: An International View form Public Administration/Political Science. In McLaughlin, K., Osborne, S., and Ferlie, E. (editors). (2002). New Public Management: Current Trends and Future Prospects. London: Routledge.

Boston, J. (1991). The Theoretical Underpinning of Public Sector restructuring in New Zealand. Reshaping the State: New Zealand’s Bureaucratic Revolution. Auckland: Oxford University.

Cope S., Leishman, F., and Strarei, P. (1997). Globalization, New Public Management and the Enabling State. International Journal of Public Sector Management, 10(6), 444-460.

Daft, R.L. (1998). Organization Theory and Design. Ohio: South-Western College Publishing.

Denhardt, R.B. and Denhardt, J.V. (2000). The New Public Service: Serving Rather than Steering. Public Administration Review, 60(6), 549-559.

Denhardt, J.V. and Denhardt, R.B. (2011). The New Public Service: Serving, Not Steering. Armonk, New York: M.E. Sharpe.

Ferlie, E., Ashburner, L., Fitzgerald, L., and Pettigrew, A. (1996). New Public Management in Action. New York: Oxford University Press.

Robinson, M. (2015). From Old Public Administration to the New Public Service: Implications for Public Sector Reform in Developing Countries.

Singapore: Global Center for Public Service Excellence, UNDP.

Gore, A. (1995). Common Sense Government: Work Better and Less. New York: Random House.

Hood, C. (1991). A Public Management for All Seasons? Public Administration, 69(1), 3-19.

Kuhn, T.S. (1970). The Structure of Scientific Revolutions (2nd ed.). Chicago: University of Chicago Press.

Mintzberg, H. (1983). Structure in Fives: Designing Effective Organization. New Jersey: Prentice Hall.

Morgan, G. (1997). Images of Organization (2nd ed.). Newsbury Park, CA: Sage.

Osborne, D. and Gaebler, T. (1992). Reinventing Government: How the Entrepreneurial Spirit is Transforming the Public Sector from School House to State House. Reading, Massachusetts: Addison-Wesley.

Pfiffner, J. (2004). Traditional Public Administration Versus The New Public Management: Accountability Versus Efficiency. In Benz, A., Siedentopf, H., and Sommermann, K.P. (editors). (2004). Institutionenbildung in Regierung und Verwaltung: Festschrift fur Klaus Konig. Berlin: Duncker and Humbolt.

Downloads

  • PDF

เผยแพร่แล้ว

2022-03-27

How to Cite

More Citation Formats

  • ACM
  • ACS
  • APA
  • ABNT
  • Chicago
  • Harvard
  • IEEE
  • MLA
  • Turabian
  • Vancouver

Download Citation

  • Endnote/Zotero/Mendeley (RIS)
  • BibTeX

ฉบับ

ปีที่ 18 ฉบับที่ 1 (2017): มีนาคม – กรกฎาคม 2560

บท

บทความวิจัย

License

Copyright (c) 2017 ไชยนันท์ ปัญญาศิริ

การบริหารภาครัฐแบบดั้งเดิม กับ แบบใหม่

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.

ผู้เขียนบทความ และผู้นำส่งบทความ จะต้องเป็นผู้รับผิดชอบในเรื่องลิขสิทธิ์ตามที่กฎหมายบัญญัติไว้ทุกประการ ไม่ว่าจะเป็นในเรื่องของ สิทธิ์แห่งความเป็นเจ้าของบทความ สิทธิ์แห่งการได้มาซึ่งบทความ สิทธิ์ของการได้มาซึ่งข้อมูลที่ปรากฏอยู่ในบทความ สิทธิ์ของการใช้เครื่องมือเพื่อการประมวลผล หรือสิทธิ์อื่นใดอันเกี่ยวข้องกับบทความ วารสาร “สยามวิชาการ” เป็นผู้ซึ่งได้รับอนุญาตให้นำบทความออกเผยแพร่โดยสุจริตเท่านั้น สิทธิ์ทั้งปวงอันเกี่ยวข้องกับบทความยังเป็นของเจ้าของสิทธิ์อยู่ สิทธิ์นั้นไม่ได้ถูกถ่ายโอนมาเป็นของวารสารฯ แต่อย่างใด

ข้อความที่ปรากฏอยู่ในบทความนั้น ถือเป็นทัศนะอิสระของผู้เขียน โดยผู้เขียนแต่ละท่านให้การรับรองว่าบทความของตนมิได้ละเมิดลิขสิทธิ์อันเป็นของผู้อื่น วารสารฯ และ ผู้ทรงคุณวุฒิกลั่นกรองบทความ เป็นแต่เพียงผู้ให้ความเห็นเรื่องคุณภาพของเนื้อหา และความเหมาะสมของรูปแบบการนำเสนอเท่านั้น วารสารบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยสยาม และ ผู้ทรงคุณวุฒิกลั่นกรองบทความ ไม่มีส่วนรับผิดชอบต่อข้อความใดๆ อันเกิดจากทัศนะ และสิทธิ์ในการตีพิมพ์และเผยแพร่ของผู้เขียน