ผลงานทัศนศิลป์ของ อ.ชำเรือง วิเชียรเขตต์ นิยมขึ้นรูปด้วยวัสดุใดก่อนทำการหล่อ

ชดุ ฝกึ ทกั ษะ เรือ่ งทกั ษะทศั นศิลป์ ชนั้ มัธยมศึกษาปีท่ี 2 ก
ชดุ ท่ี 2 รูปแบบการใชว้ สั ดุ อุปกรณใ์ นงานทศั นศลิ ป์ของศิลปนิ

คำนำ

ชุดฝึกทักษะ เรื่องทักษะทัศนศิลป์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียน
คณะราษฎรบำรุง จังหวัดยะลา จัดทำข้ึนเพ่ือเป็นนวัตกรรมที่ใช้ประกอบการจัดกิจกรรมการ
เรียนรู้ รายวิชาทัศนศิลป์ ศ 22101 ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2565 กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 2 เพ่ือพัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้สอดคล้องกับสมรรถนะสำคัญตามหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน 2551 โดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ และการปฏิบัติจริง ผ่าน
กระบวนการกล่มุ ซ่งึ ครผู ู้สอนทำหน้าทใ่ี หค้ ำแนะนำตลอดการจัดการเรียนรู้
ผู้จัดทำได้สร้างชุดฝึกทักษะเพ่ือให้นักเรียนสามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง โดยได้วิเคราะห์หลักสูตร
มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวช้ีวัด ตลอดจนการกำหนดสาระการเรียนรู้ ทั้งน้ีผู้เรียนจำเป็นต้องศึกษา
ข้ันตอนการใช้ชุดฝึกทักษะก่อนลงมือทำใบงานท่ีกำหนดไว้ในชุดฝึกทักษะ เรื่องทักษะทัศนศิลป์
จำนวน 4 ชุด ดังนี้

ชุดที่ 1 เรื่อง รูปแบบทศั นธาตุและแนวคดิ ในงานทัศนศิลป์
ชดุ ที่ 2 เรือ่ ง รปู แบบการใชว้ สั ดุ อุปกรณใ์ นงานทัศนศลิ ป์ของศิลปิน
ชดุ ที่ 3 เรื่อง การวาดภาพส่อื ความหมายและเรอ่ื งราว
ชดุ ที่ 4 เรื่อง การวาดภาพถ่ายทอดบคุ ลกิ ลักษณะตัวละคร

ผู้จัดทำหวังเป็นอย่างยิ่งว่า ชุดฝึกทักษะ เรื่องทักษะทัศนศิลป์ จะเป็นประโยชน์ต่อครู
และนักเรียนตลอดจนถึงผู้ที่สนใจท่ัวไป ทำให้การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ส่งผลให้สาระทัศนศิลป์มี
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนท่ีสูงข้ึน ขอขอบคุณผู้มีส่วนเก่ียวข้องทุกท่าน ที่ทำให้ชุดฝึกทักษะนี้สำเร็จ
ด้วยดี

โสพิศ ชาติพนั ธ์ุ

ชุดฝึกทักษะ เรอ่ื งทักษะทัศนศิลป์ ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 2 ข
ชดุ ที่ 2 รูปแบบการใช้วัสดุ อุปกรณ์ในงานทัศนศิลปข์ องศิลปนิ

สารบญั

เร่อื ง หนา้
คำนำ ก
สารบัญ ข
สารบัญภาพ ค
ข้นั ตอนการเรียน 1
คำแนะนำสำหรบั ครู 2
คำแนะนำสำหรับนกั เรียน 3
สาระ/มาตรฐานการเรยี นรู้/ตัวชวี้ ัด 4
สาระสำคญั /สาระการเรยี นรู้/จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 5
แบบทดสอบก่อนเรียน 6
กระดาษคำตอบแบบทดสอบกอ่ นเรียน 8
ใบความรู้ เรอ่ื ง รปู แบบการใช้วัสดุ อุปกรณ์ในงานทศั นศิลป์ของศลิ ปนิ 9
ใบงานท่ี 1 เรื่อง ความหมายของการโฆษณา 14
ใบงานท่ี 2 เร่ือง รปู แบบของการโฆษณา 15
แบบทดสอบหลังเรียน 20
กระดาษคำตอบแบบทดสอบหลงั เรียน 22
บรรณานุกรม 23
ภาคผนวก 24
25
เฉลยแบบทดสอบก่อนเรยี น 26
แนวการตอบในงานท่ี 1 27
แนวการตอบในงานท่ี 2 32
เฉลยแบบทดสอบหลงั เรียน 33
เกณฑ์การประเมนิ การทำแบบทดสอบหลังเรียน 34
เกณฑ์การประเมินการทำใบงานแบบฝึกทักษะ 35
ประวัตผิ ู้จัดทำ 48
ตวั อยา่ งผลงานนกั เรยี น

ชุดฝึกทกั ษะ เร่ืองทกั ษะทศั นศิลป์ ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 2 ค
ชุดท่ี 2 รูปแบบการใช้วัสดุ อุปกรณ์ในงานทศั นศลิ ปข์ องศลิ ปิน

สารบญั ภาพ

ภาพที่ หนา้

1 เฟอื้ หริพิทกั ษ์ 9

2-3 ผลงานของเฟ้อื หริพิทักษ์ 10

4 คณุ ยากับอสี ี 12

5 สวัสดิ์ ตนั ตสิ ุข 13

6-7 ผลงานของสวสั ดิ์ ตนั ตสิ ขุ 14

8 เช้า สัตหบี 16

9 ถวัลย์ ดัชนี 17

10-11 ผลงานของถวลั ย์ ดัชนี 19

12 ชำเรือง วิเชียรเขตต์ 20

13-15 ผลงานของชำเรือง วเิ ชียรเขตต์ 22

16 นนทวิ รรธน์ จนั ทนะผะลนิ 23

17-20 ผลงานของนนทิวรรธน์ จันทนะผะลนิ 25

21 กมล ทศั นาญชลี 27

22-24 ผลงานของกมล ทศั นาญชลี 29

25-27 ความแตกต่างของผลงานของศิลปินสาขาจิตรกรรม 30

28-30 ความแตกตา่ งของผลงานของศลิ ปนิ สาขาประตมิ ากรรมและสอ่ื ผสม 31

ชดุ ฝกึ ทกั ษะ เรอ่ื งทักษะทัศนศลิ ป์ ช้นั มัธยมศึกษาปที ี่ 2 1
ชดุ ที่ 2 รปู แบบการใช้วัสดุ อุปกรณ์ในงานทศั นศิลปข์ องศลิ ปนิ

ชดุ ฝกึ ทกั ษะ เร่ืองทักษะทัศนศลิ ป์ ชนั้ มธั ยมศึกษาปีที่ 2 2
ชุดที่ 2 รูปแบบการใชว้ ัสดุ อุปกรณใ์ นงานทศั นศิลป์ของศลิ ปิน

คำแนะนำสำหรบั ครูผสู้ อน

ชุดฝึกชุดท่ี 2 เรื่อง รูปแบบการใช้วัสดุ อุปกรณ์ในงานทัศนศิลป์ของศิลปิน ชุดนี้ เป็นส่วน
หนึ่งของนวัตกรรมประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เพ่ือพัฒนาทักษะทางด้านทัศนศิลป์เพ่ือการโฆษณา
สำหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนคณะราษฎรบำรุง จังหวัดยะลา เป็นกิจกรรมที่ครูผู้สอน
มอบหมายให้นักเรียนได้ฝึกฝนด้วยตนเองจนเกิดความชำนาญ ดังน้ันเพ่ือให้เกิดประสิทธิภาพในการจัด
กจิ กรรมการเรยี นรู้ ใหค้ รูผูส้ อนปฏบิ ัตติ ามคำแนะนำดงั ต่อไปนี้

1. ชุดฝึกทักษะ ชุดท่ี 2 เร่ือง รูปแบบการใช้วัสดุ อุปกรณ์ในงานทัศนศิลป์ของศิลปิน ชุดนี้
เป็นนวัตกรรมประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีครูผู้สอนมอบหมายให้นักเรียนได้ฝึกฝนด้วยตนเองจน
เกดิ ความชำนาญ

2. ครูผูส้ อนควรจัดกิจกรรมการเรียนรตู้ ามแผนการจัดการเรยี นรู้ควบคู่กับการนำชุดฝึกทกั ษะชุดท่ี
1 เรอ่ื งงานทัศนศลิ ป์ในการโฆษณาไปใช้กบั นักเรียน

3. ครูผู้สอนควรช้ีแจงจดุ ประสงคใ์ นการเรียนรู้ และบอกให้นักเรียนทราบถงึ วธิ ีการเรียนดว้ ยชุดฝึก
ทักษะ ชดุ ท่ี 1 เรอื่ งงานทศั นศลิ ป์ในการโฆษณา ก่อนให้นกั เรยี นลงมอื ปฏิบัติ

4. จัดบรรยากาศในช้ันเรยี นให้เหมาะสม
5. ให้นกั เรยี นทำแบบทดสอบก่อนเรยี น ก่อนทำใบงาน
6. ให้นักเรียนศึกษาใบความรู้ใหเ้ ข้าใจกอ่ นทำใบงาน
7. ในระหว่างท่ีนักเรียนทำกิจกรรมครูผู้สอนควรดแู ลนักเรียนและให้คำแนะนำอย่างใกล้ชิด สังเกต
พฤตกิ รรมนักเรยี น กระตุน้ เสรมิ แรงนักเรยี นอยู่เสมอ และบันทกึ ผลการทำใบงานภายในชดุ ฝึกทกั ษะ
8. เม่ือนักเรียนทำใบงานเสร็จ ครูควรให้นักเรียนร่วมกันเฉลยคำตอบและอธิบายเพ่ิมเติม ชื่นชม
นักเรยี นท่ีให้ความรว่ มมอื ในการใชช้ ดุ ฝกึ ทุกครัง้
9. ใหน้ ักเรียนทำแบบทดสอบหลังเรียน หลงั จากทำใบงานเสรจ็
10 .ตรวจผลงานการทำชุดฝึกทักษะ ชุดท่ี 1 เรื่องงานทัศนศิลป์ในการโฆษณา และบันทึกคะแนน
หลังเรยี น เพื่อสังเกตพฒั นาการของนักเรยี นทุกคร้งั

ชดุ ฝกึ ทักษะ เร่ืองทักษะทศั นศิลป์ ช้ันมัธยมศึกษาปที ี่ 2 3
ชดุ ที่ 2 รปู แบบการใชว้ สั ดุ อุปกรณ์ในงานทศั นศลิ ปข์ องศลิ ปนิ

คำแนะนำสำหรับนกั เรยี น

ชุดฝึกทักษะ ชุดที่ 2 เรื่อง รูปแบบการใช้วัสดุ อุปกรณ์ในงานทัศนศิลป์ของศิลปินชุดน้ี เป็น
ส่วนหนึ่งของนวัตกรรมประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เพ่ือพัฒนาทักษะทางด้านการจัด
องค์ประกอบศิลป์สำหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนคณะราษฎรบำรุง จังหวัดยะลา เป็น
กิจกรรมที่ครูผู้สอนมอบหมายให้นักเรียนได้ฝึกฝนด้วยตนเองจนเกิดความชำนาญ ดังน้ันเพ่ือให้เกิด
ประสทิ ธภิ าพในการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ ให้นักเรยี นปฏบิ ัติตามคำแนะนำดงั ตอ่ ไปนี้

1. อ่านคำแนะนำการใช้ชุดฝึกทักษะ ชุดท่ี 2 เร่ือง รูปแบบการใช้วัสดุ อุปกรณ์ในงาน
ทัศนศิลปข์ องศิลปนิ
2. ศึกษาและทำความเข้าใจมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด สาระสำคัญ สาระการเรียนรู้ และ
จุดประสงค์การเรยี นรู้
3. ทำแบบทดสอบกอ่ นเรียน
4. ศกึ ษาใบความร้ใู ห้เข้าใจก่อนทำใบงาน
5. ให้นักเรยี นทำแบบทดสอบกอ่ นเรียน กอ่ นทำใบงาน
6. ลงมอื ใชช้ ุดฝกึ ทักษะ ชดุ ท่ี 1 เรื่องงานทศั นศิลป์ในการโฆษณา ใหเ้ สร็จทลี ะกิจกรรม
7. เม่ือนักเรียนเกิดข้อสงสัย มีปัญหาเกี่ยวกับการทำใบงานในชุดฝึกทักษะ ชุดท่ี 2 เร่ือง
รปู แบบการใชว้ ัสดุ อุปกรณ์ในงานทศั นศิลปข์ องศิลปิน ให้นักเรยี นสอบถามจากครผู ู้สอนทนั ที
8. เม่ือนกั เรียนทำใบงานครบ ควรแลกเปลี่ยนความรู้ และร่วมกันเฉลยคำตอบพรอ้ มกับเพื่อน
ในชนั้ เรียน ฟังครูอธบิ ายเพ่ิมเติม
9. ทำแบบทดสอบหลงั เรียน
10.ส่งผลงานการทำชุดฝึกทักษะ ชุดท่ี 2 เร่ือง รูปแบบการใช้วัสดุ อุปกรณ์ในงานทัศนศิลป์
ของศลิ ปนิ เพอ่ื ให้ครูตรวจและบันทึกคะแนน
11.ในระหว่างทำใบงานนกั เรยี นควรใหค้ วามรว่ มมอื ตัง้ ใจ และตรงต่อเวลาเสมอ

ชุดฝึกทักษะ เรอื่ งทกั ษะทัศนศลิ ป์ ชัน้ มัธยมศึกษาปที ่ี 2 4
ชุดท่ี 2 รูปแบบการใชว้ สั ดุ อุปกรณใ์ นงานทศั นศิลปข์ องศิลปนิ

สาระ/มาตรฐานการเรียนร/ู้ ตวั ชี้วัด

สาระท่ี 1 ทศั นศิลป์

มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ศ 1.1สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ตามจินตนาการ และความคิดสร้างสรรค์
วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์คุณค่างานทัศนศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่องาน
อย่างอสิ ระ ช่ืนชม และประยุกตใ์ ชใ้ นชีวติ ประจำวัน

ตวั ชี้วดั
ศ 1.1 ม.2/2 บรรยายเก่ียวกับความเหมือนและความแตกตา่ งของรปู แบบการใชว้ ัสดุ
อุปกรณ์ในงานทัศนศลิ ป์ของศิลปิน

ชุดฝกึ ทักษะ เรอ่ื งทักษะทัศนศลิ ป์ ชัน้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 2 5
ชดุ ท่ี 2 รปู แบบการใชว้ สั ดุ อุปกรณ์ในงานทัศนศิลปข์ องศิลปนิ

สาระสำคญั /สาระการเรยี นร/ู้ จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้

สาระสำคัญ

การสร้างสรรค์ผลงานทางด้านทัศนศิลป์ ถือเป็นกิจกรรมเชิงปฏิบัติในลักษณะของการค้นคว้า
ทดลอง และการลงมือปฏิบัติจริง ซ่ึงผลงานทุกช้ินจะตอ้ งมีความเกี่ยวข้องกับแนวคิด รปู แบบการใช้วัสดุ
อุปกรณ์ ตลอดจนเทคนิควิธีท่ีจะถ่ายทอดจินตนาการให้ออกมาเป็นผลงานท่ีเป็นรูปธรรม มีความงามให้
ผูอ้ ่นื สัมผัสได้

สาระการเรยี นรู้

1. ศลิ ปนิ ทศั นศิลปส์ าขาจิตรกรรม
2. ศิลปินทศั นศลิ ปส์ าขาประติมากรรมและสอ่ื ผสม
3. ความเหมือนและความแตกตา่ งของรปู แบบการใช้วสั ดุ อุปกรณ์ในงานทัศนศิลป์ของศิลปนิ

จุดประสงค์การเรียนรู้

1. ความรู้ความเข้าใจเกีย่ วกับรูปแบบการใชว้ สั ดุ อปุ กรณ์ในงานทศั นศิลป์ของศลิ ปิน (K2)
2. สามารถจำแนกรูปแบบการใชว้ ัสดุ อปุ กรณใ์ นงานทศั นศิลป์ของศิลปนิ (P3)
3. การมเี จตคติทดี่ ี การเห็นคุณคา่ ของงาน และการเรยี นอยา่ งมคี วามสุข (A3)

ชุดฝกึ ทักษะ เรอื่ งทักษะทัศนศลิ ป์ ช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี 2 6
ชุดท่ี 2 รปู แบบการใชว้ ัสดุ อุปกรณใ์ นงานทัศนศิลปข์ องศิลปนิ

แบบทดสอบก่อนเรียน
เร่อื งทักษะทศั นศลิ ป์
ชดุ ที่ 2 เร่อื ง รูปแบบการใช้วัสดุ อุปกรณ์ในงานทัศนศลิ ปข์ องศิลปนิ

คำชแ้ี จง 1. แบบทดสอบกอ่ นเรยี นมีจำนวน 10 ข้อ คะแนนเตม็ 10 คะแนน 2. ใหเ้ ลอื กคำตอบที่ถกู ต้อง
ที่สุดเพยี งขอ้ เดียวโดยทำเครือ่ งหมายกากบาท ( x ) ในช่องขอ้ ก, ข, ค, หรือ ง ในกระดาษคำตอบ

1. ข้อใดคือศลิ ปนิ ทัศนศลิ ป์สาขาจิตรกรรม ข. นนทิวรรธน์ จนั ทนะผะลนิ
ก. กมล ทัศนาญชลี ง. ชำเรอื ง วเิ ชยี รเขตต์
ค. สวัสด์ิ ตันติสขุ

2. ศลิ ปินในขอ้ ใดใช้สนี ำ้ กบั สีนำ้ มันเป็นหลัก ข. ถวัลย์ ดัชนี
ก. เฟื้อ หรพิ ิทักษ์ ง. ศิลป์ พรี ะศรี
ค. สวสั ด์ิ ตันติสขุ

3. ข้อใดไมใ่ ชเ่ ทคนคิ สาขาจติ รกรรม ข. สีน้ำมันบนผืนผ้าใบ
ก. สนี ้ำบนกระดาษ ง. ภาพพมิ พแ์ กะไมบ้ นกระดาษ
ค. สชี อล์กบนกระดาษ

4. จติ รกรรมเทคนิคผสม ใช้วสั ดุ อุปกรณช์ นิดใด ข. สนี ำ้ กับพกู่ ันบนกระดาษ
ก. สนี ำ้ มนั กบั สอี ะคริลกิ บนผืนผ้าใบ ง. สีฝนุ่ บนผนื ผา้ ใบ
ค. ภาพพมิ พ์บนกระดาษ

5. จิตรกรรมเทคนิคสอื่ ผสม ใช้วสั ดุ อุปกรณช์ นิดใด

ก. ปากกากบั ดินสอสี ข. สชี อลก์ กบั สีอะคริลกิ

ค. สอี ะคริลกิ กับลกู ปดั ง. สีน้ำกับสโี ปสเตอร์

ชดุ ฝกึ ทกั ษะ เร่อื งทกั ษะทศั นศิลป์ ช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี 2 7
ชุดท่ี 2 รปู แบบการใช้วัสดุ อุปกรณใ์ นงานทัศนศลิ ปข์ องศิลปนิ

6. จากภาพ เปน็ ประติมากรรมโดยใช้เทคนคิ ในข้อใด

ก. เทคนคิ ดินเผา ข. เทคนิคบรอนซ์ ชุบโครเมย่ี ม

ค. เทคนคิ ดนิ นำ้ มัน ง. เทคนคิ ปนู ปลาสเตอร์

7. กมล ทศั นาญชลี มีความเช่ียวชาญในด้านเทคนิคใด
ก. การใช้เทคนิคสอ่ื ผสม
ข. การใช้เทคนิคหล่อ
ค. การใช้เทคนคิ ป้ัน
ง. การใช้เทคนิคสำรดิ ปิดทอง

8. ศิลปนิ ในขอ้ ใดสร้างสรรค์งานประติมากรรมเชงิ นามธรรม แฝงแง่คิด ปรชั ญาทางศาสนา
ก. ชำเรอื ง วเิ ชยี รเขตต์
ข. เฟอ้ื หรพิ ิทักษ์
ค. กมล ทศั นาญชลี
ง. นนทวิ รรธน์ จันทนะผะลิน

9. ศลิ ปนิ ในข้อใดที่ยงั มีชวี ิตในปจั จุบัน
ก. เฟือ้ หรพิ ิทักษ์
ข. นนทิวรรธน์ จนั ทนะผะลิน
ค. กมล ทัศนาญชลี
ง. ถวลั ย์ ดชั นี

10. ศิลปนิ ในข้อใดใช้เทคนิคตวดั ดว้ ยพู่กนั ขนาดใหญ่

ก. ชำเรอื ง วิเชยี รเขตต์ ข. ศิลป์ พรี ะศรี

ค. ถวัลย์ ดัชนี ง. เฟ้อื หริพทิ ักษ์

ชุดฝึกทักษะ เรอ่ื งทักษะทัศนศลิ ป์ ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 2 8
ชดุ ที่ 2 รปู แบบการใชว้ ัสดุ อุปกรณใ์ นงานทศั นศลิ ปข์ องศลิ ปนิ

กระดาษคำตอบแบบทดสอบกอ่ นเรียน
เรือ่ งทักษะทศั นศลิ ป์

ชดุ ท่ี 2 เรอ่ื ง รูปแบบการใช้วสั ดุ อปุ กรณ์ในงานทศั นศิลป์ของศลิ ปนิ

ชอ่ื -สกลุ …………………………………………………………………………..ชั้น…………………..…….เลขที่………………

ขอ้ ก ข ค ง
1

2

3

4

5

6

7

8

9

10

คะแนนท่ไี ด้

ชุดฝึกทกั ษะ เรอ่ื งทกั ษะทัศนศิลป์ ช้นั มธั ยมศึกษาปที ี่ 2 9
ชุดท่ี 2 รปู แบบการใชว้ สั ดุ อุปกรณใ์ นงานทัศนศลิ ป์ของศลิ ปิน

ใบความรู้

เร่อื ง รปู แบบการใชว้ ัสดุ อปุ กรณ์ในงานทัศนศลิ ปข์ องศิลปนิ

1. ศิลปินทัศนศิลปส์ าขาจติ รกรรม
ในหน่วยการเรียนรู้น้ีผู้เรียนจะได้ทราบถึงเรื่องราวการดำเนินชีวิตและผลงานของศิลปินบาง

ท่านทส่ี ำคัญทีม่ ผี ลงานดา้ นจิตรกรรมเดน่ ๆ ดงั นี้

1.1 เฟอื้ หริพทิ ักษ์

ท่ีมา : //www.greatstarsartshow.com/art/1268

1) ประวัติสงั เขป อาจารย์เฟอื้ หรพิ ทิ กั ษ์ มนี ามเดมิ วา่ นายเฟ้อื ทองอยู่ เกิดเมือ่ วนั ท่ี 22 เมษายน พ.ศ. 2453 ท่ี
ปากคลองวดั ราษฎรบ์ ูรณะ ฝ่ังธนบุรี กรงุ เทพมหานคร ในช่วงวัยเยาว์ไดม้ าอยูใ่ นความอปุ การะของคุณยายทับทิม ซึง่ มีท่ี
พำนกั อย่บู ริเวณหลังวัดสุทศั นเทพวรารามราชวรมหาวหิ าร กรุงเทพมหานคร

การศึกษาช่วงวัยเยาว์ หลังสำเร็จการศึกษในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ได้เข้ารบั การศึกษาด้านศิลปะที่
โรงเรียนเพาะชา่ ง ใน พ.ศ. 2474 โรงเรยี นประณีตศิลปกรรม กรมศิลปากร พ.ศ. 2479 และศึกษาศลิ ปะทว่ี ิทยาลัยวิศว
ภารติ ณ ศานตินิเกตัน ประเทศอินเดีย พ.ศ. 2483 ต่อมาในปี พ.ศ. 2497 – 2499 รัฐบาลอิตาลีให้เดินทางไปศึกษาต่อ
ทางด้านศิลปกรรมและดูงานท่ีประเทศอิตาลี เมื่อเดินทางกลับมาได้เข้ารับราชการเป็นอาจารย์สอนศิลปะรุ่นแรกของ
มหาวทิ ยาลัยศิลปากร

ชุดฝกึ ทกั ษะ เรือ่ งทกั ษะทศั นศลิ ป์ ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 2 10
ชดุ ที่ 2 รปู แบบการใชว้ ัสดุ อุปกรณ์ในงานทศั นศลิ ปข์ องศลิ ปิน

ท่านเป็นบุคคลที่สนใจศึกษาศิลปะอย่างมุ่งม่ัน ด้วยการดันหาแนวทางสร้างสรรค์ให้เหมาะกับ
การแสดงออกทางด้านจิตรกรรมท่ีมีลักษณะเฉพาะตน โดยมีการถ่ายทอดสภาพแวดล้อม บรรยากาศ
แสง - เงาประกอบกับความคดิ คำนึงถงึ สีสันที่ไดร้ ับอทิ ธิพลจากศิลปะยโุ รปในยุดฟ้ืนฟูศิลปวทิ ยาการ มี
การใชแ้ ปรงที่ฉับพลันดังปรากฏในผลงานจิตรกรรมมากมาย เช่น จิตรกรรมพระธาตุหรภิ ุญชัย จังหวัด
ลำพูน ภายในชอ่ งคหู าของพระอุโบสถวดั เบญจมบพิตรดสุ ิตวนารามราชวรวหิ ารกรุงเทพมหานคร ภาพ
จิตรกรรมทิวทัศน์เมืองเวนิส ภาพจัตุรัสปอปโปโล กรุงโรม ประเทศอิตาลี ภาพสถูปดชูราโหประเทศ
อนิ เดยี ภาพทวิ ทัศนเ์ มอื งเชยี งใหม่ ภาพเหมือนคณุ ยายกบั อสี ี ภาพเหมอื นบุคคลตา่ งๆ เปน็ ตน้

ท่านเป็นอาจารย์ประจำภาควิชาจิตรกรรมท่ีมหาวิทยาลัยศิลปากร ดำรงตำแหน่งผู้ช่วย
ศาสตราจารย์ประจำคณะจิตรกรรม ประติมากรรม และภาพพิมพ์รวมท้ังเป็นหัวหน้าแผนกวิชา
จิตรกรรมและประติมากรรมเป็นผู้เช่ียวชาญด้านศิลปะไทยท่ีได้ทำการซ่อมอนุรักษ์และตัดลอก
ภาพเขียนโบราณ โดยรว่ มมือกบั กรมศิลปากรในการใช้นำ้ ยาเคมีรักษาภาพจิตรกรรมฝาผนังภายในพระ
อุโบสถวัดใหญ่ สุวรรณ าราม จังหวัดเพชรบุรี และพระอุโบสถวัดประดู่ทรงธรรม จังหวัด
พระนครศรีอยุธยาฯลฯ เป็นกรรมการคัดเลือกงานและตัดสินงานศิลปะ เป็นนักวิจัยอาวุโสด้าน
ศลิ ปกรรมไทยของสถาบนั ไทยดศี กึ ษามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

“ศ.ศลิ ป์ พรี ะศรี (ภาพเหมอื น)” ผลงานของ “เสอ้ื แดง” ผลงานของเฟอื้ หรพิ ิทกั ษ์ ใชเ้ ทคนคิ
เฟ้อื หรพิ ิทักษ์ ใชเ้ ทคนคิ สีชอลค์ สีน้ำมนั

ท่ีมา : //www.thairath.co.th/content/155383

ท่านได้รับเกียรติยกย่องให้เป็นศิลปินชั้นเยี่ยมและได้รับการขนานนามว่าเป็น "ครูใหญ่ใน
วงการศิลปะ"ทา่ นถงึ แก่อนิจกรรม เมอ่ื วันท่ี 19 ตุลาคม พ.ศ. 2536 รวมอายไุ ด้ 83 ปี

ชดุ ฝึกทกั ษะ เรื่องทักษะทัศนศิลป์ ชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี 2 11
ชุดท่ี 2 รปู แบบการใชว้ สั ดุ อุปกรณใ์ นงานทัศนศิลปข์ องศิลปิน

2) ผลงานและเกียรติคุณ อาจารย์เฟื้อ หริพิทักษ์ ได้รับการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งเป็นราช
บัณฑิตประเภทวิจิตรศิลป์ เน่ืองจากทรงพิจารณาเห็นว่า ท่านได้สร้างสรรค์งานศิลปะจนได้รับยก
ย่องจากประเทศและต่างประเทศว่าเป็นศิลปีนช้ันเยี่ยม ทั้งได้อุทิศตนในการอนุรักษ์ภาพจิตรกรรม
ฝาผนังมากว่า ๑0 ปี

ทางด้านผลงานจติ รกรรม ท่านได้สร้างสรรคผ์ ลงานดา้ นจิตรกรรมไว้อย่างมากมาย มกี ารนำ
ผลงานของท่านไปแสดงในโอกาสสำคัญๆ หลายครั้ง เชน่ จัดแสดงผลงานร่วมกับคณะศลิ ปินภายใน
บริเวณค่ายกักกันประเทศอินเดีย การจัดแสดงภาพตัดลอกภาพเขียนโบราณ ณ สถานทูตไทย
ประจำกรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษร่วมจัดแสดงงานศิลปกรรมแห่งชาติหอศิลป์ กรมศิลปากร
กรุงเทพมหานคร รวมทง้ั แสดงผลงานเด่ียวอกี หลายคร้ังเกยี รตคิ ณุ สำคญั ทีไ่ ดร้ บั เช่น

ㆍรางวัลเกียรตินิยมอันดับ 1 เหรียญทอง ประเภทจิตรกรรม ในการแสดงศิลปกรรม
แห่งชาตริ วม 3 ครง้ั คือ ครง้ั ที่ 1 พ.ศ. 2442 ครง้ั ที่ 2 พ.ศ.2493 และครัง้ ที่ 8 พ.ศ.2500

ㆍรางวัลเกียรตินิยมอันตับ 3 เหรียญทองแดง ประเภทจิตรกรรม ในการแสดงศิลปกรรม
แห่งชาติครงั้ ที่ 4 พ.ศ. 2496

ㆍได้รับเกยี รติยกย่องให้เป็นศิลปินชน้ั เยย่ี ม ประเภทจิตรกรรม พ.ศ.2500

ㆍได้รับรางวัลแมกไซไซ สาขาบริการชุมชน ประจำปี พ.ศ. 2526 จากมูลนิธิแมกไซไซ
ประเทศ

ㆍศิลปนิ แห่งชาติ สาขาทศั นศลิ ป์ (จิตรกรรม) ประจำปี พ.ศ. 2528 ฟิลปิ ปนิ ส์
นอกจากท่านจะเป็นผู้ทรงคุณวุฒิทางด้านศิลปะ ทำหน้าท่ีในการถ่ายทอดความรู้ให้แก่ลูก
ศิษย์แล้วท่านยังได้ปฏิบัติหน้าที่อันเป็นประโยชน์ต่อวงการศิลปะไทยอีกหลายอย่างท่ีสำคัญ คือ การ
อนุรักษ์ศิลปกรรมไทยโดยได้ดำเนินการคัดลอกลายภาพจิตรกรรมฝาผนังไว้หลายแห่ง ผลงานของท่าน
ไดท้ ำให้เกดิ การตน่ื ตัวในการสร้างสรรค์งานศิลปะในรูปแบบของจิตรกรรมไทยแนวใหม่ขึน้ มา

ชดุ ฝึกทักษะ เร่อื งทกั ษะทศั นศิลป์ ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 2 12
ชุดที่ 2 รูปแบบการใชว้ สั ดุ อุปกรณใ์ นงานทัศนศิลป์ของศลิ ปิน

“คุณยากับอีสี” (พ.ศ. 2482) ผลงานของ
เฟ้อื หริพทิ กั ษ์ เทคนคิ สีนำ้ มนั

ท่มี า ://www.sysp.ac.th/external_newsblog.php?language=En&usid=&links=292

3) รูปแบบการใช้วัสดุ อุปกรณ์ในการสร้างสรรค์ผลงาน ท่านเป็นศิลปินที่มี
ความสามารถในการสร้างสรรค์ผลงานจิตรกรรมสูง (แต่ในบางโอกาสท่านก็ได้มีการ
สร้างสรรค์ผลงานด้านประติมากรรมด้วย) ผลงานส่วนใหญ่จะเป็นภาพวาดด้วยสีน้ำมันบน
ผืนผ้าใบ โดยอุปกรณ์ในการวาดภาพ จะใช้พู่กันและแปรงขนาดต่างๆเนื่องจากท่านมีความ
ฉับไวในการปาดป้ายฝแี ปรงและพู่กัน ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับแนวคิดของท่านท่ีต้องการถา่ ยทอดหาก
เป็นภาพเหมือนจรงิ เชน่ ภาพคุณยายกบั อีสี (อสี คี ือ แมวของคณุ ยาย ลกั ษณะภาพท่ีทา่ นส่ือ
ออกมา จะส่ือให้เห็นรายละเอียดทุกส่วน จึงใช้พู่กันขนาดเล็กเพื่อใช้ในการเก็บรายละเอียด
ปลีกย่อย ส่วนภาพอื่นๆ เช่นภาพนางแบบ (องค์ประกอบ) เป็นภาพเขียนสีน้ำมันบนผ้าใบ
และภาพน้ำเงิน - เขียว หรือภาพใบหน้าเป็นภาพในลักษณะแบบกึ่งนามธรรม (Semi
Abstract) อุปกรณ์ท่ีใช้เป็นพู่กันและแปรงเพื่อใช้กับส่วนเนื้อท่ีต้องการแสดงลักษณะพ้ืนผิว
และแสงเงาของรูปทรงขนาดใหญ่

ผลงานของท่านจะแบง่ ออกเปน็ ๓ ระยะ คือระยะแรกประมาณ พ.ศ. ๒๔๗๐
- ๒๔๘๔ เป็นแนวอิมเพรสชันนิสม์ (Impressionism) ระยะท่ี ๒ ประมาณพ.ศ. ๒๔๙๒ มี
ลักษณะเป็นงานทิวทัศน์สมัยใหม่ และระยะที่ ๓ ประมาณ พ.ศ. ๒๔๙๘ มีลักษณะ
หลากหลายแนวทาง

ชดุ ฝึกทกั ษะ เรือ่ งทักษะทศั นศลิ ป์ ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 2 13
ชดุ ท่ี 2 รูปแบบการใชว้ สั ดุ อุปกรณใ์ นงานทศั นศิลป์ของศลิ ปิน

1.2 สวัสด์ิ ตนั ตสิ ขุ

ท่มี า : //สศช.com/hall-of-fame/

1) ประวัติสังเขป อาจารย์สวัสด์ิ ดันดิสุข เกิดเมื่อวันที่ 24 เมษายน พ.ศ. 2468 ท่ีบ้านริม
คลองภาษีเจริญ เขตภาษีเจริญ กรุงเทพมหานคร วัยเยาว์จบการศึกษาจากโรงเรียนวัดรางบัว โรงเรียน
วดั นวลนรดิศสำเรจ็ การศกึ ษาศิลปะจากโรงเรยี นเพาะชา่ ง ไดร้ บั อนปุ ริญญาศิลปบัณฑิต สาขาจิตรกรรม
และประติมากรรมจากมหาวิทยาลัยศิลปากร เม่ือ พ.ศ. 2488 จากน้ันได้ไปศึกษาต่อด้านจิตรกรรมท่ี
สถาบั น วิจิต รศิล ป์ แห่ งกรุงโรม (Academy of Fine Arts in Rome) ป ระเท ศอิต าลี ได้รับ
ประกาศนยี บัตรสาขาจิตรกรรม เมอื่ พ.ศ. 2513

หลังจบการศึกษาจากมหาวิทยาลัยศิลปากร ท่านได้เร่ิมเข้ารับราชการในตำแหน่งช่างตรีใน
แผนกหัตถศิลป์กองสถาปัตยกรรม กรมศิลปากร ต่อมาได้เล่ือนเป็นหัวหน้าแผนกกลาง ในสังกัด
มหาวิทยาลัยศิลปากรเม่ือ พ.ศ. 2497 รวมทั้งเป็นอาจารย์สอนวชิ าจิตรกรรมและทฤษฎีสี เป็นอาจารย์
ใหญ่โรงเรียนช่างศิลป์ กรมศิลปากร ในปี พ.ศ. 2504 และเลื่อนขึ้นเป็นผู้อำนวยการวิทยาลัยช่างศิลป์
กรมศิลปากร ในปี พ.ศ.2518 และดำรงตำแหนง่ น้จี นเกษียณอายุราชการเม่ือปี พ.ศ. 2529 ในตำแหน่ง
ชา่ งศลิ ปร์ ะดบั 9

ชุดฝึกทักษะ เร่อื งทกั ษะทัศนศิลป์ ช้ันมธั ยมศึกษาปที ่ี 2 14
ชุดท่ี 2 รปู แบบการใช้วสั ดุ อุปกรณใ์ นงานทศั นศลิ ป์ของศิลปนิ

ท่านเป็นศิลปินอาวุโสคนสำคัญ เป็นหนึ่งในผู้บุกเบิกศิลปะสมัยใหม่ของประเทศไทย และมี
ผลงานจิตรกรรมโดดเด่นเป็นที่ยอมรับของวงการศิลปะทั้งในอดีตและปัจจุบัน โดยท่านได้สร้างสรรค์
ผลงานศิลปะอยา่ งตอ่ เนื่องเป็นเวลายาวนานกว่า 50 ปี

การบุกเบิกงานจิตรกรรมที่สำคัญของท่านก็คือ ได้สร้างสรรค์ผลงานจากแบบรูปธรรม
(Realistic) ให้เป็นรูปแบบนามธรรม (Abstract Art) ซึ่งมีผลต่อพัฒนาการแนวคิดด้านจิตรกรรมของ
ศิลปินรุ่นหลัง ตลอดจนอุทิศตนให้กับการสอนและการเผยแพร่ศิลปะโบราณและสมัยใหม่ให้แก่
นกั ศึกษาในสถาบนั การศึกษาตา่ งๆ รวมทง้ั ประชาชนท่วั ไป

ท่านได้ร่วมแสดงผ่ ลงานในงานแสดงศิลปกรรมแห่งชาติ ศิลปะนานาชาติ และการแสดงศิลปะ
อื่นๆ อย่างมากมาย ซึ่งผลงานของท่านเป็นประโยชน์ช่วยให้เกิดแนวคิดแ ละช่วยสร้างสรรค์
ความกา้ วหน้าใหก้ ับวงการศิลปะไทยเป็นอย่างมาก

บ้ันปลายของชีวิต แม้จะอยู่ในวัยสูงอายุ ท่านก็ยังคงมีความสนใจและร่วมแสดงบทบาทใน
วงการศิลปะโดยเป็นสมาชิกสมาคมจิตรกรรมสีน้ำอาเซียนและสมาคมศิลปะต่างๆ ท่านยังคงเข้าร่วม
ประชุมของราชบัณฑิตยสถานอยา่ งสม่ำเสมอ และเสนอบทความที่น่าสนใจ หรอื ส่ิงที่ต้นพบจากการดัน
คว้าวิจัยต่อที่ประชุมสำนักศิลปกรรมราชบัณฑิตยสถาน และถ่ายทอดความรู้ให้แก่สังคมอยู่บ่อยครั้ง
ทา่ นถงึ แก่อนิจกรรมเม่อื พ.ศ. 2552 รวมอายไุ ด้ 84 ปี

“ดอกไม้” (2502) ผลงานของ “บรัคซาโน” (2502) ผลงานของ
สวัสดิ์ ตันตสิ ขุ เทคนคิ สนี ้ำมนั สวสั ด์ิ ตนั ตสิ ขุ เทคนคิ สนี ำ้ มนั

ท่มี า : 1. //4.bp.blogspot.com/-ldi7ibiAsxo/VlxGxu0ONRI/

2. //3.bp.blogspot.com/-KmFN-5L6b3Y/VlxHJ24iirI/

ชดุ ฝึกทักษะ เร่อื งทกั ษะทศั นศลิ ป์ ชนั้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 2 15
ชุดท่ี 2 รูปแบบการใชว้ สั ดุ อุปกรณ์ในงานทศั นศลิ ปข์ องศิลปนิ

2) ผลงานและเกียรติคุณ อาจารย์สวัสดิ์ ดันติสุข ได้สร้างสรรค์ผลงานศิลปะท่ีมีคุณภาพ
ออกมาอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง ผลงานหลายช้นิ ของท่านได้รบั การยกย่องและชนะการประกวดในระดับชาติหลาย
ครัง้ ผลงานท่สี ำคัญ เช่น

ㆍรางวัลเกียรตินิยมอันดับ 1 เหรียญทองประเภทจิตรกรรม ในการแสดงศิลปกรรมแห่งชาติ
รวม 2 ครั้ง คือ ครัง้ ที่ 5 พ.ศ. 2497 และครง้ั ท่ี 6 พ.ศ. 2498

ㆍรางวัลเกียรตินิยมอันดับ 2 เหรียญเงินประเภทจิตรกรรม ในการแสดงศิลปกรรมแห่งชาติ
รวม 3 ครั้ง

ㆍรางวัลเกียรตินิยมอันดับ 3 เหรียญทองแดงประเภทจิตรกรรม ในการแสดงศิลปกรรม
แหง่ ชาติ รวม 2 ครัง้

ㆍรางวลั เหรียญทอง การแสดงงานจติ รกรรม กรงุ ราเวนนา ประเทศอิตาลี พ.ศ. 2502

ㆍ รางวัลท่ี 1 ประเภทจติ รกรรม จากมหาวทิ ยาลัยแหง่ กรุงโรม ประเทศอติ าลี พ.ศ. 2503
ผลงานจิตรกรรมของท่านที่สร้างสรรค์ออกมา มีอยู่หลายภาพที่มีความงคงาม เช่น ภาพหมู่
เรือประมงภาพสายลม ภาพสู่สรรค์ ภาพชายทะเลยามพายุมา ภาพทะเลสีเงิน เป็นต้น ผลงานท่ี
สร้างสรรค์ส่วนใหญใ่ ช้ท้ังเทคนิคสีน้ำและสีนำ้ มนั โดยใช้เส้นน้อยเสน้ แต่ดูมีชีวิตชีวา ท่านได้สร้างสรรค์
ผลงานจำนวนมากให้แก่วงการศิลปะ-ไทย ซง่ึ เกียรติคุณท่ที า่ นได้รับ มดี ังนี้

ㆍศิลปินชนั้ เยย่ี ม (สาขาจิตรกรรม) จากการแสดงงานศิลปกรรมแหง่ ชาติ พ.ศ. 2498

ㆍศลิ ปนิ ดุษฎีบัณฑิตกติ ติมศกั ด์ิ จากมหาวทิ ยาลยั ศิลปากร พ.ศ. 2527

ㆍศลิ ปนิ แห่งชาติ สาขาทศั นศลิ ป์ (จติ รกรรม) พ.ศ. 2534
ผลงานจิตรกรรมของท่านถูกนำไปจัดแสดงอย่างถาวรในสถานที่สำคัญหลายแห่ง เช่น
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หอศิลป์ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติศิลป์ พีระศรีอนุสรณ์ พิพิธภัณฑสถาน
แหง่ ชาติ ประเทศมาเลเซียพพิ ธิ ภัณฑสถานแห่งชาติ ประเทศสิงคโปร์ เปน็ ตน้

ชุดฝกึ ทักษะ เร่ืองทักษะทัศนศลิ ป์ ช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี 2 16
ชุดที่ 2 รปู แบบการใชว้ ัสดุ อุปกรณ์ในงานทัศนศิลป์ของศลิ ปนิ

“เชา้ สัตหบี ” (2530) ผลงานของสวสั ด์ิ ตนั ติสุข
เทคนิคสนี ้ำ

ท่มี า : //สศช.com/wp-content/uploads/2018/07/_n.jpg

3) รูปแบบการใช้วัสดุ อุปกรณ์ในการสร้างสรรค์ผลงาน อาจารย์สวัสดิ์ ตันติสุข
สร้างสรรค์ผลงานศิลปะด้านจิตรกรรมโดยใช้สีน้ำและสีน้ำมันเป็นหลัก อุปกรณ์มีท้ังกระดาษ
และผ้าใบ มีความแม่นยำในเร่ืองรูปทรง โครงสร้าง และบรรยากาศ ในด้านสีน้ำจะใช้วิธีการ
ระบายแบบเปียกและแห้ง ท้ังการใช้พู่กันปาดสีหยดพรม เช็ด ท้ิงรอยเป้ือน รวมทั้งใช้พู่กัน
แต่งแต้มและวาดระบาย บางภาพก็จะเป็นสีน้ำผสมกับปากกาบนกระดาษ ภาพวาดของท่าน
ส่วนใหญ่เป็นภาพเก่ียวกับทิวทัศน์ มีรายละเอียดของภาพไม่มาก หลายภาพใช้เส้นน้อย ใช้สี
ไม่มาก โดยสื่อให้เห็นถึงความเคลื่อนไหวเหมือนจริงตามธรรมชาติ เช่น ภาพฤดูฝน ภาพคอก
ลนั่ ทมภาพนำ้ ตกคลองลาน ภาพแข่งเรือยาว ภาพยอ้ นแสงตะวันภาพรุ้งเมอื งกาญจน์ ภาพหุบ
เขาอนสุ าวรีย์ ภาพมหาสถูปนครศรธี รรมราช ภาพราตรีสีชัง ภาพใต้ทะเล เปน็ ต้นรูปแบบของ
งานจิตรกรรมมีท้ังภาพธรรมชาติกึ่งนามธรรม(Semi Abstract) และภาพนามธรรม
(Abstract Art)เช่น ภาพสายลม ภาพสู่สวรรค์ ซึ่งเป็นงานที่สื่อแนวคิดท่ีศิลปินประทับใจ
ออกมา เปน็ ต้น

ลกั ษณะเฉพาะตัวในงานจิตรกรรมของทา่ นซึ่งเป็นทค่ี ุ้นตากันดี ก็คือ ลายเส้นสี
ท่ีใช้พู่กันปาดหวัดๆอย่างฉับไว้ แสดงรูปร่าง โครงสร้างของรูปทรงอย่างคร่าวๆ แต่มีความ
แม่นยำในสัดส่วน เป็นความต้ังใจที่จะไม่เก็บรายละเอียดให้สมบูรณ์ เพื่อแสดงอารมณ์
ความรู้สึกออกมาในภาพ ภาพของท่านจึงทำใหผ้ ้ชู มไดใ้ ช้จินตนาการดูได้ไมร่ ้เู บ่ือ

ชดุ ฝึกทักษะ เรือ่ งทักษะทศั นศิลป์ ชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ 2 17
ชุดท่ี 2 รปู แบบการใชว้ ัสดุ อุปกรณใ์ นงานทศั นศลิ ป์ของศิลปิน

1.3 ถวลั ย์ ดัชนี

ท่มี า : //www.homelittlegirl.com/index.php?topic=4569.0

1) ประวัติสังเขป อาจารย์วัลย์ ดัชนี เกิดเมื่อวันท่ี 2 กันยายน พ.ศ. 2482 ที่จังหวัดเชียงราย
หลังสำเร็จการศึกษาช้ันมัธยมศึกษาตอนปลายจากโรงเรยี นเชียงรายวิทยาคม ก็ได้รับทุนการศึกษาของ
จังหวัดให้เข้ามาศึกษาต่อด้านศิลปะท่ีโรงเรียนเพาะช่าง และเป็นนักเรียนดีเด่นทางด้านจิตรกรรม ด้วย
ฝีมือแม่นยำ เฉียบคม ฉบั ไว จึงเป็นหนึ่งในนักเรียนเพาะช่างที่ผลงานได้รับการคัดเลือกนำไปแสดงที่หอ
ศิลป์แหง่ ชาหกิ รุงโตเกียว ประเทศญปี่ ่นุ

เม่ือจบจากโรงเรียนเพาะช่างในปี พ.ศ. 2500 ท่านได้ทำตามแบบอย่างของอาจารย์ดำรง วงศ์
อุปราชนักเรียนทุนรุ่นพี่จากเชียงราย โดยสอบเข้าเรียนต่อระดับปริญญาตรีที่คณะจิตรกรรม
ประติมากรรม และภาพพิมพ์มหาวิทยาลัยศิลปากร ภายใต้การอำนวยการสอนของศาสตราจารย์ศิลป์
พีระศรี ซ่ึงสถาบันแห่งน้ีมีบทบาทอย่างสำคัญท่ีหล่อหลอมให้ท่านได้พัฒนาผลงานของตนจากภาพวาด
เหมือนจริงไปเป็นภาพวาดท่ีให้ความรู้สึกประทับใจ (Impressionism) แทน ท่านเป็นบัณฑิตที่มี
ความสามารถมาก หลังสำเร็จการศกึ ษาระดบั ปริญญาตรจี ากมหาวทิ ยาลัยศิลปากรแล้ว ก็ไดร้ ับทุนจาก
กระทรวงวิทยาศาสตร์ วัฒนธรรม และการศึกษาเนเธอร์แลนด์ไปศึกษาต่อในระดับปริญญาโทและ
ปริญญาเอกที่ราชวิทยาลัยศิลปะแห่งชาติ กรงุ อัมสเตอร์ดัม ประเทศเนเธอรแ์ ลนด์ ระหวา่ งท่ีศกึ ษาอยู่ท่ี
ประเทศเนเธอร์แลนด์ ผลงานของท่านเป็นที่นิยมชมชอบของวงการศิลปะสากลอย่างกว้างขวาง จึง
ได้รับเชิญเป็นผู้บรรยายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในการประชุมสัมมนาทางศิลปะระดับนานาชาติอยู่
เสมอ ท่านได้จัดนิทรรศการแสดงผลงานศิลปะแบบเดี่ยวหลายคร้ังในหลายประเทศ เช่น ประเทศ
สหรัฐอเมริกา ประเทศเนเธอร์แลนด์ ประเทศเยอรมนีประเทศสเปน ประเทศฝรั่งเศส ประเทศ
สวิตเซอร์แลนด์ ประเทศตุรกี ประเทศญี่ปุ่น ประเทศมาเลเซีย ประเทศออสเตรเลีย ประเทศไทย เป็น
ตน้ ทา่ นถงึ แก่อนจิ กรรม เมอ่ื พ.ศ. 2557 รวมอายไุ ด้ 75 ปี

ชดุ ฝึกทกั ษะ เรือ่ งทกั ษะทศั นศลิ ป์ ช้ันมัธยมศึกษาปที ี่ 2 18
ชุดที่ 2 รปู แบบการใชว้ ัสดุ อุปกรณ์ในงานทศั นศิลป์ของศิลปนิ

2) ผลงานและเกียรติคุณ อาจารย์ถวัลย์ ดัชนีผู้เรียกตัวเองว่า "ช่างวาดรูป" ได้สร้างสรรค์
ผลงานศิลปะไว้อย่างมากมายในช่วงกว่า ๔0 ปี ผลงานของท่านได้รับการยอมรับยกย่องท้ังในประเทศ
และต่างประเทศโดยท่านได้นำแนวปรัชญาในพระพุทธศาสนามาสร้างเป็นผลงานศิลปะไทยร่วมสมัย
ซง่ึ ผลงานส่วนใหญ่มเี นื้อหาสาระและการแสดงออกท่ีสะท้อนจติ วิญญาณของความเป็นไทย เป็นศลิ ปิน
ท่ีมีบทบาทอย่างสำคัญในการนำศิลปะไทยเสนอต่อสายตาชาวโลกด้วยวิธีการที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะ
ของตน ท่านไดร้ บั รางวัลเกียรติยศอย่างมากมาย เช่น

ㆍรางวลั ที่ 2 การประกวดศิลปกรรม ณวงั สวนผกั กาด พ.ศ. 2503

ㆍรางวัลที่ 1 การประกวดศิลปกรรม จดั โดยองค์การสง่ เสรมิ การท่องเทย่ี วกรุงเทพ พ.ศ.2505

ㆍรางวลั เกยี รตยิ ศเหรียญทอง จากสมาคมสถาปนิกสยาม ในฐานะจิตรกรผู้สร้างสรรคศ์ ิลปะรว่ มสมัย
พ.ศ. 2538

ㆍไดร้ ับรางวัลศิลปวัฒนธรรม (Arts and Culture Prize) จาก Fukuoka Asian Culture Prize
Committee พ.ศ. 2544 ศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ (จติ รกรรม) ประจำปี พ.ศ. 2544

ㆍปริญญาศลิ ปดุษฎบี ัณฑติ กติ ตมิ ศักดิ(์ สาขาวิชาจติ รกรรม) จากมหาวทิ ยาลัยศลิ ปากร พ.ศ2545
ผลงานของท่านเป็นภาพที่มีราคาสูง ถูกนำไปติดตั้งและจัดแสดงอย่างถาวรอยู่ในพิพิธภัณฑ์

ศิลปะสมัยใหม่และสถานท่ีสำคัญๆ หลายแห่ง โดยเฉพาะในทวีปยุโรป รวมท้ังเป็นตัวแทนศิลปินไทย
เพียงผู้เดียวที่องค์การสหประชาชาติ (United Nations) นำผลงานไปจัดแสดงที่สำนักงานใหญ่ กรุง
นิวยอรก์ สหรัฐอเมรกิ า

ภาพของท่านจะมีเนื้อหาท่ีแฝงแนวปรัชญาทางพระพุทธศาสนาที่มีความลุ่มลึก แต่แกร่งกร้าว
ผสมผสานระหว่างความเป็นไทยและตะวันตกได้อย่างลงตัว เช่น ภาพใบหน้าของแผ่นดิน ภาพไม่มีชื่อ
ภาพอู่เค้าแมว ภาพชุดเทพชุมนุม ภาพชุดรอยสัก ภาพฝีแปรงชุดม้า ชุดสิงห์ ชุดควาย ชุดเสือ ภาพชุด
สุริยุปราคา ภาพพระศรีอารย-เมตไตรย เป็นดัน ท้ังนี้ ผลงานบางส่วนของท่านก็เป็นงานประติมากรรม
งานแกะไม้ และงานส่ือผสมอีกด้วยซึ่งผลงานชุดดังกล่าวได้ถูกนำไปจัดแสดงตามสถานท่ีต่างๆ หลาย
ครั้ง เช่น หอศิลปวัฒนธรรมกรุงเทพมหานครหอศิลป์จามจุรี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หอศิลป์สมเด็จ
พระนางเจ้าสริ กิ ิดต์ฯิ กรุงเทพมหานคร เป็นตน้

ชดุ ฝึกทกั ษะ เรอ่ื งทกั ษะทศั นศิลป์ ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 2 19
ชุดที่ 2 รูปแบบการใช้วสั ดุ อุปกรณ์ในงานทัศนศลิ ป์ของศลิ ปิน

“ไม่มีช่ือ” ผลงานของถวัลย์ ดัชนี “ภวตัณหา” (2547) ผลงานของ
เทคนิคสนี ้ำมนั ถวัลย์ ดชั นี เทคนคิ สนี ้ำมัน

ท่มี า : //www.queengallery.org/media/44439/picture.jpg

//mocabangkok.com/wp-content/uploads/2019/03/276-860x1155.jpg

3) รูปแบบการใช้วัสดุ อุปกรณ์ในการสร้างสรรค์ผลงาน อาจารย์ถวัลย์ ดัชนี เป็น
ศลิ ปินด้านจติ รกรรมที่มคี วามถนัดและเช่ียวชาญในด้านการวาดภาพลายเส้น (Drawing) และ
การใช้สีอย่างหาตัวจับได้ยาก จำนวนของภาพลายเส้นที่ท่านเขียนไว้ก็มีอยู่เป็นจำนวนมาก
เช่นเดยี วกบั ภาพเขยี นสี

สำหรับภาพลายเส้น ท่านจะใช้ปากกาลูกล่ืนเป็นเครื่องมือในการสร้างสรรค์ผลงาน
ด้วยเส้นท่ีอ่อนช้อยทั่วทั้งภาพและมีรายละเอียดมากจนไม่สามารถที่จะนับจำนวนเส้นได้ ซึ่ง
เส้นจะให้ความรู้สึกที่มีความอ่อนไหวทั้งหมดแต่ประกอบเป็นรูปทรงแล้วกลับทำให้ดูมีพลัง
มหาศาล แสดงให้เห็นจิตวญิ ญาณ และความเคล่ือนไหว ภาพเขียนด้วยปากกาลูกล่ืนจะเขียน
บนกระดาษซึ่งมีขนาดไม่ใหญ่มากนัก

สว่ นภาพสี ท่านจะวาดบนผ้าใบ ซ่ึงส่วนใหญจ่ ะเป็นภาพที่มขี นาดใหญ่จนถงึ ใหญ่มาก
นิยมใช้สีขาวกับสีดำ หรือสีดำทับสีแดง หรือสีทอง ปาดและป้ายด้วยแปรงจุ่มสี ท่านจะใช้
แปรงอยู่ 2 ขนาด คือ ขนาด 4 นิ้วใช้วาดภาพและขนาดเล็ก 1 นิ้ว ไว้ตกแต่งและเก็บ
รายละเอยี ด ซึ่งภาพวาดของท่านทกุ ภาพ ผู้ชมจะเห็นถงึ ความชำนาญของการใช้วัสดุ อุปกรณ์
ซ่ึงปรากฏใหเ้ หน็ ถงึ การวาดอยา่ งฉบั พลนั แม่นยำ และแฝงไว้ด้วยพลัง

ชดุ ฝึกทักษะ เรอื่ งทักษะทัศนศิลป์ ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 2 20
ชุดท่ี 2 รปู แบบการใช้วัสดุ อุปกรณใ์ นงานทัศนศลิ ปข์ องศลิ ปิน

2. ศลิ ปนิ ทศั นศิลป์สาขาประติมากรรมและสื่อผสม
ศลิ ปินทีส่ ร้างสรรค์ผลงานประตมิ ากรรมและสอ่ื ผสมในประเทศไทยมอี ยเู่ ป็นจำนวนมาก ซ่งึ

จะสรปุ ประวตั ผิ ลงานบางท่านมานำเสนอเป็นตวั อย่าง โดยจะเน้นใหม้ ีความรู้ ความเข้าใจในประเด็น
รปู แบบการใชว้ สั ดุ อุปกรณ์ในการสร้างสรรค์งานของศลิ ปินทา่ นนัน้ ๆ เปน็ หลกั

1.3 ชำเรือง วิเชียรเขตต์

ท่มี า : //www.rama9art.org/artisan/artdb/artists/person/ photo.jpg

1) ประวัติสังเขป สังเขป อาจารย์ชำเรือง วิเชียรเขตต์ ศิลปินทัศนศิลป์สาขาประติมากรรมคนสำคัญของไทย
เกิดเมื่อวันท่ี 2 มีนาคม พ.ศ. 2474 ที่จังหวัดกาพสินธ์ุ จบการศึกษาระดับมัธยมท่ีโรงเรียนกาพสินธ์ุพิทยาสรรพ์ในช่วง
วัยเยาว์ท่านก็มีแววทางศิลปะแล้ว โดยเฉพาะในงานปั้น ซ่ึงได้รับความชื่นชมจากครูสอนวิชาวาดเขียน ต่อมาได้เข้า
ศึกษาตอ่ ท่โี รงเรียนเพาะช่าง ได้รบั ความร้ดู ้านศิลปะและงานช่างหตั ถกรรมมาเป็นพ้นื ฐาน

พ.ศ. 2493 ได้เข้าศึกษาต่อทางด้านศิลปะ ท่ีคณะจิตรกรรม ประติมากรรม และภาพพิมพ์ จากมหาวิทยาลัย
ศลิ ปากร เป็นศิษย์ของศาสตราจารย์ศิลป์ พีระศรี อาจารย์เฟื้อ หริพิทักษ์ อาจารย์เขียน ย้ิมศิริ และอาจารย์สนั่น ศิลา
กรณ์ท่านได้รับการถ่ายทอดความรู้ ความสามารถจากเหล่าปรมาจารย์ ซ่ึงมีความรู้ท่ีเน้นหนักไปทางประติมากรรม จน
มีความรู้ ความชำนาญในด้านศิลปะและเทคนิคประติมากรรมเป็นพิเศษ ซึ่งเป็นประเพณีท่ีศิลปินผู้ที่มีความรู้
ความสามารถ และประสบการณ์มากท่ีจะถ่ายทอดองค์ความรู้ให้แก่ศิษย์รุ่นหลัง เพ่ือให้การสืบสานงานศิลปะมีความ
ต่อเน่ือง

หลังสำเรจ็ การศึกษาจากมหาวิทยาลัยศิลปากรเม่ือ พ.ศ. 2497 ท่านกไ็ ดเ้ ป็นอาจารย์สอนวิชาศิลปะที่โรงเรียน
ศิลปศึกษา หรือต่อมาคือ วิทยาลัยช่างศิลป์ (ปัจจุบัน คือ สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ โดยสอนจนถึง พ.ศ. 2502 จึงได้
ย้ายไปสอนที่คณะจิตรกรรมและประติมากรรม มหาวิทยาลัยศิลปากร และได้ลาออกจากราชการเม่ือ พ.ศ.2530 เพื่อ
อุทิศตนให้กับการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะอย่างเต็มที่ แต่ยังคงเป็นอาจารย์พิเศษที่มหาวิทยาลัยศิลปากรและ
จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยั ด้วยจนถึงทุกวนั น้ี

ชุดฝกึ ทกั ษะ เรอ่ื งทักษะทัศนศิลป์ ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 2 21
ชุดท่ี 2 รปู แบบการใช้วสั ดุ อุปกรณ์ในงานทัศนศลิ ปข์ องศิลปนิ

2) ผลงานและเกยี รติคุณ ผลงานที่สำคัญของอาจารย์ชำเรือง วิเชยี รเขตต์ เปน็ ผลงาน
ประติมากรรมปั้นและหล่อ อันเป็นเทคนิคท่ีเดยใช้กันมานานแต่ครั้งอดตี และมีการถ่ายทอดสืบ
ต่อกันมา ซ่ึงศาสตราจารย์ศิลป์พีระศรี ก็ได้นำเทคนิคการปั่นและหล่อน้ีมาใช้กับผลงานศิลปะ
สมัยใหม่ด้วย ซ่ึงท่านเป็นศิลปีนท่านหน่ึงที่ได้รับการถ่ายทอดความรู้ทางด้านนี้ และท่านยังคง
ใชว้ ธิ กี ารน้ีอยู่ ถือเปน็ ผู้ยนื หยดั การเปน็ ประตมิ ากรโดยแท้ ในขณะทศ่ี ิลปิน

หลายท่านได้หันไปใช้วิธีการอื่นแทน โดยท่านสามารถป้ันรูปที่แสดงออกมาเป็นแบบ
Solid คอื มลี ักษณะของความแข็งแกร่งและความแน่นได้

ผลงานยุคแรกๆ ของท่านอยู่ในรูปแบบเหมือนจริง ส่วนใหญ่เป็นผลงานประติมากรรม
การป่ันหล่อรูปดนจากน้ันได้มีการคล่ีคลายไปสู่การลดทอนรายละเอียดลงไปจนเป็นงานศิลปะ
แบบนามธรรม (Realistic) การก้าวไปถึงขั้นนามธรรมถือว่าเป็นข้ันสำคัญขั้นหน่ึงของการ
คลี่คลายผลงานศลิ ปะ โดยได้รบั แรงบันดาลใจจากรูปทรงของมนุษยท์ ่มี ีการลดทอนรายละเอียด
ต่างๆ ให้เหลือแต่ความเรียบง่าย ผลงานประติมากรรมท่ีมีรูปเป็นนามธรรมอย่างแท้จริง คือ
ผลงานชื่อ "กลุ่ม" ซึ่งได้รับรางวัลเกียรตินิยมอันดับ ๑ เหรียญทองในการแสดงศิลปกรรม
แหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๑๘ นอกจากนี้ ยงั มีผลงาน "สว่ นโค้ง"ผลงาน "ปรมิ าตร" อาจกล่าวได้ว่า ท่าน
เป็นประติมากรไทยคนแรกๆ ที่สร้างสรรค์ผลงานประติมากรรมออกมาในรูปแบบนามธรรม
อยา่ งเดน่ ชดั

ท่านมีผลงานแสดงในการแสดงศิลปะในระดับชาติและระดับนานาชาติหลายแห่งและ
หลายคร้ัง เป็นศิลปินท่ีทำงานอย่างต่อเนื่อง และสร้างสรรค์ผลงานตามความคิดและปรัชญา
ตามทัศนะของท่าน ออกมาเป็นผลงานศิลปะให้ผู้คนได้ช่ืนชม รางวัลและเกียรติยศท่ีท่านได้รับ
มมี ากมาย เช่น

ㆍรางวัลเกยี รตินิยมอันดับ 1 เหรยี ญทอง (ประติมากรรม) ในการแสดงศลิ ปกรรมแห่งชาติ ครง้ั ที่ 16 พ.ศ. 2508

ㆍรางวลั เกียรตนิ ิยมอันดับ เหรยี ญเงนิ (ประติมากรรม) ในการแสดงศลิ ปกรรมแห่งชาติ รวม 8 ครง้ั

ㆍรางวัลเกียรตินยิ มอนั ดบั 3 เหรยี ญทองแดง (ประตมิ ากรรม) ในการแสดงศลิ ปกรรมแหง่ ชาตริ วม 2 ครั้ง

ㆍศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศลิ ป์ (ประติมากรรม) ประจำปี พ.ศ. 2539 นักศึกษาเกา่ ดีเดน่ คณะจติ รกรรม
ประตมิ ากรรม และภาพพิมพ์ มหาวทิ ยาศิลปากร ประจำปี พ.ศ. 2543

ชดุ ฝึกทักษะ เรื่องทกั ษะทัศนศิลป์ ชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี 2 22
ชุดที่ 2 รปู แบบการใช้วสั ดุ อุปกรณ์ในงานทศั นศลิ ปข์ องศลิ ปนิ

ㆍปริญญาศิลป์ดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ (ประติมากรรม) จากมหาวิทยาลัยศิลปากร พ.ศ.
2547 ผลงานของท่านปรากฏอยู่ในสวนสาธารณะและสถาบันการศึกษาหลายแห่ง เช่น มหาวิทยาลัย
หอการค้าไทย ธนาคารแห่งประเทศไทย สาขาลำปาง อาคารสภาวิจัยแห่งชาติ อาคารหนังสือพิมพ์
ไทยรฐั อทุ ยานเบญจสิริ (ถนนสขุ มุ วทิ กรงุ เทพมหานคร) เป็นด้น

ตวั อยา่ งผลงานบางสว่ นท่อี าจารยช์ าเรือง วเิ ชยี รเขตต์ สรา้ งสรรคข์ นึ้ มา โดยจะมรี ูปรา่ งรูปทรงท่เี รยี บง่าย แตก่ แ็ ฝงไว้
ดว้ ยจินตนาการ ปัจจบุ นั จดั แสดงอย่ภู ายในวเิ ชยี รเขตตส์ ตดู โิ อ อาเภอเมือง จงั หวดั นนทบรุ ี

ท่มี า : //www.thaipost.net/main/detail/112882

3) รูปแบบการใช้วัสดุ อุปกรณ์ในการสร้างสรรค์ผลงาน อาจารย์ชำเรือง วิเชียรเขตต์ เป็นศิลปีนท่ี
สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ด้านประติมากรรมโดยแท้ ซ่ึงยืนหยัดสร้างสรรค์ผลงานด้านประติมากรรมป้ันและ
หล่อการข้ึนรูปจะใช้การป้ันด้วยดินเหนียวก่อน แล้วหล่อด้วยวัสดุโลหะผสมหรือหล่อด้วยทองสำริด ผลงาน
ของท่านมีท้ังประติมากรรมขนาดเล็กและขนาดใหญ่ ประติมากรรมนูนสูง ประติมากรรมนูนต่ำ ประตมิ ากรรม
ลอยตวั ประตมิ ากรรมอสิ ระ ประตมิ ากรรมสาธารณะ ประตมิ ากรรมอนุสาวรีย์ และพระพุทธรปู

ชดุ ฝึกทักษะ เรื่องทักษะทศั นศิลป์ ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 2 23
ชดุ ที่ 2 รปู แบบการใชว้ สั ดุ อุปกรณ์ในงานทศั นศลิ ปข์ องศลิ ปิน

2.2 นนทิวรรธน์ จันทนะผะลิน

ท่มี า : //www.rama9art.org/artisan/artdb/artists/

1) ประวัตสิ ังเขป อาจารย์นนทิวรรธน์ จันทนะผะลิน เกดิ เมือ่ วนั ท่ี 16 ตุลาคม พ.ศ. 2489 แถบวัดท่าพระ เขต
บางกอกใหญ่ กรุงเทพมหานคร สำเร็จการศึกษาระดับศิลปบัณฑิตและมหาบัณฑิต สาขาประติมากรรมจาก
มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร รุ่นที่ 21 เป็นประติมากรที่มชี ือ่ เสยี งมากทสี่ ุดคนหนง่ึ ของไทย โดยใชเ้ ทคนิคปนู ป้ันและวัสดุใหม่ๆ
ที่ใช้ในระบบสากลมาสรา้ งสรรค์งานประตมิ ากรรม ผลงานของทา่ นหลายช้นิ มลี ักษณะเป็นประตมิ ากรรมร่วมสมัย

หลงั สำเร็จการศึกษา ท่านได้เขา้ รับราชการเปน็ อาจารยป์ ระจำภาควิชาประติมากรรม มหาวทิ ยาลยั ศิลปากรใน
พ.ศ. 2514 และได้รับตำแหนง่ หัวหน้าภาควิชาประติมากรรม และเป็นผู้อำนวยการหอศิลป์ มหาวทิ ยาลัยศลิ ปากร พ.ศ.
2523 ดำรงตำแหน่งคณบดี คณะจิตรกรรมประติมากรรม และภาพพิมพ์ 2 สมัย คือ พ.ศ. 2537 และ พ.ศ. 2538
จนถงึ พ.ศ.2556 ทา่ นมคี วามปรารถนาจะไปชว่ ยบรหิ ารงานการศกึ ษาและเผยแพร่ความรู้ทางศิลปะให้ขยายวงกว้างข้ึน
ในต่างจังหวัด จึงไปรับตำแหน่งคณบดีคณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคามในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ท่านถงึ แก่อนจิ กรรมเม่อื พ.ศ. 2560 รวมอายุได้ 71 ปี

ชดุ ฝึกทักษะ เรอื่ งทกั ษะทศั นศลิ ป์ ชนั้ มัธยมศึกษาปที ี่ 2 24
ชดุ ท่ี 2 รปู แบบการใชว้ สั ดุ อุปกรณ์ในงานทัศนศิลป์ของศลิ ปนิ

2) ผลงานและเกียรติคุณ อาจารย์นนทิวรรธน์ จันทนะผะลิน เป็นศิลปินที่สรา้ งสรรค์
ผลงานศิลปะมาอย่างตอ่ เน่ืองตลอดระยะเวลากวา่ 40 ปี โดยยดึ หลักการสรา้ งสรรค์ผลงานตาม
แนวของศาสตราจารย์ศิลป์ พีระศรี คือ ไม่ได้เน้นเรื่องวัสดุในการทำงานมากนัก แต่เน้นที่
ความคิด และวธิ นี ำเสนอ วธิ ีสร้างสรรคผ์ ลงานประติมากรรมท่เี ปน็ ตัวของตวั เอง

ผลงานท่ีโดดเด่นจะเป็นรูปทรง 3 มิติ แสดงความสัมพันธ์กันของเส้นและปริมาตรอัน
กลมกลืนงคงามอย่างลงตัว โดยนำเสนอผลงานที่บ่งบอกถึงความรู้สึก อารมณ์ และความ
ปรารถนา เพื่อให้สังคมได้ตระหนักถึงความเป็นจริงของธรรมชาติ ขณะเดียวกันท่านก็ได้
สร้างสรรค์ผลงานประติมากรรมท่ีแฝงปรัชญาทางพระพุทธศาสนาไว้ด้วยโดยใช้หลักธรรมทาง
พระพุทธศาสนามาเป็นเนื้อหาในการสร้างสรรค์ ทำให้ผู้ชมนอกจากจะได้สัมผัสความงามของ
ชน้ิ งานแล้ว ยงั ไดร้ บั มุมมองทางธรรม ซึ่งเปน็ การพฒั นาจิตวญิ ญาณไปในตัว

ผลงานที่มีชื่อเสียงของท่านมีอยู่มากมายหลายขึ้น เช่น ผลงานประติมากรรมช่ือ "พลัง
จักรวาล" "การรับรู้" "กลุ่ม" "ความปรารถนา" "ปริมาตร-รูปทรง" และ "อานุภาพของกิเลส ศีล
สมาธิ ปัญญา" ท่านเป็นผู้ออกแบบและทำตันแบบเหรียญพระมหาชนก รวมทั้งเหรียญ
Agricola และเหรียญ Tela food ขององค์การอาหารและการเกษตรแห่งสหประชาชาติ
(FAO) เพ่ือทูลเกล้าฯ ถวายแด่พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถ
บพิตรผลงานประติมากรรมรูปพุทธสาวกในพระอุโบสถวัดพระราม 9 กาญจนาภิเษก
กรงุ เทพมหานคร

นอกจากน้ี ยังได้รับเกียรติให้สร้างประติมากรรมกับส่ิงแวดล้อมอีกหลายชิ้น เช่น
ออกแบบประติมากรรมขนาด 2 x 12 เมตร นำไปติดตั้งในบริเวณสวนหลวง ร.9 สวนสันติ-ชัย
ปราการ บางลำพู กรุงเทพมหานคร ประติมากรรมขนาด 4 เมตร ในอุทยานเบญจสิริถนน
สขุ ุมวิท กรงุ เทพมหานคร เป็นต้นรางวลั และเกียรติยศทที่ ่านไดร้ บั มีมากมาย เชน่

ㆍรางวลั เกียรตินยิ มอันดบั 2 เหรียญเงนิ (ประติมากรรม) ในการแสดงศิลปกรรมแหง่ ชาติ รวม 3 คร้งั

ㆍรางวลั เกียรตินิยมอันดบั 3 เหรยี ญทองแดง (ประติมากรรม)ในการแสดงศลิ ปกรรมแหง่ ชาติ รวม 2 คร้งั

ㆍรางวัลที่ 2 การประกวดออกแบบพระพุทธรปู ณ วดั ทองศาลางาม เขตภาษเี จริญ กรุงเทพมหานคร

ชดุ ฝกึ ทักษะ เร่อื งทกั ษะทัศนศิลป์ ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 2 25
ชดุ ท่ี 2 รูปแบบการใช้วัสดุ อุปกรณใ์ นงานทศั นศลิ ป์ของศิลปิน

ㆍศิลปนิ แหง่ ชาติ สาขาทัศนศิลป์ (วจิ ติ รศลิ ป)์ ประจำปี พ.ศ. 2549

ㆍปรญิ ญาศิลปดษุ ฎีบณั ฑติ กิตตมิ ศักด์ิ (ประติมากรรม) จากมหาวิทยาลยั ศิลปากร
พ.ศ. 2553

ถึงแม้ท่านจะชื่นชอบในการสร้างสรรค์งานประติมากรรม ท่านยังอุทิศตนช่วยพัฒนาความ
เจริญก้าวหน้าแก๋วงการศิลปะและพัฒนาสังคม โดยท่านได้ดำรงตำแหน่งนายกสมาคมประติมากรไทย
ประธานสภาคณบดีทางศิลปะแห่งประเทศไทย และร่วมเป็นกรรมการด้านต่างๆ ที่เก่ียวกับศิลปะอีก
หลายคณะที่สำคัญ เช่น กรรมการคัดเลือกศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศศิลป์ กรรมการตัดสินการแสดง
ศลิ ปกรรมแห่งชาติ เป็นต้น

ผลงานจำนวนมากของนนทวิ รรธน์ จันทนะผะลนิ จะเป็นผลงานเชิงนามธรรมท่แี ฝงดว้ ยแง่คิดและปรชั ญาทางศาสนา
ท่มี า : //www.barameeofart.com/product.php?artist_s=342&lang=

ชุดฝกึ ทกั ษะ เรอื่ งทักษะทศั นศิลป์ ชัน้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 2 26
ชุดที่ 2 รปู แบบการใช้วัสดุ อุปกรณใ์ นงานทศั นศิลป์ของศิลปิน

3) รูปแบบการใช้วัสดุ อุปกรณ์ในการสร้างสรรค์ผลงาน อาจารย์นนทิวรรธน์ จันท
นะผะลิน เป็นศิลปินที่มีผลงานโดดเด่นทางด้านประติมากรรมอย่างมาก มีความถนัดในการ
สร้างสรรค์ผลงานประติมากรรม วัสดุอุปกรณ์ที่นำมาใช้ก็จะมีปูนปลาสเตอร์ รวมทั้งวัสดุ
สมัยใหม่ เช่น โลหะ อะลูมิเนียม ทองเหลอื งชุบโดรเมียม โละผสมดีบุก สำริด ทองแดง เป็นต้น
รวมทั้งการแกะไม้เป็นประดิมากรรม ผลงานมีทั้งแสดงให้เห็นถึงทักษะในการปั่นการหล่อ และ
การแกะของศลิ ปนิ

จุดเด่นงานของท่านดูเรียบง่าย ไม่ซับซ้อน ผู้ชมสามารถใช้จินตนาการของตนสัมผัส
ความงามได้ตามมุมมองตน โดยเน้นสื่อความคิด เร่ืองราวผ่านทางชั้นงาน เช่น ผลงานในชุด
ความปรารถนาที่ศิลปีนสื่อให้เห็นว่ามนุษต้องอยู่ร่วมกัน ต้องผูกพันกัน เพราะไม่มีใครสามารถ
อยู่คนเดียวได้ ในช่วงแรกของการสร้างสรรค์ประติมากรรมท่ีเป็นรูปคน ท่านจะพยายามศึกษา
หาข้อมูลรูปทรงของมนุษย์ทุกอย่าง เพื่อให้เข้าใจเรื่องของปริมาตร รูปทรงโครงสร้าง กิริยา
อาการ การเคล่ือนไหวตามที่เป็นจริงในธรรมชาติ หลังจากที่เข้าใจในเนื้อหาเก่ียวกับหลักของ
การสร้างประติมากรรม โดยอาศัยคนเป็นแบบแล้ว จากนั้นก็ค่อยๆ ลบลักษณะความเป็นคน
ออกไป คงเหลือไวแ้ ตร่ ูปทรงทีส่ ื่อความหมายทางความรสู้ ึกออกมา

ชดุ ฝึกทกั ษะ เรื่องทักษะทัศนศลิ ป์ ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ่ี 2 27
ชุดที่ 2 รูปแบบการใชว้ สั ดุ อุปกรณ์ในงานทศั นศิลปข์ องศลิ ปนิ

2.3 กมล ทัศนาญชลี

ท่มี า : //pandacup.wordpress.com/2013/02/18

1) ประวตั ิสังเขป อาจารย์กมล ทศั นาญชลี เกิดเมื่อวันท่ี 17 มกราคม พ.ศ. 2487 ที่กรุงเทพมหานดร
เป็นศิลปินคนสำคัญและดีเด่นในด้านส่ือผสมร่วมสมัยของไทย ได้รับการยกย่องทั้งในประเทศและต่างประเทศ โดยมี
ผลงานทีเ่ ป็นเอกลักษณ์ในแนวทางสากลท่ีมีพน้ื ฐานจากศิลปะแบบประเพณีไทยในอดีต

ทา่ นจบการศึกษาจากวทิ ยาลัยเพาะช่างในปี พ.ศ. 2507 และสำเร็จปริญญาตรจี ากมหาวทิ ยาลยั ศรีนค
รนิ ทรวิโรฒน์ ประสานมติ ร ในปี พ.ศ. 2512 จากน้นั ได้เดนิ ทางไปศึกษาต่อระดบั ปรญิ ญาตรแี ละปรญิ ญาโทดา้ นศิลปะ
ที่สหรัฐอเมริกาในปี พ.ศ. 2520 ท่ีสถาบันศิลปะโอติสแห่งลอสแอนเจลิส รัฐแคลิฟอร์เนีย สหรัฐอเมริกา ท่านเป็น
ศิลปินที่อทุ ิศตนให้กับการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะอย่างต่อเนื่องเป็นเวลานานเกือบ 40 ปี ได้พัฒนาผลงานด้านศิลปะ
ร่วมสมัยตลอดเวลา จนเป็นที่ยอมรับว่า เป็นผู้นำคนสำคัญคนหนึ่งในวงการศิลปะร่วมสมัยของไทย นอกจากนี้ ยังมี
บทบาทญยิ่งในการเผยแพร่ผลงานศิลปะของไทยในฐานะประธนสภาศิลปกรรมไทยแห่งสหรัฐอเมริกา ด้วยการและ
ส่งเสริมศลิ ปินไทยในการเดนิ ทางไปศึกษาหาประสบการณ์และจัดนิทรรศการแสดงผลงานที่สหรฐั อเมริกา

ท่านเป็นชาวไทยเพียงคนเดียวที่ผลงานศิลปะของท่านได้ถูกบันทึกไว้ในหนังสือ Gardner's Art
Through The Ages ซ่ึงเป็นหนังสือเกย่ี วกับประวัตแิ ละผลงานศิลปะของโลกต้ังแต่อดีตมาจนถึงปัจจบุ ัน โดยมศี ิลปิน
ไดร้ ับเกียรติบนั ทกึ เร่ืองราวไว้ประมาณ 3 หม่นื ทา่ น

ปัจจุบันท่านยังคงสร้างสรรค์ผลงานศิลปะเผยแพร่ศิลปะ และอุทิศตนให้กับงานการกุศล ดำเนินชีวิตอย่างมี
คณุ คา่ มคี ุณสมบัตเิ พยี บพรอ้ มในความเป็นศลิ ปินที่ดีงาม เป็นแบบอย่างใหก้ บั ศลิ ปีนรนุ่ หลังไดเ้ จริญรอยตาม

ชุดฝึกทกั ษะ เรอื่ งทักษะทศั นศลิ ป์ ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 2 28
ชุดที่ 2 รปู แบบการใชว้ ัสดุ อุปกรณ์ในงานทศั นศิลปข์ องศลิ ปิน

2) ผลงานและเกียรติคุณ อาจารย์กมล ทัศนาญชลี เป็นศิลปินท่ีเด่นในด้านจิตรกรรม
และส่ือผสมผลงานเทคนิคสื่อผสมของท่านท่ีสร้างชื่อเสียงเป็นอย่างมาก เช่น ผลงานชื่อ "Self -
Portrait" ใช้เทคนิคส่ือผสมเป็นชิ้นงานแรกๆ ท่ีทำให้ท่านเป็นท่ีรู้จักและมีช่ือเสียงมากข้ึน เป็น
ผลงานท่ีสรา้ งขนึ้ โดยใช้เทคนคิ การพมิ พ์แกะไมเ้ ป็นภาพใบหน้าของตนเองติดไวท้ หี่ ลอดสีสลบั กับ
การทำสื่อผสม รวมทั้งได้นำเอาภาพขณะกำลังแสดงผลงานของตนไปติดอยู่บนช้ินงานด้วย นับ
ได้ว่าเป็นแนวคิดการสร้างสรรคท์ ีม่ ีความแปลกใหม่

ต่อมาท่านได้สร้างงานหลอดสีในลักษณะของภาพพมิ พ์ไม้ (Woodcut) โดยใช้สีขาวและสี
ดำอีกชุดหนึ่งรวมทั้งนำเอา "หลอดสี" ท่ีศิลปีนไม่ใช้แล้วมาเป็นสัญลักษณ์ สร้างให้เป็นผลงาน
ศิลปะขึ้นมา ชุดหลอดสีท่ีท่านนำมาแรคงท่ีหอศิลป์แห่งชาติเมื่อปี พ.ศ. 2522 โดยสร้าง
แบบจำลองหลอดสีขนาดใหญ่หลายช้ิน นำมาวางอยู่กับพื้นท่ีปากหลอดสีจะใช้สีฝุ่นโรยเป็น
เส้นแนวสีต่างๆ ผลงานชุดน้ีได้ถูกกล่าวขานอย่างมากในวงการศิลปะของไทย และจุดประกาย
ความคิดให้ศิลปนิ คนอืน่ ๆ ให้มาสนใจในศิลปะส่ือผสมมากขน้ึ

ใน พ.ศ. 2527 ท่านได้สร้างงานทัศนศิลป์ชุด "หนังใหญ่" ขึ้นมา ซ่ึงเป็นผลงานท่ีแสดงให้
เห็นว่ามีรปู แบบของการค้นคว้าทดลองแนวคิดใหม่ๆ โดยใช้วสั ดุจากไม้ กระดาษ โลหะ มาสร้าง
เป็นโครงร่าง ซึ่งสันนิษฐานว่าได้แรงบันดาลใจมาจากรูปหนังใหญ่ท่ีเป็นการแสดงมหรสพ
ประเภทหนึ่งของไทย แต่ใต้นำเสนอออกมาในรูปแบบตามจินตนาการของศิลปินท่านได้รับ
รางวลั จากการสร้างสรรค์ผลงานดา้ นศิลปะมากมาย เชน่

ㆍศิลปินประจำปีของพิพธิ ภัณฑเ์ มอื งโอกแลนด์ รัฐแคลฟิ อร์เนีย สหรัฐอเมริกา พ.ศ. 2523

ㆍรางวัลศิษย์เก่าดีเด่นจากวิทยาลยั เพาะช่าง กรุงเทพมหานคร ประจำปี พ.ศ. 2529 ได้รับ
ทุนสนับสนุนพิเศษจากกองทุนแห่งชาติ ดา้ นวิชามนุษยศาสตร์ ร่วมกับโครงการบูรณาการ
วชิ าศิลปะไทยสมยั ใหม่ สหรัฐอเมรกิ า พ.ศ. 2534

ㆍ ศลิ ปนิ แหง่ ชาติ สาขาทัศนศลิ ป์ จิตรกรรมและสอื่ ผสม) ประจำปี พ.ศ. 2540

ชุดฝึกทกั ษะ เร่ืองทักษะทัศนศลิ ป์ ช้ันมธั ยมศึกษาปที ่ี 2 29
ชุดที่ 2 รูปแบบการใชว้ สั ดุ อุปกรณ์ในงานทัศนศิลปข์ องศิลปนิ

หนงั ใหญ่-อเมริกันอนิ เดยี น Black & Red

พระพุทธบาท

ท่มี า : //www.barameeofart.com/product.php?artist_s=273&lang=%3E

3) รูปแบบการใช้วัสดุ อุปกรณ์ในการสร้างสรรค์ผลงาน ผลงาน อาจารย์กมล ทัศนาญชลี เป็น
ศิลปินท่ีมีทักษะความเชี่ยวชาญกับการสร้างสรรค์ผลงานท่ีแปลกใหม่ โดดเด่นมากในผลงานศิลปะส่ือผสม มี
ทั้งงานจิตรกรรมประติมากรรม และภาพพิมพ์ประกอบอยู่ในชิ้นงานเดียวกัน วัสดุ อุปกรณ์ที่ท่านใช้มีหลาย
รูปแบบ เช่น กระดาษพลาสติก วัสดุสังเคราะห์ ผ้าใบเป็นต้น อย่างผลงานท่ีนำเสนอแนวคิดผ่านทางหลอดสี
น้ัน หลอดสีถูกสร้างสรรค์ด้วยวัสดุสังเคราะห์ บนตัวของหลอดสีใช้ภาพพิมพ์แกะไม้ โดยมีการผสมผสานกับ
การวาคภาพสีน้ำมันติมากรรมลงไปด้วย บางชิ้นงานก็นำเอาไม้และกระดาษมาสร้างเป็นโครงร่างของรูปทรง
และฝังวสั ดุเน้ือไม้ บนกระดาษทที่ ำเอง โดยเสรมิ เติมแต่งดว้ ยสนี ้ำมัน ผลงานของท่านมลี ักษณะเป็นเอกลักษณ์
เฉพาะทำให้ผ้ชู มทส่ี ัมผสั กับผลงานของท่านไม่กี่คร้ัง ก็สามารถจะระบุช่อื ศลิ ปนิ ทส่ี ร้างสรรค์ได้

ชุดฝึกทกั ษะ เรื่องทักษะทศั นศลิ ป์ ชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี 2 30
ชุดท่ี 2 รูปแบบการใช้วสั ดุ อุปกรณใ์ นงานทศั นศลิ ปข์ องศลิ ปิน

3. ความเหมือนและความแตกต่างของรปู แบบการใช้วัสดุ อปุ กรณใ์ นงานทศั นศลิ ปข์ องศิลปิน
การเปรียบเทียบความเหมือนและความแตกต่างในผลงานทัศนศิลป์ของศิลปินในระดับช้ันนี้ จะมุ่งเน้นให้

พิจารณาเก่ียวกบั รูปแบบในการใช้วสั ดุ อุปกรณ์ของศิลปินในการสรา้ งสรรค์ผลงานทัตนศิลป์เท่าน้ัน โดยมีวัตถุประสงค์
เพ่ือให้เข้าใจและเหน็ ความถนดั ความเช่ียวชาญในการเลือกใชว้ ัสดุ อปุ กรณ์ของศิลปีน ที่จะมีทั้งความเหมือนและความ
แตกต่าง รวมทั้งสามารถที่จะใช้จินตนาการเช่ือมโยงไปถึงแนวคิดในการสร้างสรรค์ชิ้นงานออกมาด้วย ซ่ึงสามารถสรุป
จากผลงานของศลิ ปินได้

3.1 ศิลปนิ สาขาจิตรกรรม
อาจารย์เฟื้อ หริพิทักษ์ อาจารย์สวัสด์ิ ตันติสุข และอาจารย์ถวัลย์ ดัชนี ศิลปินทั้ง 3 ท่าน ใช้วัสดุ อุปกรณ์

ในการรองรับการวาดท่ีเหมือนกัน ได้แก่ ผ้าใบ กระดาษ พู่กัน และแปรงในการระบายแต่งแตม้ สี สำหรบั สกี ็มีใช้ทั้งสีน้ำ
และสีน้ำมัน ความแตกตา่ ง ก็คือ ผลงานสว่ นใหญข่ องอาจารย์เฟื้อ หริพิทักษ์ จะนิยมใชส้ ีน้ำมันบนผืนผ้าใบภาพของท่าน
มักจะแสดงรายละเอียดมาก มีการใช้ทั้งแปรงและพู่กันผสมกัน โดยใช้แปรงในส่วนท่ีแสดงลักษณะพื้นผิว แสดงแสงเงา
ของรปู ทรงทม่ี พี นื้ ท่ีขนาดใหญ่ และใชพ้ ู่กนั เก็บรายละเอยี ด

สำหรบั ภาพของอาจารยส์ วัสด์ิ ตนั ตสิ ขุ มนั ิยมใชส้ ีน้ำวาดลงบนกระดาษ ด้วยการใชพ้ กู่ ันขนาดต่างๆเปน็ หลัก
เพ่ือแต่งแต้มสี โดยจะแสดงรูปร่าง โครงสร้างของรูปทรงอย่างคร่าวๆ ไม่ได้เน้นรายละเอียดของภาพมากแต่มีความ
แม่นยำในสัดส่วน

ส่วนการเลือกใช้วัสดุ อุปกรณ์ของอาจารย์วัลย์ ดัชนี จะมีความแตกต่างมากกว่า กล่าวคือ จะใช้แปรง
ขนาดใหลักลุ่มสีแล้วปาดป้าย สีท่ีใช้จะเนนเพียงสีขาว สีดำ สีแดง และทอง และมักจะใช้ผ้าใบขนาดใหญ่ก็ยังมีการใช้
ปากกาลกู ล่นื นำมาวาดภาพลายเส้นลงบนกระดาษอีกด้วย

“น้ำเงิน-เขียว” (2501) ผลงาน “ชีวิตในบ้าน” ผลงานของสวัสด์ิ “เสือขบม้า” ผลงานของถวัลย์
ของเฟื้อ หริพทิ กั ษ์ เทคนคิ สนี ำ้ มนั ตนั ตสิ ุข เทคนคิ สีน้ำมันบนกระดาษ ดัชนี เทคนคิ สีน้ำมนั บนกระดาษ

ท่มี า : 1. //www.bloggang.com/viewfb.php?id=haiku&month=11-05-2010&group=2&gblog=33

2. //www.art-centre.su.ac.th/1st-14th.html

3. //m.facebook.com/136387316439075/posts/2779327358811711/

ชดุ ฝึกทักษะ เร่ืองทักษะทัศนศลิ ป์ ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 2 31
ชุดท่ี 2 รูปแบบการใช้วัสดุ อุปกรณ์ในงานทศั นศิลปข์ องศลิ ปิน

3.2 ศลิ ปีนสาขาประตมิ ากรรมและสาขาสือ่ ผสม
อาจารย์ชำเรือง วิเชียรเขตต์ และอาจารย์นนทิวรรธน์ จันทนะผะลิน ศิลปินท้ัง ๒ ท่าน ใช้วัสดุ อุปกรณ์กล่าว

ได้ว่า มีลักษณะเหมือนกัน คือ ใช้ดินเหนียวและปูนปลาสตอเป็นหลัก ส่วนเคร่ืองมือก็ใช้เครื่องมืองานปั้นทั่วไปมีการ
สร้างสรรค์งานประติมากรรมด้วย ถ้าเป็นผลงานประติมากรรมเกี่ยวกับการปั้นจะใช้ดินเหนียวและปูนปลาสเตอร์เป็นส่วน
ใหญ่ โดยงานของอาจารย์นนทิวรรธณ์ จันทนะผะลิน จะนำเสนอโดยใช้ปูนปั้นค่อนข้างมาก แล้วใช้เคร่ืองมือมาตกแต่ง
ผลงานให้มคี วามสวยงามประณตี

สำหรับการหล่อ ศิลปินทั้ง ๒ ท่าน จะใช้ดินเหนียวในการข้ึนรูป เสร็จแล้วก็นำไปหล่อด้วยโลหะต่างๆ ตาม
ความถนดั และความสนใจ ความแตกต่างจะอยู่ท่วี ัสดทุ ่ีนำมาใช้หลอ่ โดยผลงานของอาจารย์นนทิวรรธน์ จันทนะผะลิน จะใช้
วัสดุสมัยใหมอ่ ยา่ งหลากหลายชนดิ และเป็นวสั ดตุ ามแบบอย่างสากลมาสรา้ งสรรค์ผลงานมากกว่า แตผ่ ลงานของอาจารยช์ ำ
เรืองวิเชียรเขตต์ มกั ใชโ้ ลหะผสมที่มใี ชก้ ันอยู่ท่วั ไป

ส่วนผลงานของอาจารย์กมล ทัศนาญชลี ในการเลือกใช้วัสดุ อุปกรณ์จะมีความแตกต่างออกไปจากศิลปินท้ัง
๒ ท่านข้างต้นอย่างเห็นได้ชัด เน่ืองจากท่านเป็นศิลปินที่มีช่ือเสียงเก่ียวกับผลงานด้านส่ือผสม แม้ว่าผลงานในการ
สร้างสรรค์จะสามารถมองได้ว่าเป็นผลงานประติมากรรม แต่รูปแบบการนำเสนอและการใช้วัสดุด่อนข้างเป็นแนวคิดใหม่
โดยใช้ทั้งวัสดุท่ีพบได้ทั่วไป รวมท้ังวัสดุสังเคราะห์ และบางส่วนก็สร้างสรรค์ขึ้นเอง เช่นกระดาษ ผ้าใบ หนัง เป็นต้น
ขณะเดียวกันก็ใช้เทคนิคภาพพิมพ์ แกะไม้ จิตรกรรมสีน้ำมันมาผสมผสานในผลงานด้วย จึงเห็นได้อย่างชัดเจนว่างาน
ทศั นศลิ ป์ของทา่ นมีการใชว้ สั ดุ อปุ กรณ์ทห่ี ลากหลาย ขึ้นอย่แู นวคิดทต่ี ้องการนำเสนอ

“ส่วนโค้ง” ประติมากรรมสำริด “ความปรารถนา หมายเลข 8” ส่ือผสมในชุด “หนังใหญ่” ผลงาน
ผลงานของชำเรอื ง วเิ ชียรเขตต์ ประติมากรรมปูนปลาสเตอร์ งาน ของกมล ทศั นาญชลี
ของนนทวิ รรธน์ จันทนะผะลนิ

ท่ีมา : 1. //www.barameeofart.com/images/product/product_2510_1.jpg
2. //monwic.com/th/art/nang-yai/

ชุดฝึกทักษะ เรือ่ งทักษะทัศนศลิ ป์ ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 2 32
ชดุ ที่ 2 รปู แบบการใชว้ สั ดุ อุปกรณใ์ นงานทัศนศิลป์ของศิลปนิ

ใบงานที่ 1

เรอ่ื ง ศลิ ปนิ ไทยกับความแตกตา่ งทางเทคนคิ
คำชี้แจง ให้นักเรียนนำเสนอศิลปินไทยทัศนศิลป์สาขาจิตรกรรม ประติมากรรม และส่ือผสม พร้อมอธิบาย

รูปแบบการใช้วัสดุ อุปกรณใ์ นงานทัศนศิลป์ของศิลปนิ

ชอ่ื ศิลปนิ ..............................................
สาขา .....................................................

ประวตั ิศิลปิน
............................................................................................................................. .........................................
.......................................................................................... ............................................................................
............................................................................................................................. .........................................
ผลงานเกียรตคิ ณุ
............................................................................................................................. .........................................
....................................................................................... ...............................................................................
............................................................................................................................. .........................................
รปู แบบการใชว้ ัสดุ อปุ กรณ์ในการสร้างสรรค์ผลงาน
............................................................................................................................. .........................................
......................................................................................................................................................................

ชดุ ฝึกทกั ษะ เร่ืองทักษะทศั นศิลป์ ช้นั มัธยมศึกษาปที ่ี 2 33
ชุดที่ 2 รูปแบบการใชว้ สั ดุ อุปกรณใ์ นงานทศั นศิลปข์ องศลิ ปิน

ใบงานที่ 2

เรื่อง ความเหมือนและความแตกต่างของศลิ ปิน

คำชแี้ จง ใหน้ ักเรียนทำสรุปเปน็ Mind Map เปรยี บเทยี บความเหมือนและความแตกต่างของศลิ ปินไทย
ทศั นศลิ ปส์ าขาจิตรกรรม ประตมิ ากรรม และสอ่ื ผสม

ชุดฝกึ ทกั ษะ เร่ืองทักษะทศั นศลิ ป์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 34
ชุดที่ 2 รูปแบบการใชว้ ัสดุ อุปกรณ์ในงานทศั นศิลปข์ องศลิ ปนิ

แบบทดสอบหลงั เรยี น
เรื่องทักษะทศั นศลิ ป์
ชุดที่ 2 เรื่อง รปู แบบการใช้วัสดุ อุปกรณ์ในงานทศั นศิลป์ของศลิ ปิน

คำชแี้ จง 1. แบบทดสอบก่อนเรียนมจี ำนวน 10 ข้อ คะแนนเต็ม 10 คะแนน 2. ให้เลอื กคำตอบท่ีถกู ต้อง
ทส่ี ดุ เพียงข้อเดียวโดยทำเครอ่ื งหมายกากบาท ( x ) ในช่องข้อ ก, ข, ค, หรือ ง ในกระดาษคำตอบ

1. ข้อใดคือศิลปนิ ทศั นศลิ ปส์ าขาจติ รกรรม ข. นนทิวรรธน์ จนั ทนะผะลิน
ก. กมล ทศั นาญชลี ง. ชำเรือง วเิ ชยี รเขตต์
ค. สวัสดิ์ ตันตสิ ุข

2. ศิลปินในขอ้ ใดใช้สนี ้ำกับสีน้ำมนั เปน็ หลัก ข. ถวัลย์ ดชั นี
ก. เฟื้อ หรพิ ิทักษ์ ง. ศลิ ป์ พีระศรี
ค. สวสั ดิ์ ตนั ติสุข

3. ขอ้ ใดไม่ใชเ่ ทคนิคสาขาจิตรกรรม ข. สนี ้ำมันบนผนื ผา้ ใบ
ก. สีนำ้ บนกระดาษ ง. ภาพพมิ พ์แกะไม้บนกระดาษ
ค. สชี อลก์ บนกระดาษ

4. จิตรกรรมเทคนิคผสม ใชว้ ัสดุ อปุ กรณ์ชนิดใด ข. สนี ำ้ กับพกู่ ันบนกระดาษ
ก. สีน้ำมนั กบั สอี ะคริลกิ บนผืนผา้ ใบ ง. สีฝุ่นบนผืนผา้ ใบ
ค. ภาพพิมพบ์ นกระดาษ

5. จิตรกรรมเทคนิคสอ่ื ผสม ใช้วสั ดุ อุปกรณช์ นิดใด

ก. ปากกากับดินสอสี ข. สชี อล์กกับสีอะครลิ ิก

ค. สีอะครลิ ิกกับลูกปดั ง. สีน้ำกบั สีโปสเตอร์

ชดุ ฝกึ ทกั ษะ เร่ืองทักษะทศั นศลิ ป์ ช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี 2 35
ชดุ ที่ 2 รูปแบบการใช้วสั ดุ อุปกรณใ์ นงานทัศนศลิ ป์ของศลิ ปนิ

6. จากภาพ เปน็ ประติมากรรมโดยใชเ้ ทคนคิ ในข้อใด

ก. เทคนคิ ดนิ เผา ข. เทคนคิ บรอนซ์ ชุบโครเมี่ยม

ค. เทคนิคดินน้ำมนั ง. เทคนคิ ปนู ปลาสเตอร์

7. กมล ทศั นาญชลี มีความเช่ียวชาญในดา้ นเทคนิคใด
ก. การใช้เทคนิคส่ือผสม
ข. การใช้เทคนิคหล่อ
ค. การใช้เทคนิคปนั้
ง. การใช้เทคนคิ สำรดิ ปิดทอง

8. ศลิ ปนิ ในข้อใดสรา้ งสรรค์งานประตมิ ากรรมเชงิ นามธรรม แฝงแง่คิด ปรชั ญาทางศาสนา
ก. ชำเรือง วเิ ชยี รเขตต์
ข. เฟอื้ หรพิ ิทักษ์
ค. กมล ทัศนาญชลี
ง. นนทวิ รรธน์ จนั ทนะผะลิน

9. ศิลปินในข้อใดทีย่ ังมชี วี ิตในปจั จบุ นั
ก. เฟอ้ื หรพิ ิทกั ษ์
ข. นนทวิ รรธน์ จันทนะผะลนิ
ค. กมล ทัศนาญชลี
ง. ถวัลย์ ดชั นี

10. ศลิ ปินในขอ้ ใดใชเ้ ทคนคิ ตวัดดว้ ยพกู่ นั ขนาดใหญ่

ก. ชำเรือง วิเชยี รเขตต์ ข. ศิลป์ พรี ะศรี

ค. ถวัลย์ ดชั นี ง. เฟื้อ หริพิทักษ์

ชุดฝึกทักษะ เรอื่ งทักษะทัศนศิลป์ ชนั้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 2 36
ชุดที่ 2 รูปแบบการใชว้ ัสดุ อุปกรณใ์ นงานทศั นศิลปข์ องศลิ ปิน

กระดาษคำตอบแบบทดสอบหลังเรยี น
เรอื่ งทกั ษะทัศนศลิ ป์

ชุดท่ี 2 เรอ่ื ง รูปแบบการใชว้ ัสดุ อุปกรณ์ในงานทัศนศลิ ป์ของศลิ ปนิ

ชอ่ื -สกุล…………………………………………………………………………..ชั้น…………………..…….เลขท่ี………………

ขอ้ ก ข ค ง
1

2

3

4

5

6

7

8

9

10

คะแนนท่ไี ด้

ชุดฝึกทักษะ เร่อื งทักษะทัศนศิลป์ ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ 2 37
ชุดท่ี 2 รูปแบบการใช้วสั ดุ อุปกรณใ์ นงานทศั นศลิ ปข์ องศลิ ปนิ

บรรณานกุ รม

จรี พันธ์ สมประสงค์. (2546). ศิลปะ. กรงุ เทพฯ : แม็ค.
ฉัตรช์ ัย อรรถปกั ษ.์ (2551). องค์ประกอบศิลปะ. พมิ พ์คร้ังที่ 7. สมุทรสาคร : บริษัทพิมพด์ ีจำกดั .
เตชติ ตรีชัย. (2557). ทศั นศิลป์ 1. นนทบุรี : เอมพนั ธจ์ ำกัด.

. (2558). หนงั สือเรียน รายวิชาพ้นื ฐาน ทศั นศิลป์ 2 ชนั้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 2 กลมุ่ สาระ
การเรียนรศู้ ลิ ปะ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551.
กรงุ เทพฯ : บรษิ ทั สำนกั พมิ พ์เอมพันธ์จำกัด.
วิทูรย์ โสแกว้ . (2551). หนงั สือเรียน รายวชิ าพนื้ ฐาน ทศั นศลิ ป์ ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 1 กลุ่มสาระการ
เรยี นรูศ้ ิลปะ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน พุทธศักราช 2551.
กรุงเทพฯ : ไทยวฒั นาพานิช.
สมชาย พรหมสวุ รรณ. (2548). หลกั การทัศนศลิ ป์. กรุงเทพฯ : สำนกั พมิ พแ์ หง่ จุฬาลงกรณ์
มหาวทิ ยาลยั .
สำนกั วิชาการและมาตรฐานการศึกษา. (2551). ตัวชวี้ ดั และสาระการเรียนรแู้ กนกลาง กลมุ่ สาระ
การเรยี นรูศ้ ิลปะ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช 2551. สำนกั งาน
คณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการ.
สชุ าติ เถาทอง และคณะ. (2550). หนังสือเรียนสาระการเรียนรูพ้ นื้ ฐาน กลมุ่ สาระการเรียนรู้
ศลิ ปะทัศนศิลป์ ช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี 1 ช่วงช้ันท่ี 3. กรงุ เทพฯ : อักษรเจริญทัศน์.

ชุดฝกึ ทกั ษะ เร่ืองทกั ษะทศั นศิลป์ ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 2 38
ชดุ ที่ 2 รปู แบบการใช้วสั ดุ อุปกรณใ์ นงานทศั นศลิ ปข์ องศลิ ปนิ

ภาคผนวก

ชดุ ฝึกทักษะ เรอื่ งทักษะทศั นศลิ ป์ ชัน้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 2 39
ชดุ ที่ 2 รูปแบบการใชว้ ัสดุ อุปกรณ์ในงานทศั นศลิ ป์ของศิลปนิ

เฉลย แบบทดสอบก่อนเรยี น
เรอ่ื งทักษะทศั นศิลป์

ชดุ ที่ 2 เร่ือง รูปแบบการใช้วัสดุ อปุ กรณ์ในงานทศั นศิลป์

ชอ่ื -สกลุ …………………………………………………………………………..ช้นั …………………..…….เลขที่………………

ขอ้ ก ข ค ง

1X X
2X X
X
3 X

4X

5

6

7X

8

9X
10 X

คะแนนท่ไี ด้

ชุดฝกึ ทักษะ เรอื่ งทกั ษะทศั นศิลป์ ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 2 40
ชดุ ท่ี 2 รูปแบบการใชว้ ัสดุ อุปกรณ์ในงานทัศนศลิ ปข์ องศิลปนิ

แนวการตอบใบงานที่ 1

เรื่อง ศลิ ปนิ ไทยกับความแตกตา่ งทางเทคนคิ

คำช้ีแจง ให้นักเรียนนำเสนอศิลปินไทยทัศนศิลป์สาขาจิตรกรรม ประติมากรรม และส่ือผสม พร้อมอธิบาย
รปู แบบการใช้วสั ดุ อปุ กรณใ์ นงานทัศนศิลป์ของศลิ ปิน

ช่ือศิลปิน อาจารยว์ ัลย์ ดัชนี
สาขา จติ รกรรม

ประวตั ิศิลปิน
............................................................................................................................. .........................................
.......................................................................................... ............................................................................
............................................................................................................................. .........................................
ผลงานเกียรตคิ ณุ
............................................................................................................................. .........................................
....................................................................................... ...............................................................................
............................................................................................................................. .........................................
รูปแบบการใช้วัสดุ อปุ กรณ์ในการสรา้ งสรรค์ผลงาน
............................................................................................................................. .........................................
......................................................................................................................................................................

ชดุ ฝกึ ทกั ษะ เรื่องทกั ษะทศั นศิลป์ ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 2 41
ชดุ ท่ี 2 รปู แบบการใชว้ ัสดุ อุปกรณใ์ นงานทศั นศลิ ป์ของศลิ ปิน

แนวการตอบใบงานที่ 2

เรอื่ ง ความเหมอื นและความแตกต่างของศิลปิน

คำชแี้ จง ให้นกั เรยี นทำสรปุ เป็น Mind Map เปรียบเทยี บความเหมือนและความแตกต่างของศิลปนิ ไทย
ทศั นศิลปส์ าขาจิตรกรรม ประติมากรรม และสือ่ ผสม

ชดุ ฝกึ ทักษะ เรอื่ งทักษะทัศนศิลป์ ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ 2 42
ชุดท่ี 2 รูปแบบการใชว้ ัสดุ อุปกรณใ์ นงานทัศนศิลปข์ องศลิ ปนิ

เฉลย แบบทดสอบหลังเรยี น
เร่ืองทกั ษะทัศนศิลป์

ชุดที่ 2 เร่ือง รปู แบบการใชว้ สั ดุ อุปกรณใ์ นงานทัศนศลิ ป์

ชอ่ื -สกุล…………………………………………………………………………..ชน้ั …………………..…….เลขท่ี………………

ข้อ ก ข ค ง

1X X
2X X
X
3 X

4X

5

6

7X

8

9X
10 X

คะแนนท่ไี ด้

ชดุ ฝึกทกั ษะ เรือ่ งทักษะทศั นศลิ ป์ ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ 2 43
ชดุ ที่ 2 รูปแบบการใชว้ ัสดุ อุปกรณใ์ นงานทัศนศลิ ปข์ องศิลปนิ

เกณฑ์การประเมนิ การทำแบบทดสอบหลงั เรยี น
ชุดฝึกทกั ษะ เรอ่ื งหลักการจัดองคป์ ระกอบศลิ ป์
ชุดที่ 2 เร่ือง รูปแบบการใช้วสั ดุ อปุ กรณ์ในงานทศั นศลิ ป์ของศิลปิน

ชว่ งคะแนน ระดับคณุ ภาพ
8-10 คะแนน ดมี าก
5-7 คะแนน ดี
1-4 คะแนน ปรับปรงุ

เกณฑก์ ารตดั สนิ
ผู้ผา่ นเกณฑ์การประเมิน ต้องไดค้ ะแนนร้อยละ 80 คอื 3 คะแนนขน้ึ ไปจงึ จะถือวา่ ผา่ นเกณฑ์

ชดุ ฝกึ ทกั ษะ เร่อื งทกั ษะทศั นศลิ ป์ ชนั้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 2 44
ชดุ ที่ 2 รปู แบบการใชว้ ัสดุ อุปกรณ์ในงานทศั นศิลป์ของศลิ ปนิ

เกณฑก์ ารประเมนิ การทำใบงานในชุดฝกึ ทกั ษะ
ชดุ ฝกึ ทกั ษะ เรอ่ื งหลักการจัดองค์ประกอบศลิ ป์
ชดุ ท่ี 2 เรื่อง รปู แบบการใช้วสั ดุ อุปกรณ์ในงานทศั นศลิ ป์ของศิลปนิ

เกณฑก์ ารประเมิน

รายการประเมิน ระดบั คะแนน/ระดบั คณุ ภาพ

เนอ้ื หา 1 (ปรับปรงุ ) 2 (ดี) 3 (ดีมาก)
ความถกู ต้อง
ภาษา ตอบไมช่ ดั เจน ตอบชดั เจน ถูกต้องมี ตอบชดั เจนถูกต้องไม่มี
เวลา
ความร่วมมือ มขี ้อผดิ พลาด ข้อผิดพลาดบา้ ง ข้อผิดพลาด

ไม่ถูกต้องและคลุมเครือ ถกู ต้องแต่ไม่ชดั เจน ถูกต้องชัดเจน

ใช้ภาษาไม่ถูกต้องไม่ ใชภ้ าษาถกู ต้องแตไ่ ม่ ใชภ้ าษาถกู ต้องสอดคลอ้ ง

สอดคล้องกบั เน้ือหา สอดคล้องกับเน้ือหา กับเนือ้ หา

สง่ ช้ากว่าเวลาทกี่ ำหนด สง่ ช้ากวา่ เวลาท่กี ำหนด สง่ ภายในเวลาทก่ี ำหนด

5 วนั หรอื มากกวา่ นนั้ 2 วัน

ไม่มีความร่วมมือ มีความร่วมมือทุก มีความรว่ มมืออย่างดีทุก

เทา่ ทคี่ วร กิจกรรม กิจกรรม

ระดบั คะแนน/ระดบั ช่วงคะแนน/ระดบั คุณภาพ ช่วงคะแนน/ระดับคณุ ภาพ
คุณภาพ สำหรบั ข้อคำถาม 10 ข้อ สำหรับขอ้ คำถาม 5 ข้อ
8-10 คะแนน = ดมี าก 4-5 คะแนน = ดมี าก
3 คะแนน = ดมี าก 5-7 คะแนน = ดี 3 คะแนน = ดี
2 คะแนน = ดี 0- คะแนน = ปรับปรงุ 0-2 คะแนน = ปรบั ปรุง
1 คะแนน = ปรับปรุง

เกณฑก์ ารตัดสิน ใบงานท่ี
ผผู้ า่ นเกณฑ์การประเมิน ตอ้ งไดค้ ะแนนร้อยละ 80 คือ 15 คะแนนขนึ้ ไปจงึ จะถือวา่ ผ่านเกณฑ์

ชดุ ฝกึ ทกั ษะ เรือ่ งทกั ษะทัศนศลิ ป์ ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 2 45
ชดุ ที่ 2 รปู แบบการใช้วสั ดุ อุปกรณ์ในงานทัศนศิลป์ของศิลปนิ

ประวตั ผิ ู้จัดทำ

ชื่อ-สกุล นางสาวโสพิศ ชาติพนั ธ์ุ
วัน เดอื น ปี เกิด 27 ธันวาคม 2523
ประวตั ิการศึกษา ปริญญาตรี ศลิ ปศาสตรบ์ ัณฑิต (ศึกษาศาสตร์)
วชิ าเอก ศลิ ปศึกษา
ตำแหนง่ มหาวิทยาลยั สงขลานครนิ ทร์ วทิ ยาเขตปตั ตานี
สาระวิชา ครู วทิ ยฐานะชำนาญการพเิ ศษ
สถานท่ีทำงาน ศิลปะ ระดับชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี 2 และระดบั ชัน้
มัธยมศึกษาปที ี่ 6
สังกดั โรงเรยี นคณะราษฎรบำรงุ จังหวัดยะลา
ตำบลสะเตง อำเภอเมือง จงั หวัดยะลา 95000
ทีอ่ ย่ปู จั จบุ ัน โทร. 073-212820
ภมู ิลำเนา สำนกั งานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศกึ ษายะลา
สังกัดคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน
กระทรวงศึกษาธิการ
บา้ นพกั ครู 62/1 ถนนวงเวียน 3 ตำบลสะเตง
อำเภอเมือง จังหวดั ยะลา 95000
อำเภอสทิงพระ จงั หวดั สงขลา

ชุดฝึกทกั ษะ เร่ืองทักษะทศั นศลิ ป์ ช้นั มัธยมศึกษาปที ่ี 2 46
ชดุ ที่ 2 รปู แบบการใช้วสั ดุ อุปกรณใ์ นงานทัศนศลิ ป์ของศลิ ปิน

ตัวอยา่ งผลงานนักเรยี น

อาจารย์ชําเรือง วิเชียรเขตต์ มีชื่อเสียงโดดเด่นในเรื่องใด *

ชำเรือง วิเชียรเขตต์ เกิดที่ จ.กาฬสินธุ์ เป็นศิลปินอาวุโสคนสำคัญด้านประติมากรรม มีผลงานดีเด่นเป็นที่ยอมรับในวงการศิลปะและศิลปศึกษาโดยทั่วไป มีผลงานแสดงในนิทรรศการศิลปะและสถาบันศิลปะทั้งในและต่างประเทศ ที่สำคัญได้รับรางวัลเกียรตินิยมอันดับ 1 เหรียญทอง ประเภทประติมากรรมจากการแสดงศิลปกรรมแห่งชาติ และได้รับเลือกเป็นผู้แทน ...

ข้อใดกล่าวถึงผลงานส่วนใหญ่ของ อ.เฟื้อ หริพิทักษ์

อาจารย์เฟื้อ หริพิทักษ์ เป็นศิลปินไทยคนแรกที่ได้รับรางวัลอันทรงเกียรตินี้ ซึ่งคณะกรรมการมูลนิธิแมกไซไซได้พิจารณาจากความเป็นผู้อนุรักษ์ศิลปกรรมไทย ความเป็นครู และผลงานที่โดดเด่นที่สุด คือการอนุรักษ์หอพระไตรปิฎกวัดระฆังโฆสิตาราม ซึ่งได้รับการยกย่องว่าเป็นงานบูรณะที่มีรูปแบบของการอนุรักษ์ศิลปกรรมที่สมบูรณ์ที่สุด

ผลงานทางทัศนศิลป์ในข้อใดมีอิทธิพลจากความเชื่อทางศาสนา *

มีงานศิลปะใดบ้างที่เกี่ยวข้องกับ ศาสนาที่นักเรียนนับถือ ? จิตรกรรมกับศาสนา เป็นการถ่ายทอดเรื่องราวเกี่ยวกับศาสนาผ่าน การวาดภาพ เช่น ภาพจิตรกรรมฝาผนัง ภาพ พุทธประวัติ ของศาสนาพุทธ ภาพจิตรกรรมโมเสก ของศาสนาคริสต์เป็นต้น ตัวอย่างภาพจิตรกรรม

วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในงานจิตรกรรมมีอะไรบ้าง

สีโปสเตอร์ พู่กันกลม จานสี ผ้าเช็ดทาความสะอาด กระดาษ 100 ปอนด์ขนาด A4. กระดาษกาวนิโต้ไม้กระดานรองวาด Page 36 "ทุกสิ่งที่คุณ สามารถ จิตนาการได้ คือความเป็นจริง "

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

แปลภาษาไทย ไทยแปลอังกฤษ โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน lmyour แปลภาษา ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv แปลภาษาอาหรับ-ไทย แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip แอพแปลภาษาอาหรับเป็นไทย ค้นหา ประวัติ นามสกุล ห่อหมกฮวกไปฝากป้า หนังเต็มเรื่อง ไทยแปลอังกฤษ ประโยค Terjemahan เมอร์ซี่ อาร์สยาม ล่าสุด แปลภาษาจีน กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น ่้แปลภาษา Google Translate ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย พร บ ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 วิธีใช้มิเตอร์วัดไฟดิจิตอล สหกรณ์ออมทรัพย์กรมส่งเสริมการปกครอง ส่วนท้องถิ่น ห่อหมกฮวก แปลว่า Bahasa Thailand Thailand translate mu-x มือสอง รถบ้าน การวัดกระแสไฟฟ้า ด้วย แอมมิเตอร์ การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 4 ก่อนจะนิ่งก็ต้องกลิ้งมาก่อน เนื้อเพลง ก่อนจะนิ่งก็ต้องกลิ้งมาก่อน แคปชั่น พจนานุกรมศัพท์ทหาร ภูมิอากาศ มีอะไรบ้าง สถาบันพัฒนาบุคลากรท้องถิ่น อาจารย์ ตจต อเวนเจอร์ส ทั้งหมด เขียน อาหรับ แปลไทย ใบรับรอง กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน Google map Spirited Away 2 spirited away ดูได้ที่ไหน tor คือ จัดซื้อจัดจ้าง กินยาคุมกี่วัน ถึง ปล่อยในได้ ธาตุทองซาวด์เนื้อเพลง บช.สอท.ตำรวจไซเบอร์ ล่าสุด บบบย มิติวิญญาณมหัศจรรย์ ตอนจบ รหัสจังหวัด อําเภอ ตําบล ศัพท์ทางทหาร military words สอบ O หยน