แผนการ สอนภาษาไทย ม.1 วรรณคดี วิ จัก ษ์

แผนการสอนหรือแผนจัดการเรียนรู้ เป็นเครื่องมือสำคัญอย่างหนึ่งสำหรับการจัดการเรียนการสอนของครูผู้สอนในทุกระดับชั้น เปรียบเสมือนแผนที่นำทางที่ช่วยให้ครูสามารถดำเนินกิจกรรมการเรียนการสอนให้กับผู้เรียนได้เหมาะสม ตรงตามเป้าหมายและมีประสิทธิภาพ

การจัดทำแผนการสอนนั้น ครูผู้สอน จำเป็นต้องมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องของหลักสูตรแกนกลางและหลักสูตรสถานศึกษาอย่างถ่องแท้ เพื่อให้สามารถออกแบบแผนการสอนได้อย่างเหมาะสมและถูกต้องครบถ้วน ซึ่งจะเป็นประโยชน์อย่างมากต่อการจัดการศึกษาทั้งกับตัวผู้เรียนและตัวครูผู้สอนเอง โดยอาศัย โดยองค์ประกอบที่สำคัญของการออกแบบแผนการสอนนั้น จะต้องประกอบด้วยส่วนสำคัญดังนี้

              1. หัวเรื่อง คือ ส่วนที่ต้องกำหนด ชื่อของเรื่องหรือหน่วยการเรียนรู้  ขั้นที่สอนและเวลาที่ใช้สอน

              2. สาระสำคัญ คือ มโนทัศน์หลักหรือความคิดรวบยอดของการจัดการเรียนรู้ในเรื่องนั้น ๆ ซึ่งกำหนดเป็นภาพกว้างให้เห็นการเชื่อมโยงข้อมูลของสิ่งที่กำลังจะสอน

              3. มาตรฐานและตัวชี้วัด คือ คุณลักษณะสำคัญของผู้เรียนที่กำหนดไว้ในหลักสูตร โดยในแต่ละแผนการจัดการเรียนรู้ จะหยิบยกมาเฉพาะส่วนที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาและคาดว่าจะเกิดกับผู้เรียน ซึ่งการที่ลักษณะของผู้เรียนเป็นไปตามมาตรฐานและตัวชี้วัดนี้ จะช่วยให้ผู้เรียนเกิดสมรรถนะสำคัญและคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ตามที่กำหนดไว้ในหลักสูตรแกนกลางและส่วนที่เพิ่มเติมให้หลักสูตรสถานศึกษา

              4. จุดประสงค์การเรียนรู้ คือ เป้าหมายที่ต้องการให้เกิดกับตัวผู้เรียนหลังจากที่เราได้ดำเนินการจัดการเรียนรู้ตามแผนที่ได้วางไว้แล้ว โดยในการกำหนดจุดประสงค์การเรียนรู้นั้นจะต้องเกิดจากการวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดตามตารางวิเคราะห์หลักสูตร

              5. สาระการเรียนรู้ คือเนื้อเรื่อง หรือองค์ความรู้ ทักษะ กระบวนการของผู้เรียนที่จะต้องเรียนรู้ในรายวิชานั้น ๆ

              6. การบวนการการเรียนรู้ คือ การระบุกิจกรรมการเรียนรู้ที่จัดขึ้น เพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ โดยแบ่งเป็น ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน ขั้นสอน และขั้นสรุป

              7. สื่อ/อุปกรณ์/แหล่งการเรียนรู้ คือ เครื่องมือในการส่งเสริมการเรียนรู้ที่ใช้ตามที่กำหนดในกิจกรรมการเรียนรู้

              8. การวัดและประเมินผล คือ การประเมินผลผู้เรียนตามจุดประสงค์การเรียนรู้ ซึ่งควรระบุเครื่องมือวัดและเกณฑ์การให้คะแนน ซึ่งสามารถศึกษาได้จากคู่มือหลักสูตร

              9. บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้ คือการบันทึกของครูผู้สอนจากสิ่งที่พบในการนำแผนจัดการเรียนรู้มาใช้ โดยแบ่งเป็น ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ปัญหาและอุปสรรค์ และ ข้อเสนอแนะ

อย่างไรก็ตามคุณครูสามารถดาวน์โหลดตัวอย่างแผนการจัดการเรียนรู้หรือแผนการสอนวิชาภาษาไทยได้จากลิงก์ด้านล่างครับ

เแรผยี นนกราู้ (รSจTัดEกMาร)
เพื อพั ฒนาทักษะการแก้ปญหา สําหรับนั กเรียนชั นมัธยมศึ กษา

บทเสภาสามัคคี เสวก ตอนวิศวกรรมาและสามัคคี เสวก
กลอนบทละครเรืองรามเกียรติ ตอนนารายณ์ ปราบนนทก

ม.๒
นางสาวทพิ ยเ์ กษร เชือตาหมนื นางสาวจนั ทนิภา คะเรรมั ย์ สาขาวิชาภาษาไทย คณะครุศาสตร์

รหัส ๖๑๑๓๑๑๐๙๐๔๒ รหัส ๖๑๑๓๑๑๐๙๐๕๑ มหาวิทยาลัยราชภฏั สวนสุนันทา

คํานํ า

การจัดทําชุดการเรียนรู้กิจกรรมการเรียนรู้ เพือพัฒนาทักษะการ

เรียนรู้ในรายวิชาภาษาไทย สาระที ๕ วรรณคดีและวรรณกรรม เรืองบท

เสภาสามัคคเสวก ตอน วิศวกรรมาและสามัคคีเสวก และบทละคร

รามเกียรติ ตอน นารายณ์ปราบนนทก กลุ่มสาระการเรียนรู้วิชาภาษา

ไทย ชันมัธยมศึกษาปที ๒ เพือช่วยให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้เปนไปตาม

ขันตอนอย่างมีประสิทธิภาพ ผู้จัดทําได้พยายามศึกษาค้นคว้าจาก

เอกสาร ตําราต่างๆ รวมไปถึงแหล่งเรียนรู้ ทีเกียวข้องกับการทําชุดการ

เรียนรู้ เพือให้เกิดความชัดเจนและถูกต้องตามหลักวิชา ดังนันจึงได้จัด

ทําชุดการเรียนรู้ทังหมด ๕ กิจกรรม แยกเปน ๒ หน่วยการเรียนรู้ ดังนี

หน่วยการเรียนรู้ที ๒ บทเสภาสามัคคเสวก ตอน วิศวกรรมาและ

สามัคคีเสวก

๑. กิจกรรมที ๑ เรือง การอ่านบทเสภาสามัคคีเสวก ตอนวิศวกรรมา

และ ตอนสามัคคีเสวก

๒. กิจกรรมที ๒ เรือง การพิจารณาคุณค่าบทเสภา

หน่วยการเรียนรู้ที ๔ บทละครเรืองรามเกียรติ ตอน นารายณ์ปราบ

นนทก

๓. กิจกรรมที ๓ เรือง การอ่านบทละครเรือง รามเกียรติ ตอนนารายณ์

ปราบนนทก

๔. กิจกรรมที ๔ เรือง คําไวพจน์และคําทีมาจากภาษาอืน

๕. กิจกรรมที ๕ เรืองการพิจารณาคุณค่ากลอนบทละคร

องค์ความรู้ทีอยู่ในเอกสารฉบับนี เกิดขึนจากความรู้ ความเข้าใจ

ความตังใจ ทีจะจัดทําให้สาํ เร็จอย่างมีประสิทธิภาพ และประสิทธิผล

หากพบข้อผิดพลาดประการใด ขออภัยและน้อมรับมา ณ ทีนี

นางสาวทิพย์เกษร เชือตาหมืน
นางสาวจันทนิภา คะเรรัมย์
(ผู้จัดทํา)

แผนผงั แสดงขันตอนการเรยี นรูโ้ ดยใช้ชุดกจิ กรรมการเรยี นรู้

ศึกษาคําแนะนํ าในการใชช้ ดุ กจิ กรรม

ศึกษาสาระการเรยี นรู้ มาตรฐานการเรยี นรู้
ตวั ชวี ดั และจดุ ประสงค์การเรยี นรู้

ทาํ แบบทดสอบกอ่ นเรยี น

ปฏบิ ตั กิ จิ กรรมตาม ไมผ่ า่ นเกณฑ์
ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู้

ทาํ แบบฝกหัดหลงั เรยี น

ผา่ นเกณฑ์

ศึกษากจิ กรรมการเรยี นรูต้ อ่ ไป

ข้ อ เ ส น อ แ น ะ ก า ร ใ ช้ ชุ ด กิ จ ก ร ร ม ก า ร เ รีย น รู้ เ ชิ ง รุ ก
เ พื อ พั ฒ น า ทั ก ษ ะ ก า ร แ ก้ ป ญ ห า
สาํ หรับนักเรียนชันมัธยมศึกษา

๑. ข้อเสนอแนะในการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ภาษาไทย
การใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ภาษาไทย วรรณคดีและวรรณกรรม

บทละคร เรือง รามเกียรติ ตอน นารายณ์ปราบนนทก และกลอน
ดอกสร้อยราํ พึงในปาช้า ชันมัธยมศึกษาปที ๒ ใช้ควบคู่กับแผนการ
จัดการเรียนรู้ที ๑-๕ เวลา ๑๖ ชัวโมง

๒. ส่วนประกอบของชุดกิจกรรมการเรียนรู้ภาษาไทย
การใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ภาษาไทย วรรณคดีและวรรณกรรม

บทละคร เรือง รามเกียรติ ตอน นารายณ์ปราบนนทก และกลอน
ดอกสร้อยราํ พึงในปาช้า ชันมัธยมศึกษาปที ๒ ประกอบด้วยเอกสาร
ดั ง นี

๑. คู่มือการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้เชิงรุ กเพือพัฒนาทักษะการ
เ เ ก้ ป ญ ห า

๒. คําชีแจงสาํ หรับครู ผู้สอน
๓. คําแนะนาํ การใช้ชุดกิจกรรมสาํ หรับนักเรียน
๔. ลําดับขันการเรียนโดยใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ภาษาไทย

๕. มาตรฐานและตัวชีวัดชุดกิจกรรมการเรียนรู้ภาษาไทย
๖. สาระสาํ คัญ/ความคิดรวบยอดชุดกิจกรรมการเรียนรู้
ภาษาไทย
๗. จุดประสงค์ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ภาษาไทย
๘. แบบทดสอบก่อนเรียน เรืองบทเสภาสามัคคีเสวก ตอน วิศวะ
กรรมมา และสามัคคีเสวก และกลอนบทละคร เรือง รามเกียรติ
ตอนนารายณ์ปราบนนทก เปนข้อสอบปรนัย ๔ ตัวเลือก
๙. ใบความรู้จํานวน ๕ เรือง
๑๐. ใบกิจกรรมการทดลอง
๑๑. แบบฝกหัด
๑๒. แบบฝกการแก้ปญหา
๑๓. แบบทดสอบหลังเรียน เรืองบทเสภาสามัคคีเสวก ตอน
วิศวะกรรมมา และสามัคคีเสวก และกลอนบทละคร เรือง
รามเกียรติ ตอนนารายณ์ปราบนนทก เปนข้อสอบปรนัย ๔ ตัวเลือก
๑๔. เฉลยคําตอบ และเกณฑ์การให้คะแนน
๑๕. กระดาษคําตอบ

แผนการจัดการเรยี นรูท้ ี ๑

กล่มุ สาระการเรยี นรู้ : ภาษาไทย ระดับชนั มธั ยมศกึ ษาปที ๒

รหสั วิชา ท๒๒๑๐๑ วิชา ภาษาไทย เวลา ๖๐ ชวั โมง

หน่วยที ๒ ชอื หน่วย บทเสภาสามคั คเี สวก ตอน วิศวะกรรมมา

และสามคั คเี สวก เวลา ๘ ชวั โมง

เรอื งที ๑ เรอื ง การอ่านบทเสภาสามคั คเี สวก ตอนวิศวกรรมา

และสามคั คเี สวก เวลา ๖ ชวั โมง

มาตรฐานการเรยี นรู/้ ตัวชวี ัด

มาตรฐานการเรยี นรู้

ท ๑.๑ ใชก้ ระบวรการอ่าน สรา้ งความรูแ้ ละความคิด เพือนาํ ไปใชต้ ัดสนิ ใจ
แก้ปญหาในการดําเนนิ ชีวิตและมนี ิสยั รักการอ่าน

ท ๕.๑ เขา้ ใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทย
อยา่ งเหน็ คณุ ค่าและนาํ มาประยุกต์ใช้ในชีวิตจรงิ

ตัวชวี ัด

๑. ท ๑.๑ (ม. ๒/๑) อ่านออกเสยี งบทรอ้ ยแกวและบทร้อยกรองได้
ถูกต้อง
๒.ท ๑.๑ (ม. ๒/๒) จับใจความสาํ คัญ สรุปความ และอธิบายราย-ละเอียดจาก
เรอื งทีอ่าน
๓.ท ๑.๑ (ม. ๒/๔) อภิปรายแสดงความคิดเหน็ และขอโต้แยง้ เกียวกับเรอื งที
อ่าน
๔.ท.๓.๑ (ม.๒/๑) พดู สรุปใจความสําคัญของเรอื งทีฟงและดู
๕.ท.๓.๑ (ม.๒/๘) มมี ารยาทในการอ่าน
๖.ท ๕.๑ (ม. ๒/๑) สรุปเนอื หาวรรณคดีและวรรณกรรมทีอ่านในระดับทียาก
ขนึ
๗.ท ๕.๑ (ม. ๒/๔) สรุปความรูแ้ ละข้อคิดจากการอ่านไปประยุกต์ใชใ้ นชีวิต
จรงิ

จุดประสงค์การเรยี นรู้
๑. จับใจความสาํ คัญ ตีความ สรุปความ และแสดงความคิดเหน็ เกียวกับ
เรอื งทีอ่านได้ (K, P)
๒. พดู หรอื เขยี นแสดงความคิดเหน็ จากเรอื งทีอ่าน ฟง หรอื ดไู ด้อยา่ งมี
เหตผุ ล (K, P)
๓. นาํ สารประโยชนท์ ีได้รบั ไปปรบั ใชในชวี ิตประจําวันได้ (P)
๔. เหน็ คณุ ค่าและซาบซงึ ในการอ่านวรรณคดีและวรรณกรรมไทย (A)

สมรรถนะของผเู้ รยี น
๑. ความสามารถในการสอื สาร
๒. ความสามารถในการคิด
๓. ความสามารถในการแก้ปญหา
๔. ความสามารถในการใชท้ ักษะชวี ิต
๕. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี

ด้านคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์
๑. รกั ชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์
๒. ซอื สตั ยส์ จุ รติ
๓. มวี ินยั
๔. ใฝเรยี นรู้
๕. อยูอ่ ยา่ งพอเพยี ง
๖. มงุ่ มนั ในการทํางาน
๗. รกั ความเปนไทย
๘. มจี ิตสาธารณะ

สาระสาํ คัญ
บทเสภาสามคั คีเสวก ตอนวิศวกรรมาและสามคั คีเสวก พระราชนพิ นธ์

ในพระบาทสมเด็จพระมงกฎุ เกล้าเจ้าอยูห่ วั กล่าวถึงคณุ ค่าและความสา
คัญของศลิ ปะทีมตี ่อบุคคล และต่อชาติบา้ นเมอื ง
สาระการเรยี นรู้

บทเสภาสามคั คีเสวก เปนพระราชนพิ นธใ์ นพระบาทสมเด็จพระมงกฏุ
เกล้าเจ้าอยูห่ วั ซงึ บทเสภาสามคั คีเสวก ตอนวิศวกรรมาแสดงใหเ้ หน็ ความ
สาํ คัญของศลิ ปะ ทีทําใหเ้ กิดความภาคภมู ใิ จในชาติของตน และบทเสภา
สามคั คีเสวก ตอนสามคั คีเสวก แสดงใหเ้ หน็ ความสาํ คัญของความสามคั คีที
คนในชาติต้องตระหนกั เพอื ใหช้ าติรุง่ เรอื ง
กิจกรรมการเรยี นรู้

ขนั สรา้ งขนั ที ๑ นําเขา้ สบู่ ทเรยี น (ชวั โมงที ๑)
๑. ครูนาํ เขา้ สบู่ ทเรยี น โดยการใหน้ กั เรยี นทําแบบทดสอบก่อนเรยี น
ขอ้ สอบปรนยั ๔ ตัวเลือก จํานวน ๕ ขอ้
๑.บทรอ้ ยกรองเรอื งนมี ชี อื เต็มว่าอะไร

ก.บทเสภาสามคั คีเสวก
ข.บทเสภาระหว่างชุระบาํ สามคั คีเสวก
ค.บทเสภาขบั ชุดระบาํ สามคั คีเสวก
ง.บทเสภาขบั ระหว่างชุดระบาํ สามคั คีเสวก
๒.ใครเปนผแู้ ต่งบทรอ้ ยกรองนี
ก.พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั
ข.พระบาทสมเด็จพระมงกฎุ เกล้าเจ้าอยูห่ วั
ค.พระเจ้าบรมวงศเ์ ธอ กรมพระนราธปิ ประพนั ธพ์ งศ์
ง.พระยาอุปกิตศลิ ปสาร

๓.เรอื งนมี ใี จความเกียวกับอะไรเปนสาํ คัญ

ก.ความสาํ คัญของศลิ ปะ ข.ความหมายของศลิ ปะ
ค.การบาํ รุงรกั ษาศลิ ปะ ง.กําเนดิ ของศลิ ปะ

๔. ชาติทีขาดชา่ งศลิ ปะเปรยี บได้กับอะไร

ก.หญงิ ทีไมต่ กแต่งรา่ งกาย
ข.หญงิ ทีไมม่ ศี ลิ ปะในการตกแต่งรา่ งกาย
ค.หญงิ ทีแต่งงานแล้ว
ง.หญงิ ทีมรี ูปรา่ งอัปลักษณ์

๕. ผทู้ ีดถู กู ชา่ งศลิ ปะ จัดเปนบุคคลประเภทใด

ก. คนชวั ข. คนโง่ ค. คนไรก้ ารศกึ ษา ง. คนปา

๒. ครูนาํ ภาพสถาปตยกรรมไทยเชน่ โบสถ์วิหารเจดียภ์ าพจิตรกรรม
ฝาผนงั มาใหน้ กั เรยี นดแู ล้วซกั ถามนกั เรยี นในประเด็นต่าง ๆ ดังนี

๒.๑ ภาพทีได้ดเู ปนภาพอะไร (วัด / พญานาค /โบสถ์/อืนๆ)
๒.๒ นกั เรยี นรูส้ กึ อยา่ งไรกับภาพนี (สวยงาม/นา่ สนใจ/ตืนเต้น/อืนๆ)
๒.๓ ครูกล่าวถึงความสามารถของชา่ งทีสรา้ งสรรค์งานดังกล่าว

๔. ใหน้ กั เรยี นแบง่ กล่มุ กล่มุ ละ ๕ คน คละเพศ และคละนกั เรยี นเก่ง
ปานกลาง และอ่อนเขา้ ด้วยกัน
๔.๑ ใหน้ กั เรยี นรว่ มกันอภิปรายถึงความรูส้ กึ และคณุ ค่าของศลิ ปะรูปอืน
ๆ ตามทีกําหนด ดังนี

๔.๒ ใหน้ กั เรยี นสง่ ตัวแทนออกมานาํ เสนอตามแนวคิดทีได้รว่ มอภิปราย
กันในกล่มุ หนา้ ชนั เรยี น แล้วแลกเปลียนความคิดเหน็ กับครูผสู้ อน

กจิ กรรมกลมุ่ เปนการสรา้ งเสรมิ ทกั ษะในศั ตวรรษที ๒๑
ดา้ นการรว่ มมอื ทาํ งานเปนทมี การคิด แกป้ ญหา
และรบั ผดิ ชอบตอ่ ผลงานรว่ มกนั

๕. นกั เรยี นดวู ีดิทัศนพ์ ระราชกรณยี กิจของพระบาทสมเด็จพระ-ปรมนิ ทรม
หาภมู พิ ลอดลุ ยเดชด้านต่าง ๆ เชน่ มลู นธิ โิ ครงการหลวงโครงการแก้มลิง
โครงการฝนหลวงแล้วรว่ มกันพดู อภิปราย แสดงความคิดเหน็ ถึงประโยชนจ์ าก
พระราชกรณยี กิจทีสง่ ผลต่อชวี ิตความเปนอยูข่ องประชาชน

ขนั ที ๒ กิจกรรมการเรยี นรู้
๑. ใหน้ กั เรยี นอ่าน เรอื งบทเสภาสามคั คีเสวก ตอน วิศวกรรมาและสามคั คี
เสวกในหนงั สอื เรยี นรายวิชาพนื ฐานภาษาไทย ชนั มธั ยมศกึ ษาปที ๒ แล้วรว่ ม
กันแสดงความคิดเหน็ และครูอธบิ ายเพมิ เติมเกียวกับทีมาของเรอื ง บทเสภา
สามคั คีเสวก ตอน วิศวกรรมาและสามคั คีเสวก
๒. นกั เรยี นอ่านออกเสยี งบทเสภาสามคั คีเสวก ตอน วิศวกรรมา ในหนงั สอื
เรยี น รายวิชา พนื ฐานภาษาไทย ชนั มธั ยมศกึ ษาปที ๒ แล้วชว่ ยกันอธบิ าย
ความหมายของคําศพั ท์ยากหรอื คําศพั ท์ทีไมเ่ ขา้ ใจความหมาย
๓. นกั เรยี นชว่ ยกันถอดคําประพนั ธแ์ ละบอกขอ้ คิดทีได้รบั จากเรอื งแล้ว
เขยี นบนั ทึกสรุปความรู้
๔. ครูสนทนากับนกั เรยี นเกียวกับงานชา่ งของไทยว่ามชี า่ งอะไรบา้ ง
๕. ครูใหน้ กั เรยี นชว่ ยกันบอกความสาํ คัญของศลิ ปะทีกล่าวถึงในบทเสภา
สามคั คีเสวก ตอนวิศวะกรรมมา เพอื เปนการทบทวน

๖. ครูใหน้ กั เรยี นจับกล่มุ จํานวน ๕-๖ คน คละเพศ และคละนกั เรยี น
เก่ง ปานกลาง และอ่อนเขา้ ด้วยกัน
๖.๑ ครูใหน้ กั เรยี นรว่ มกันอภิปราย วิจารณ์ และแสดงความเหน็ เพอื สรุป
ความหมายงานชา่ งแต่ละประเภทในบทเสภาสามคั คีเสวก ตอนวิศวะ
กรรมมา
๖.๒ ครูใหน้ กั เรยี นแต่ละกล่มุ นาํ ความรูท้ ีได้ไปจัดแสดงทีปายนเิ ทศหนา้
ชนั เรยี น

๗. นกั เรยี นชว่ ยกันบอกพระราชกรณยี กิจของสมเด็จพระปรมนิ ทรม
หาภมู พิ ลอดลุ ยเดชด้านต่าง ๆ นอกเหนอื จากวีดิทัศนท์ ีได้ดตู ามทีได้รบั
หมอบหมายใหไ้ ปศกึ ษามาครูเขยี นบนกระดาน แล้วชว่ ยกันตรวจสอบ
ความถกู ต้อง

๘. นกั เรยี นอ่านออกเสยี งเรอื ง บทเสภาสามคั คีเสวก ตอน สามคั คี
เสวกในหนงั สอื เรยี น รายวิชาพนื ฐานภาษาไทย ชนั มธั ยมศกึ ษาปที ๒
แล้วชว่ ยกันถอดคําประพนั ธ์

๙. นกั เรยี นเขยี นสรุปเปนเรอื งราวรอ้ ยแก้วตามลําดับเนอื หา แล้ว
พจิ ารณาสาํ นวนโวหารทีปรากฏในเนอื เรอื ง ชว่ ยกันวิเคราะหภ์ าษาแล้ว
นาํ ไปแลกเปลียนการอ่านรว่ มกับเพอื นในชนั เรยี น

๑๐. นกั เรยี นแบง่ กล่มุ ใหแ้ ต่ละกล่มุ ชว่ ยกันนาํ เสนอความคิดเหน็
ตามประเด็นต่อไปนี
๑๐.๑ ความสมคั รสมานสามคั คีของคนในชาติ
๑๐.๒ ความจงรกั ภักดีต่อพระมหากษัตรยิ แ์ ละชาติบา้ นเมอื ง

๑๑. นกั เรยี นแต่ละล่มุ สง่ ตัวแทนออกมานาํ เสนอเรอื งดังกล่าวหนา้
ชนั เรยี น

๑๒.นกั เรยี นเลือกเขยี นเรยี งความ แต่งนทิ าน หรอื บทรอ้ ยกรอง
สนั ๆ ใหม้ เี นอื หาแสดงถึงความสามคั คีสง่ ครู

ขนั ที ๓ ฝกฝนผเู้ รยี น
๑. นกั เรยี นทํากิจกรรมใบงานทีเกียวกับเนอื เรอื ง บทเสภาสามคั คี

เสวก ตอน วิศวะกรรมมา และสามคั คีเสวก แล้วชว่ ยกันเฉลยคําตอบ
๒. นกั เรยี นอ่านบทเสภาสามคั คีเสวก ตอน วิศวะกรรมมา และ

สามคั คีเสวก แล้วคัดเลือกตอนทีชนื ชอบ วาดภาพประกอบ และเขยี น
บอกเหตผุ ลทีชอบสง่ ครู

ขนั ที ๔ นําไปใช้
นกั เรยี นนาํ ความรูท้ ีได้จากการอ่านบทเสภาสามคั คีเสวก ตอน

วิศวะกรรมมา และสามคั คีเสวก นาํ ไปปรบั ใชใ้ นชวี ิตประจําวัน

ขนั ที ๕ สรุป
นกั เรยี นรว่ มกันสรุปคณุ ค่าและขอ้ คิดทีได้จากการอ่านบทเสภา

สามคั คีเสวก ตอน วิศวะกรรมมา และสามคั คีเสวกบนั ทึกลงในสมดุ

สอื การเรยี นรู้
๑. หนงั สอื เรยี นภาษาไทย
๒. ภาพวาดฝาผนงั สถาปตยกรรมศลิ ปะวัดไทย
๓. ใบความรูเ้ รอื งบทเสภาสามคั คีเสวก ตอนวิศวะกรรมมา และ
สามคั คีเสวก

แหล่งการเรยี นรู้
๑. หอ้ งสมดุ
๒. อินเทอรเ์ นต็
๓. หนงั สอื เรยี น

การวัดและการประเมนิ ผล
วิธกี ารวัดและประเมนิ ผล

๑. การทําใบงานแบบฝกหดั
๒. การประเมนิ การสงั เกตและพฤติกรรมรายบุคคล
๓. การประเมนิ การนาํ เสนอแนวคิด ผลงาน

เครอื งมอื วัดประเมนิ ผล
๑. ใบงานแบบฝกหดั
๒. แบบประเมนิ สงั เกตพฤติกรรมรายบุคคล
๓. แบบประเมนิ การนาํ เสนอผลงาน

เกณฑ์การประเมนิ ผลการเรยี นรู้
๑. นกั เรยี นตอบคําถามในแบบฝกหดั ได้ถกู ต้องผา่ นเกณฑ์รอ้ ยละ ๘๐
๒. นกั เรยี นมคี ะแนนการสงั เกตและพฤติกรรมรายบุคคลผา่ นเกณฑ์
รอ้ ยละ ๘๐
๓. นกั เรยี นมคี ะแนนนาํ เสนอผา่ นเกณฑ์รอ้ ยละ ๘๐

บนั ทึกขอ้ เสนอแนะ ของผบู้ รหิ ารโรงเรยี น
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................

ลงชอื ...........................................
ตําแหนง่ ......................................
วันที ..... เดือน ............ พ.ศ. ........

บนั ทึกผลการเรยี นรู้
ผลการจัดการเรยี นรู้
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................
ปญหา/อุปสรรค
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................
แนวทางแก้ไข
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................

ลงชอื ...........................................
ครูผส้ อน

วันที ..... เดือน ............ พ.ศ. ........

ใบความรูท้ ี ๑
ทมี าและความสาํ คัญบทเสภาสามัคคเี สวก

ความเปนมาและประวัติผแู้ ต่ง

บทเสภาสามคั คีเสวก (อ่านว่า เส - วก = ขา้ ราชการในราชสาํ นกั )เปน

บทพระราชนพิ นธใ์ นพระบาทสมเด็จพระมงกฎุ เกล้าเจ้าอยูห่ วั พระราช

นพิ นธข์ นึ เมอื พ.ศ.๒๔๕๗ บทเสภาสามคั คีเสวกเปนบททีใชส้ าํ หรบั ขบั

อธบิ ายนาํ เรอื งในการฟอนราํ ตอนต่างๆพระบาทสมเด็จพระมงกฎุ เกล้า

เจ้าอยูห่ วั จงอธบิ ายสาเหตทุ ีทรงพระราชนพิ นธบ์ ทเสภาชุดนไี ว้ว่า “เมอื

ขา้ พเจ้าไปพกั ผอ่ นอิรยิ าบทอยูท่ ีพระราชวังสนามจันทร์ ได้มขี า้ ราช

บรพิ ารในราชสาํ นกั ผลัดเปลียนกันจัดอาหารเลียงกันทกุ ๆวันเสารแ์ ละ

เมอื เลียงแล้วมกั จะมอี ะไรดกู ันเล่นอยา่ ง ๑ ครงั เมอื จวนจะถึงคราวที

เจ้าพระยาธรรมาธกิ รณาธบิ ดีจัดเลียงเจ้าพระยาธรรมาได้ขอใหข้ า้ พเจ้า

คิดหาการเล่นสกั อยา่ ง ๑ กินได้คิดผกู ระบาํ “สามคั คีเสวก” ขนึ ระบาํ ที

เปล่านไี ด้เล่นตามแบบใหมเ่ ปนครงั แรก กล่าวคือ ไมม่ บี ทรอ้ งเลย มแี ต่

หนา้ พาทย์ ประกอบกับท่าระบาํ เท่านนั คราวนลี ําพงึ ขนึ ว่าในเวลาพกั

ระหว่างตอนแหง่ ระบาํ นนั ครงั จะใหพ้ ณิ พาทยบ์ รรเลง พณิ พาทยน์ นั ก็ได้

ตีเหนด็ เหนอื ยตลอดเวลาทีระบาํ ควรทีใหพ้ มิ พภ์ าพนนั ได้พกั หายเหนอื ย

บา้ ง ขา้ พเจ้าจึงตกลงแต่งบทเสภาขนึ สาํ หรบั ขบั ระหว่างตอน”

จากคําอธบิ ายนี จะเหน็ ได้ว่า บทเสภาสามคั คีเสวก พระบาทสมเด็จ
พระมงกฎุ เกล้าเจ้าอยูห่ วั ทรง พระราชนพิ นธข์ นึ ตามคํากราบบงั คมทลู ขอ
พระราชทานของเจ้าพระยาธรรมาธกิ รณาธบิ ดีโดยครงั แรกพระองค์ทรง
คิดการแสดงชอื ว่า “ระบาํ สามคั คีเสวก” ซงึ เปนการราํ ตามเพลงหนา้
พาทยไ์ มม่ บี ทรอ้ ง และต่อมาได้แต่งบทเสภาขนึ ขบั ระหว่างเวลาพกั ตอน
เพอื ใหพ้ ณิ พาทยไ์ ด้พกั เหนอื ยบา้ ง

บทเสภาสามคั คีเสวกเปนบทเสภาขนาดสนั มี ๔ ตอน ได้แก่

ตอนที ๑ กิจการแหง่ พระนนที มเี นอื ความสรรเสรญิ พระนนทีผเู้ ปน
เทพเสวก เมอื พระอิศวรจะเสด็จไปแหง่ มดพระนนทีจะแปลงเปนโคอุสภุ
ราชหะพระอิศวรประทับ เมอื ขบั เสภาจบเปนการแสดงระบาํ ซงึ มเี รอื งราว
เกียวกับพระอิศวรและพระอุมาเสด็จออกใหเ้ ทวดาเฝา ยกั ษ์กาลเนมเี ขา้
มาก่อกวนไล่จับนางฟา พระนนทีจึงใหเ้ หล่าเทพเสวกชว่ ยกันจับยกั ษ์และ
ชาํ ระความ จากนนั พระอินทรแ์ ละท้าวจัตโุ ลกบาลจึงออกมาเฝาพระ
อิศวร

ตอนที ๒ กรนี ริ มติ มเี นอื ความสรรเสรญิ พระคเณศเทพเจ้าแหง่
ศลิ ปวิทยาและเปนผสู้ รา้ งชา้ งต่างๆ ในแผน่ ดินเพอื ประดับพระยศของ
พระมหากษัตรยิ ์ การแสดงระบาํ เรมิ ต้นด้วยชา้ งประจําทิศทัง ๘ ออกมา
ถวายบงั คมพระคเณศและจับระบาํ ยกั ษ์กาลเนมอี อกมาไล่จับชา้ ง พระ
คเณศโกรธจึงไล่ลงไปต่อสกู้ ับยกั ษ์และขบั ไล่ยกั ษ์ไปได้ พระคเณศได้มอบ
ชา้ งประจําแต่ละทิศใหท้ ้าวโลกบาลทัง ๘ และรา่ ยมนต์สรา้ งพระยาชา้ ง
เผอื กจากนนั ใหห้ มอเฒา่ จับชา้ งเผอื กแล้วตังกระบวนแหพ่ ระยาชา้ งเผอื ก

ตอนที ๓ วิศวกรรมา มเี นอื ความสรรเสรญิ พระวิศวกรรมผเู้ ปนเทพเจ้า
แหง่ การก่อสรา้ งและการชา่ งนานาชนดิ กล่าวถึงความสาํ คัญของศลิ ปะที
มตี ่อชาติ การแสดงระบาํ เรมิ จากพระวิศวกรรมออกมาราํ ต่อนางวิจิตร
เลขามาราํ ทําท่าวาดภาพถวาย และพระรูปการมาราํ ทําท่าปนรูปถวาย
จากนนั มกี ารแสดงอาวุธทีประดิษฐข์ นึ อยา่ งงดงาม และปดท้ายด้วยระบาํ
นพรตั น์

ตอนที ๔ สามคั คีเสวก มเี นอื ความกล่าวถึงการสมานสามคั คีในหมู่
ขา้ ราชการ ใหบ้ รรดาขา้ ราชการเหล่านนั มคี วามจงรกั ภักดีต่อพระมหา
กษัตรยิ ์ ซอื ตรง รกั ษาเกียรติยศและขยนั ทํางาน การแสดงระบาํ เรมิ ด้วย
ราชเสวก ๒๘ หมู่ เดินแถวสวนสนามและรอ้ งเพลงแสดงความจงรกั ภักดี

ใบความรูท้ ี ๒
ถอดคําประพันธ์ บทเสภาสามัคคเี สวก

ตอน วิศวะกรรมมา

อนั ชาตใิ ดไรศ้ านตสิ ขุ สงบ ตอ้ งมวั รบราญรอนหาผอ่ นไม่

ณ ชาตนิ ั นนรชนไมส่ นใจ ในศิลปะวไิ ลละวาดงาม ๚

แตช่ าตใิ ดรุง่ เรอื งเมอื งสงบ วา่ งการรบอรพิ ลอนั ลน้ หลาม

ยอ่ มจํานงศิลปาสงา่ งาม เพืออรา่ มเรอื งระยบั ประดบั ประดา ๚

อนั ชาตใิ ดไรช้ า่ งชาํ นาญศิลป เหมอื นนารนิ ไรโ้ ฉมบรรโลมสงา่

ใครใครเห็นไมเ่ ปนทจี ําเรญิ ตา เขาจะพากนั เยย้ ให้อบั อาย ๚

ศิลปกรรมนํ าใจให้สรา่ งโศก ชว่ ยบรรเทาทกุ ขใ์ นโลกให้เหือดหาย

จําเรญิ ตาพาใจให้สบาย อกี รา่ งกายกจ็ ะพลอยสขุ สราญ ๚

แมผ้ ใู้ ดไมน่ ิ ยมชมสิงงาม เมอื ถงึ ยามเศรา้ อุราน่ าสงสาร

เพราะขาดเครอื งระงบั ดบั ราํ คาญ โอสถใดจะสมานซงึ ดวงใจ ๚

เพราะการชา่ งนี สําคัญอนั วเิ ศษ ทกุ ประเทศนานาทงั น้ อยใหญ่

จงึ ยกยอ่ งศิลปกรรมน์ ั นทวั ไป ศรวี ไิ ลวลิ าศดเี ปนศรเี มอื ง ๚

ใครดถู กู ผชู้ าํ นาญในการชา่ ง ความคิดขวางเฉไฉไมเ่ ขา้ เรอื ง

เหมอื นคนบา้ คนไพรไมร่ ุง่ เรอื ง จะพดู ดว้ ยนั นกเ็ ปลอื งซงึ วาจา ๚

แตก่ รุงไทยศรวี ไิ ลทนั เพือนบา้ น จงึ มชี า่ งชาํ นาญวเิ ลขา

ทงั ชา่ งปนชา่ งเขยี นเพียรวชิ า อกี ชา่ งสถาปนาถกู ทาํ นอง ๚

ทงั ชา่ งรูปพรรณสวุ รรณกจิ ชา่ งประดษิ ฐร์ ชั ดาสงา่ ผอ่ ง

อกี ชา่ งถมลายลกั ษณะจําลอง อกี ชาชองเชงิ รตั นะประกร ๚

ควรไทยเราชว่ ยบํารุงวชิ าชา่ ง เครอื งสําอางแบบไทยสโมสร

ชว่ ยบํารุงชา่ งไทยให้ถาวร อยา่ ให้หยอ่ นกวา่ เขาเราจะอาย ๚

อนั ผองชาตไิ พรชั ชา่ งจดั สรร เปนหลายอยา่ งตา่ งพรรณเขา้ มาขาย

เราตอ้ งซอื หลากหลากและมากมาย ตอ้ งใชท้ รพั ยส์ รุ ุย่ สรุ า่ ยเปนกา่ ยกอง ๚

แมพ้ วกเราชาวไทยตงั ใจชว่ ย เอออํานวยชา่ งไทยให้ทาํ ของ

ชา่ งคงใฝใจผกู ถกู ทาํ นอง และทาํ ของงามงามขนึ ตามกาล ๚

เราชว่ ยชา่ งเหมอื นอยา่ งชว่ ยบา้ นเมอื ง ไดป้ ระเทอื งเทศไทยอนั ไพศาล

สมเปนเมอื งใหญโ่ ตมโหฬาร พอไมอ่ ายเพือนบา้ นจงึ จะดี ๚

ถอดคําประพันธ์

ชาติใดทีมศี กึ สงครามไมม่ คี วามสงบสขุ ในแผน่ ดิน ประชาชนยอ่ มไมม่ ี

จิตใจสนใจความงดงามของศลิ ปะแต่หากประเทศใด (ชาติใด) บา้ นเมอื งสงบสขุ

ปราศจากสงคราม ประชาชนก็จะทํานบุ าํ รุงศลิ ปกรรมทังปวงใหเ้ จรญิ รุง่ เรอื ง

ชาติใดทีปราศจากชา่ งศลิ ป ก็เปรยี บเสมอื นหญงิ สาวทีไมม่ คี วามงามไมเ่ ปนที

ต้องตาต้องใจของใคร มแี ต่จะถกู เยาะเยย้ ใหไ้ ด้อาย อันศลิ ปกรรมนนั ชว่ ย

ทําใหจ้ ิตใจคลายเศรา้ ชว่ ยทําใหค้ วามทกุ ขห์ มด ทําใหจ้ ิตใจของเรามคี วามสขุ

ซงึ จะสง่ ผลใหร้ า่ งกายแขง็ แรงไปด้วย (ทําใหส้ ขุ ภาพใจและกายดี) ตรงกันขา้ ม

หากใครไมเ่ หน็ คณุ ค่าความงามของศลิ ปะ เมอื เผชญิ ความทกุ ขก์ ็ไมม่ สี งิ ใดมา

เปนยาชว่ ยรสมานบาดแผลของจิตใจ เขาเหล่านนั จึงเปนคนทีนา่ สงสารยงิ นกั

เพราะความรูท้ างชา่ งศลิ ปสาํ คัญเชน่ นี นานาประเทศจึงนยิ มยกยอ่ งคณุ ค่า

ของศลิ ปะและความสามารถเชงิ ชา่ งของชา่ งศลิ ปว่าเปนเกียรติยศ ความ

รุง่ เรอื งของแผน่ ดิน คนทีไมเ่ หน็ คณุ ค่าของศลิ ปะก็เหมอื นคนปาคนดง ปวย

การอธบิ าย พดู ด้วยก็เปลืองนาลายเปล่า แต่ประเทศไทยของเรานนั เหน็

คณุ ค่าของงานชา่ งศลิ ป เชน่ ชา่ งปน ชา่ งเขยี น ชา่ งสถาปตย์ ชา่ งทองรูปพรรณ

ชา่ งเงิน ชา่ งถมและชา่ งอัญมณี ซงึ เราควรสนบั สนนุ งานชา่ งศลิ ปไทยให้

ก้าวหนา้ รุง่ เรอื งอยา่ ใหด้ ้อยนอ้ ยหนา้ กว่านานาประเทศ ชาวต่างชาติเมอื มา

เยอื นเมอื งไทยจะได้ซอื หางานศลิ ปะเหล่านกี ลับไปเพราะเหน็ ในคณุ ค่า การ

ชว่ ยสนบั สนนุ งานศลิ ปกรรม และสง่ เสรมิ ชา่ งศลิ ปะไทยใหส้ รา้ งสรรค์งาน

ศลิ ปะขนึ จึงเท่ากับได้ชว่ ยพฒั นาชาติ ใหเ้ จรญิ พฒั นาอยา่ ถาวร

ใบความรูท้ ี ๓
ถอดคําประพันธ์ บทเสภาสามัคคเี สวก

ตอน สามัคคเี สวก

ประการหนงึ พงึ คิดในจิตมนั ว่าทรงธรรมเ์ หมอื นบดิ าบงั เกิดหวั
ควรเคารพยาํ เยงและเกรงกลัว ประโยชนต์ ัวนกึ นอ้ ยหนอ่ ยจะดี

หมายถึง สงิ หนงึ ทีเราควรมไี ว้ในจิตใจคือ พระเจ้าแผน่ ดินเปรยี บเสมอื นพอ่
บงั เกิดเกล้าทีเราควรเกรงใจและเคารพนบั ถือ เราต้องไมเ่ หน็ แก่ประโยชน์
สว่ นตัวมากเกินไป

ควรนกึ ว่าบรรดาขา้ พระบาท ล้วนเปนราชบรพิ ารพระทรงศรี

เหมอื นลกู เรอื อยูใ่ นกลางหว่างวารี จําต้องมมี ติ รจิตรสนทิ กัน

หมายถึง ควรนกึ ว่าพวกเราก็เปนขา้ รบั ใชข้ องพระเจ้าแผน่ ดินคนหนงึ
เหมอื นลกู เรอื ที อยูใ่ นเรอื กลางทะเลจําเปนทีจะต้องมคี วามสามคั คีต่อกัน
และกัน

แมล้ กู เรอื เชอื ถือผเู้ ปนนาย ต้องมงุ่ หมายชว่ ยแรงโดยแขง็ ขนั
คอยตังใจฟงบงั คับกัปปตัน นาวานนั จึงจะรอดตลอดทะเล

หมายถึง ถ้าลกู เรอื เชอื ฟงกัปตันก็จะต้องชว่ ยกัปตันอยา่ งแขง็ ขนั ต้องตังใจ
ฟงคําสงั ของกัปตันเรอื ก็จะรอดไปถึงจุดหมาย

แมล้ กู เรอื อวดดีมที ิฐิ และเรมิ รเิ ฉโกยุง่ โยเส
เมอื คลืนลมแรงจัดซดั โซเซ เรอื จะเหล่ระยาํ ควาไป

หมายถึง แต่ถ้าลกู เรอื ไมเ่ ชอื ฟงกัปตันและเรมิ แตกคอกัน เวลาคลืนลมแรง
เรอื ก็จะโคลงเคลง ต่อมาเรอื ก็จะจม

แมต้ ่างคนต่างเถียงเกียงแก่งแยง่ นายเรอื จะเอาแรงมาแต่ไหน

แมไ้ มถ่ ือเครง่ คงตรงวินยั เมอื ถึงคราวพายุใหญจ่ ะครวญคราง

หมายถึง ถ้าลกู เรอื มวั แต่ทะเลาะกัน กัปตันก็จะไมม่ กี ําลังมาต่อสู้ ถ้าไม่
เครง่ ค รดั ต่อกฏระเบยี บเวลาทีเกิดภัยอะไรขนึ จะเดือดรอ้ น

นายจะสงั สงิ ใดไมเ่ ขา้ จิต จะต้องติดตันใจใหข้ ดั ขวาง
จะยุง่ แล้วยุง่ เล่าไมเ่ ขา้ ทาง เรอื ก็คงอับปางกลางสาคร

หมายถึง กัปตันสงั อะไรก็ไมฟ่ งพอถึงเวลาก็มขี อ้ ขดั แยง้ ต่อมาก็จะเกิด
เหตกุ ารณว์ ุ่นวายขนึ ในทีสดุ เรอื ก็จะล่มกลางทะเล

ถึงเสวีทีเปนขา้ ฝาพระบาท ไมค่ วรขาดความสมคั รสโมสร
ในพระราชสาํ นกั พระภธู ร เหมอื นเรอื แล่นสาครสมทุ รไทย

หมายถึง ถึงจะเปนขา้ รบั ใชข้ องพระเจ้าแผน่ ดินก็ไมค่ วรขาดความสามคั คี
ปรองดองกัน เหตกุ ารณใ์ นพระราชสาํ นกั ก็เปรยี บเสมอื นเรอื ทีแล่นอยูต่ าม
ทะเลมหาสมทุ ร

เหล่าเสวกตกทีกะลาสี ควรคิดถึงหนา้ ทีนนั เปนใหญ่
รกั ษาตนเครง่ คงตรงวินยั สมานใจจงรกั พระจักรี

หมายถึง เหล่าขา้ ราชการในราชสาํ นกั ก็เหมอื นเปนกะลาสคี วรใหค้ วาม
สาํ คัญกับหนา้ ทีที ต้องทําเปนหลัก ปฏิบตั ิตนตามกฏตามระเบยี บวินยั อยา่ ง
เครง่ ครดั และสามคั คีจงรกั ภักดีต่อพระ เจ้าแผน่ ดิน

ไมค่ วรเลือกทีรกั มกั ทีชงั สามคั คีเปนกําลังพลังศรี
ควรปรองดองในหมรู่ าชเสวี ใหส้ มทีรว่ มพระเจ้าเราองค์เดียว

หมายถึง ไมค่ วรแยกฝายเลือกทีจะเคารพเชอื ฟงใคร ควรทีจะสามคั คี
ปรองดองกันในหมขู่ า้ ราชการเพอื เปนพลังในการทําความดีใหส้ ม กับทีมี
พระเจ้าแผน่ ดินพระองค์เดียวกัน

แบบฝกหดั ที ๑

เรอื ง บทเสภาสามัคคเี สวก

ตอน วิศวะกรรมมา และสามัคคเี สวก

คําชแี จง
จงตอบคําถามต่อไปนี

๑. ใครเปนผแู้ ต่งบทเสภาสามคั คีเสวก
…………………………………………..................................................................

๒.ใหน้ กั เรยี นเขยี นอธบิ ายบทเสภาสามคั คีเสวกดังต่อไปนี
๒.๑ บทเสภาตอนที ๑ กิจการแหง่ พระนนที กล่าวถึง
................................................................................................................
................................................................................................................
.............................................................…………………..……………………......
๒.๒ บทเสภาตอนที ๒ กวีนริ มติ กล่าวถึง
................................................................................................................
................................................................................................................
.............................................................…………………..……………………......
๒.๓ บทเสภาตอนที ๓ วิศกรรมา กล่าวถึง
................................................................................................................
................................................................................................................
.............................................................…………………..……………………......
๒.๔ บทเสภาตอนที ๔ สามคั คีเสวก กล่าวถึง
................................................................................................................
................................................................................................................
.............................................................…………………..……………………......

๓.ใหน้ กั เรยี นตอบคําถามจากบทประพนั ธต์ ่อไปนี

สอนชา่ งเขยี นให้เพียรเขยี นวาดสี แบบกระหนกนารศี รสี มร

อกี กระบชี ะสงา่ งอน แบบสนุ ทรจติ การสมานรงค์

เรมิ ผกู ลวดเลศิ ประเสรฐิ กอ่ น อรชรกา้ นกงิ ยงิ ประสงค์

สลบั สีเพียบเพ็ญเบญจรงค์ จดั ประจงเปนภาพพิไลตา

อนึ งปนเปนรูปเทวฤทธิ ดปู ระหนึ งวา่ มชี วี ติ พิศเพลนิ ใจ

อกี สถาปนะการชาญฉลาด ปลกู ปราสาทเคหฐานทงั น้ อยใหญ่

กอ่ กําแพงกําแหงรอบกรุงไกร ทา้ ประยทุ ธช์ องชยั แห่งไพรี

สรา้ งศาสตราอาวธุ รุทธก์ ําแหง เพือใชแ้ ยง้ ยทุ ธากรสมรศรี

ทวยทหารไดถ้ อื เครอื งมอื ดี กส็ ามารถราวอี รลี าน

อนึ งเครอื งประดบั สลบั แกว้ วะวบั แววแกว้ ทองสองสมาน

ชา่ งประดษิ ฐค์ ิดประจงคงตระการ เครอื งสําราญนั ยนาน่ าพึงใจ

๓.๑ จากคําประพนั ธข์ า้ งต้นชา่ งของไทยทีกล่าวไว้มชี า่ งใดบา้ ง
..................................................................................................................
จิตกรรม หมายถึง
..................................................................................................................
ประติมากรรม หมายถึง
..................................................................................................................
สถาปตยกรรม หมายถึง
..................................................................................................................
หตั ถกรรม หมายถึง
..................................................................................................................

๔. นกั เรยี นมวี ิธชี ว่ ยกันบาํ รุงรกั ษาศลิ ปะใหถ้ าวรสบื ไปอยา่ งไร
..................................................................................................................
.................................................................................................................
๕. คําว่า “เสวก” อ่านว่า......................หมายความว่า...............................
๖. ผนู้ าํ ทีดีควรวางตนอยา่ งไรในการปกครองลกู นอ้ ง

๑. .......................................................................................
๒.........................................................................................
๗. ว่าทรงธรรมเ์ หมอื นบดิ าบงั เกิดหวั ควรเคารพยาํ เยงและเกรงกลัว
หมายความว่า
……............................................................................................................
.................................................................................................................
๘. ลกู นอ้ งทีดีควรประพฤติปฏิบตั ิตนอยา่ งไรในการทํางานกับหวั หนา้
(ตอบ ๒ ขอ้ )
๑. .......................................................................................
๒.........................................................................................
๙. พระบาทสมเด็จพระมงกฎุ เกล้าเจ้าอยูห่ วั ทรงเปรยี บประเทศชาติ
เหมอื นกับ
..................................................................................................................
๑๐. เหล่าขา้ ราชการบรพิ ารทังหลายเปรยี บเสมอื น
..................................................................................................................

เฉลยแบบฝกหดั ที ๑
เรอื ง บทเสภาสามคั คเี สวก
ตอน วิศวะกรรมมา และสามคั คเี สวก

คําชแี จง จงตอบคําถามต่อไปนี

๑. ใครเปนผแู้ ต่งบทเสภาสามคั คีเสวก
พระบาทสมเด็จพระมงกฏุ เกล้าเจ้าอยูห่ วั

๒.ใหน้ กั เรยี นเขยี นอธบิ ายบทเสภาสามคั คีเสวกดังต่อไปนี
๒.๑ บทเสภาตอนที ๑ กิจการแหง่ พระนนที กล่าวถึง ความสรรเสรญิ พระนนที

ผเู้ ปนเทพเสวก เมอื พระอิศวรจะเสด็จไปแหง่ มดพระนนทีจะแปลงเปนโคอุสภุ ราช
หะพระอิศวรประทับ เมอื ขบั เสภาจบเปนการแสดงระบาํ ซงึ มเี รอื งราวเกียวกับพระ
อิศวรและพระอุมาเสด็จออกใหเ้ ทวดาเฝา ยกั ษ์กาลเนมเี ขา้ มาก่อกวนไล่จับนางฟา
พระนนทีจึงใหเ้ หล่าเทพเสวกชว่ ยกันจับยกั ษ์และชาํ ระความ จากนนั พระอินทรแ์ ละ
ท้าวจัตโุ ลกบาลจึงออกมาเฝาพระอิศวร

๒.๒ บทเสภาตอนที ๒ กวีนริ มติ กล่าวถึง ความสรรเสรญิ พระคเณศเทพเจ้า
แหง่ ศลิ ปวิทยาและเปนผสู้ รา้ งชา้ งต่างๆ ในแผน่ ดินเพอื ประดับพระยศของพระมหา
กษัตรยิ ์ การแสดงระบาํ เรมิ ต้นด้วยชา้ งประจําทิศทัง ๘ ออกมาถวายบงั คมพระ
คเณศและจับระบาํ ยกั ษ์กาลเนมอี อกมาไล่จับชา้ ง พระคเณศโกรธจึงไล่ลงไปต่อสกู้ ับ
ยกั ษ์และขบั ไล่ยกั ษ์ไปได้ พระคเณศได้มอบชา้ งประจําแต่ละทิศ ใหท้ ้าวโลกบาลทัง
๘ และรา่ ยมนต์สรา้ งพระยาชา้ งเผอื ก จากนนั ใหห้ มอเฒา่ จับชา้ งเผอื กแล้วตัง
กระบวนแหพ่ ระยาชา้ งเผอื ก

๒.๓ บทเสภาตอนที ๓ วิศกรรมา กล่าวถึงความสรรเสรญิ พระวิศวกรรมผเู้ ปน
เทพเจ้าแหง่ การก่อสรา้ งและการชา่ งนานาชนดิ กล่าวถึงความสาํ คัญของศลิ ปะทีมี
ต่อชาติ การแสดงระบาํ เรมิ จากพระวิศวกรรมออกมาราํ ต่อนางวิจิตรเลขามาราํ
ทําท่าวาดภาพถวาย และพระรูปการมาราํ ทําท่าปนรูปถวาย จากนนั มกี ารแสดง
อาวุธทีประดิษฐข์ นึ อยา่ งงดงาม และปดท้ายด้วยระบาํ นพรตั น์

๒.๔ บทเสภาตอนที ๔ สามคั คีเสวก กล่าวถึง ความกล่าวถึงการสมานสามคั คี
ในหมขู่ า้ ราชการ ใหบ้ รรดาขา้ ราชการเหล่านนั มคี วามจงรกั ภักดีต่อพระมหากษัตรยิ ์
ซอื ตรง รกั ษาเกียรติยศและขยนั ทํางาน การแสดงระบาํ เรมิ ด้วยราชเสวก ๒๘ หมู่
เดินแถวสวนสนามและรอ้ งเพลงแสดงความจงรกั ภักดี

๓.ใหน้ กั เรยี นตอบคําถามจากบทประพนั ธต์ ่อไปนี

สอนชา่ งเขยี นให้เพียรเขยี นวาดสี แบบกระหนกนารศี รสี มร

อกี กระบชี ะสงา่ งอน แบบสนุ ทรจติ การสมานรงค์

เรมิ ผกู ลวดเลศิ ประเสรฐิ กอ่ น อรชรกา้ นกงิ ยงิ ประสงค์

สลบั สีเพียบเพ็ญเบญจรงค์ จดั ประจงเปนภาพพิไลตา

อนึ งปนเปนรูปเทวฤทธิ ดปู ระหนึ งวา่ มชี วี ติ พิศเพลนิ ใจ

อกี สถาปนะการชาญฉลาด ปลกู ปราสาทเคหฐานทงั น้ อยใหญ่

กอ่ กําแพงกําแหงรอบกรุงไกร ทา้ ประยทุ ธช์ องชยั แห่งไพรี

สรา้ งศาสตราอาวธุ รุทธก์ ําแหง เพือใชแ้ ยง้ ยทุ ธากรสมรศรี

ทวยทหารไดถ้ อื เครอื งมอื ดี กส็ ามารถราวอี รลี าน

อนึ งเครอื งประดบั สลบั แกว้ วะวบั แววแกว้ ทองสองสมาน

ชา่ งประดษิ ฐค์ ิดประจงคงตระการ เครอื งสําราญนั ยนาน่ าพึงใจ

๓.๑ จากคําประพนั ธข์ า้ งต้นชา่ งของไทยทีกล่าวไว้มชี า่ งใดบา้ ง
ชา่ งจิตรกรรม ชา่ งปฏิมากรรม ชา่ งสถาปตย์ ชา่ งหตั ถกรรม
จิตรกรรม หมายถึง ศลิ ปะประเภทหนงึ ในทัศนศลิ ปเกียวกับการเขยี นภาพ
วาดภาพ, รูปภาพทีเขยี นหรอื วาดขนึ
ประติมากรรม หมายถึง ศลิ ปะสาขาหนงึ ในจําพวกวิจิตรศลิ ปเกียวกับการ
แกะสลักไม้ หนิ อ่อน โลหะ เปนต้น ใหเ้ ปนรูปหรอื ลวดลายต่าง ๆ
สถาปตยกรรม หมายถึง ศลิ ปะและวิทยาเกียวกับงานก่อสรา้ งทีประกอบ
ด้วยศลิ ปลักษณะ
หตั ถกรรม หมายถึง งานชา่ งทีทําด้วยมอื โดยถือประโยชนใ์ ชส้ อยเปนหลัก

๔. นกั เรยี นมวี ิธชี ว่ ยกันบาํ รุงรกั ษาศลิ ปะใหถ้ าวรสบื ไปอยา่ งไร
อนรุ กั ษ์ เรยี นรูแ้ ละสบื สานศลิ ปะไทย บอกเล่าความงดงามศลิ ปะ

ไทยใหเ้ ปนทีประจักษ์ต่อสงั คม

๕. คําว่า “เสวก” อ่านว่า สะ-เหวก หมายความว่า ขา้ ราชการในราช-
สาํ นกั

๖. ผนู้ าํ ทีดีควรวางตนอยา่ งไรในการปกครองลกู นอ้ ง
๑. มไี มตรจี ิตต่อลกู นอ้ ง ๒. ไมเ่ ลือกทีรกั มกั ทีชงั

๗. ว่าทรงธรรมเ์ หมอื นบดิ าบงั เกิดหวั ควรเคารพยาํ เยงและเกรงกลัว
หมายความว่า

พระมหากษัตรยิ เ์ ปรยี บเสมอื นพอ่ ของแผน่ ดิน ต้องใหค้ วามเคารพ
ยาํ เกรง

๘. ลกู นอ้ งทีดีควรประพฤติปฏิบตั ิตนอยา่ งไรในการทํางานกับหวั หนา้
(ตอบ ๒ ขอ้ )

๑. ต้องเชอื ฟงผเู้ ปนนายอยา่ งเครง่ ครดั
๒. มคี วามสมคั รสมานสามคั คี

๙.พระบาทสมเด็จพระมงกฎุ เกล้าเจ้าอยูห่ วั ทรงเปรยี บประเทศชาติ
เหมอื นกับ

เรอื

๑๐.เหล่าขา้ ราชการบรพิ ารทังหลายเปรยี บเสมอื น
กะลาสี

แผนการจัดการเรยี นรูท้ ี ๒

กล่มุ สาระการเรยี นรู้ : ภาษาไทย ระดับชนั มธั ยมศกึ ษาปที ๒

รหสั วิชา ท๒๒๑๐๑ วิชา ภาษาไทย เวลา ๖๐ ชวั โมง

หน่วยที ๒ ชอื หน่วย บทเสภาสามคั คเี สวก ตอน วิศวะกรรมมา

และสามคั คเี สวก เวลา ๘ ชวั โมง

เรอื งที ๒ เรอื ง การพจิ ารณาคณุ ค่าบทเสภา เวลา ๒ ชวั โมง

มาตรฐานการเรยี นรู/้ ตัวชวี ัด

มาตรฐานการเรยี นรู้

ท ๓.๑ สามารถเลือกฟงและดอู ยา่ งมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความ
คิด และความรูส้ กึ ในโอกาสต่างๆ อยา่ งมีวิจารณญาณ และสรา้ งสรรค์

ท ๕.๑ เขา้ ใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอยา่ ง
เหน็ คณุ ค่าและนาํ มาประยุกต์ใชใ้ นชีวิตจริง

ตัวชวี ัด

๑. ท ๑.๑ (ม. ๒/๒) จับใจความสาํ คัญ สรุปความ และอธิบายรายละเอียดจากเรอื ง

ทีอ่าน

๒. ท ๑.๑ (ม. ๒/๔) อภิปรายแสดงความคิดเห็นและขอโต้แย้งเกียวกับเรอื งทีอ่าน

๓. ท.๓.๑ (ม.๒/๑) พดู สรุปใจความสําคัญของเรืองทีฟงและดู

๔. ท.๓.๑(ม.๒/๓) วิเคราะหแ์ ละวิจารณ์เรอื งทีฟงและดอู ยา่ งมีเหตผุ ล เพือนํา

ขอ้ คิดมาประยุกต์ใชใ้ นการดําเนนิ ชีวิต

๕. ท.๓.๑(ม.๒/๕) พดู รายงานเรอื งหรอื ประเด็นทีสกึ ษาค้นคว้า

๖. ท.๓.๑(ม.๒/๖) มมี ารยาทในการฟง การดู และการพูด

๗. ท ๕.๑ (ม. ๒/๑) สรุปเนอื หาวรรณคดีและวรรณกรรมทีอ่านในระดับทียากขนึ

๘. ท ๕.๑ (ม. ๒/๒) วิเคราะหว์ ิจารณ์วรรณคดี วรรณกรรม และวรรณกรรมท้องถิน

ทีอ่าน เพรอ้ มยกเหตผุ ลประกอบ

๙. ท ๕.๑ (ม. ๒/๓) อธิบายคณุ ค่าของวรรณคดีและวรรณกรรมทีอ่าน

๑๐. ท ๕.๑ (ม. ๒/๔) สรุปความรูแ้ ละข้อคิดจากการอ่านไปประยุกต์ใชใ้ นชีวิตจรงิ

จุดประสงค์การเรยี นรู้
๑. จับใจความสาํ คัญ ตีความ สรุปความ และแสดงความคิดเหน็ เกียวกับ
เรอื งทีอ่านได้ (K, P)
๒. วิเคราะหเ์ รอื งทีอ่านตามหลักการและแนวทางในการพจิ ารณาคณุ ค่า
ของวรรณคดีหรอื วรรณกรรมได้ (K, P)
๓. บอกความหมาย ประเภท และประโยชนข์ องวรรณคดีและ
วรรณกรรมได้ (K)
๔. บอกคณุ ค่าและขอ้ คิดจากเรอื งทีอ่านและแนวทางการนาํ มาปรบั ใช้
ในชวี ิตจรงิ ได้ (K, P)
๕. เหน็ คณุ ค่าและซาบซงึ ในการอ่านวรรณคดีและวรรณกรรมไทย (A)
๖. พดู หรอื เขยี นแสดงความคิดเหน็ จากเรอื งทีอ่าน ฟง หรอื ดไู ด้อยา่ งมี
เหตผุ ล (K, P)
๗. นาํ สารประโยชนท์ ีได้รบั ไปปรบั ใชในชวี ิตประจําวันได้ (P)

สมรรถนะของผเู้ รยี น
๑. ความสามารถในการสอื สาร
๒. ความสามารถในการคิด
๓. ความสามารถในการแก้ปญหา
๔. ความสามารถในการใชท้ ักษะชวี ิต
๕. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี

ด้านคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์
๑. รกั ชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์
๒. ซอื สตั ยส์ จุ รติ
๓. มวี ินยั
๔. ใฝเรยี นรู้
๕. อยูอ่ ยา่ งพอเพยี ง
๖. มงุ่ มนั ในการทํางาน
๗. รกั ความเปนไทย
๘. มจี ิตสาธารณะ

สาระสาํ คัญ
บทเสภาสามคั คีเสวก ตอนวิศวกรรมาและสามคั คีเสวก เปนบทเสภาที

แสดงใหเ้ หน็ ถึงความสาํ คัญของศลิ ปะ ทีมตี ่อเกียรติภมู ขิ องชาติและอํานาจ
ของศลิ ปะทีชกั นาํ ใหเ้ กิดสขุ และกระต้นุ ใหข้ า้ ราชบรพารหรอื ขาราชการทัง
หลายสาํ นกึ ในหนา้ ทีของตน เปนแบบอยางทีดีและปฏิบตั ิตนเพอื ใหเ้ กิด
ประโยชนส์ ขุ แก่คนในชาติอยา่ งแท้จรงิ
สาระการเรยี นรู้

บทเสภาสามคั คีเสวก เปนพระราชนพิ นธใ์ นพระบาทสมเด็จพระมงกฏุ
เกล้าเจ้าอยูห่ วั ซงึ บทเสภาสามคั คีเสวก ตอนวิศวกรรมา และตอนสามคั คี
เสวก ล้วนสะท้อนคณุ ค่าออกมาทังในด้านเนอื หา แนวคิด วรรณศลิ ป และ
สงั คมออกมาได้อยา่ งอ่อนชอ้ ย งดงาม และล่มุ ลึก แสดงออกถึงคณุ ค่าความ
เปนชาติไทยในอดีตได้อยา่ งวิจิตรสวยงาม ทังยงั มขี อ้ คิดทีใชใ้ นการดําเนนิ
ชวี ิตทีประเมณิ ค่าไมไ่ ด้
กิจกรรมการเรยี นรู้

ขนั ที ๑ นําเขา้ สบู่ ทเรยี น

๑. ครูสนทนากับนกั เรยี นเกียวกับแนวคิดของบทเสภาสามคั คีเสวก ตอน

วิศวกรรมาและสามคั คี เสวก

๒. นกั เรยี นชว่ ยกันบอกว่าการพจิ ารณาวรรณคดีทีเปนบทเสภาควร

พจิ ารณาในเรอื งใดบา้ ง

๓. ครูเสนอแนวทางในการพจิ ารณาวรรณคดีทีเปนบทเสภาว่ามแี นวทางใน

การพจิ ารณาเชน่ เดียวกับรอ้ ยกรองประเภทอืน ๆ โดยพจิ ารณาจากเนอื หา

รูปแบบ และภาษา

ขนั ที ๒ กิจกรรมการเรยี นรู้
๑. นกั เรยี นศกึ ษาแนวทางในการพจิ ารณาวรรณกรรม ในหนงั สอื เรยี น
รายวิชาพนื ฐานภาษาไทย ชนั มธั ยมศกึ ษาปที ๒ แล้วรว่ มกันวิเคราะห์
คณุ ค่าทีได้รบั จากเรอื งทีอ่าน
๒. แบง่ นกั เรยี นออกเปน ๔ กล่มุ ใหแ้ ต่ละกล่มุ สง่ ตัวแทนออกมาเลือกซอง
คําถาม กล่มุ ละ ๑ ซอง เพอื แสดงความคิดเหน็ ตามแนวคาถามทีกําหนดให้
ดังนี

ซองที ๑ นกั เรยี นคิดว่าเหตใุ ดบทเสภาสามคัคคีเสวกจึงเปนวรรณคดี
ทีนาํ มาใหน้ ก้ เรยี น ศกึ ษา ต้องการใหน้ กั เรยี นได้เขา้ ใจ และมองเหน็ ถึง
ความสาํ คัญของศลิ ปะไทย เพอื ปลกู ฝงอุปนสิ ยั การรกั ความเปนไทยและ
สบื สานวัฒนธรรมไทย ทังยงั สะท้อนใหเ้ หน็ ถึงความสาํ คัญของพระมหา
กษัตรยิ ์ และความสมคั รสมานสามคั คีของคนในชาติ

ซองที ๒ บทเสภาสามคั คีเสวก ตอนวิศวกรรมาและตอนสามคั คีเสวก
มคี วามดีเด่นด้านการใชส้ าํ นวนภาษาเหมอื นกันหรอื ไมอ่ ยา่ งไร เหมอื นกัน
คือ มกั จะใชส้ าํ นวนภาษาทีเปนคําง่ายๆ สนั ๆ สามารถทําความเขา้ ใจได้
ทันที และมกั จะใชโ้ วหารเปรยี บเทียบเชงิ อุปมา เชน่ อานชาติใดไรช้ า่ งชาํ
นานศลิ ป เหมอื นนารนิ ไรโ้ ฉมบรรโลมสง่าห์ หรอื ประการหนงึ พงึ คิดใหจ้ ิต
มนั ว่าทรงธรรมเ์ หมอื นบดิ าบงั เกิดหวั

ซองที๓ นกั เรยี นเหน็ ด้วยหรอื ไมก่ ับคํากล่าวในบทเสภาสามคั คีเสวก
ตอน วิศวกรรมา ทีว่า “แมผ้ ใู้ ดไมน่ ยิ มชมสงิ งาม เมอื ถึงยามเศรา้ อุรานา่
สงสาร เพราะขาดเครอื งระงับดับราํ คาญ โอสถใดจะสมานซงึ ดวงใจ” เหน็
ด้วย เพราะหากคนเราไมย่ ดึ ติดสงิ ใดๆเลยเปนทีจรรโลงใจ ก็จะไมส่ ามารถ
ผอ่ นคลายจากความเครยี ดได้เท่าทีควร

ซองที๔ นกั เรยี นคิดว่าการดํารงไว้ซงึ ชาติบา้ นเมอื งและความสงบสขุ
ของคนในชาติ จําเปนต้องอาศยั สงิ ใดเปนสาํ คัญ ความรบั ผดิ ชอบของ
สถาบนั กษัตรยิ ์ ความรบั ผดิ ชอบของคณะขา้ ราชการ ความรบั ผดิ ชอบ
ความรว่ มมอื ความสามคั คีของคนในชาติ

๓.นกั เรยี นแต่ละกล่มุ ออกมาแสดงความคิดเหน็ ตามแนวคาถามทีจับได้
หนา้ ชนั เรยี น เพอื นกล่มุ อืนรว่ มกันแสดงความคิดเหน็ เพมิ เติม
๔. นกั เรยี นอ่านในใจเรอื ง บทเสภาสามคั คีเสวก ตอน วิศวกรรมาและสาม
มคั คีเสวกทบทวน อีกครัง้ แล้วรว่ มกันวิเคราะหถ์ ึงคณุ ค่าของศลิ ปะทีมตี ่อ
บุคคลและต่อชาติบา้ นเมอื งและ การปฏิบตั ิตนของขา้ ราชการไทย ครูสรุป
ผลการวิเคราะหใ์ หนก้ เรยี นฟงอีกครัง้ เพอื ใหน้ กั เรยี นเกิดความเขา้ ใจมาก
ยงิ ขนึ

ขนั ที ๓ ฝกฝนผเู้ รยี น
๑. นกั เรยี นทํากิจกรรมทีเกียวกับการพจิ ารณาคณุ ค่าบทเสภาแล้วชว่ ยกัน
ตรวจสอบความถกู ต้อง
๒. ครูแจกบทความทีเกียวกับศลิ ปวัฒนธรรมไทย แล้วให้ นกั เรยี นรว่ มกัน
แสดงความคิดเหน็ ในด้านขอ้ เท็จจรงิ ขอ้ คิดเหน็ และความนา่ เชอื ถือของ
บทความ แล้วนาํ มาอภิปรบรว่ มกันในชนั เรยี น ครูสรุปผลการอภิปราย ให้
นกั เรยี นบนั ทึกลงสมดุ
๓. ครูนาํ ภาพทีเกียวกับการชว่ ยเหลือหรอื การรว่ มแรงรว่ มใจของคนใน
สงั คมมาใหน้ กั เรยี นดู แล้วใหน้ กั เรยี นรว่ มกันอภิิปรายแสดงความคิดเหน็
เกียวกับภาพทีดู และเสนอแนะแนวทาง ในการสรา้ งความสามคั คีของ
คนในสงั คม ครูคอยชแี นะเพมิ เติม เพอื ใหก้ ารอภิปรายแสดง ความคิดเหน็
มคี วามสมบูรณม์ ากยงิ ขนึ
๔. นกั เรยี นเขยี นสรุปผลการอภิปรายเกียวกับภาพในขอ้ ๓ แล้วนาํ ไปจัด
แสดงทีปายนเิ ทศหนา้ ชันั เรยี น

ขนั ที ๔ นําไปใช้
นกั เรยี นนาํ แนวคิดและคณุ ค่าจากบทเสภาสามคั คีเสวกไปปรบั ใชใ้ น

ชวี ิตประจําวัน

ขนั ที ๕ สรุป
๑. ครูและนกั เรยี นรว่ มกันสรุปแนวคิดและคณุ ค่าจากบทเสภาสามคั คีเสวก
บนั ทึกลงในสมดุ
๒. ใหน้ กั เรยี นทําแบบทดสอบหลังเรยี น๓.ครูเปดโอกาสใหน้ กั เรยี นได้ถาม
ถึงขอ้ สงสยั เกียวกับในบทเรยี น และคอยสง่ เสรมิ ความคิด ขอ้ คําถามของผู้
เรยี น เพอื ใหน้ กั เรยี นเกิดความมนั ใจ เพมิ ทัศนคติทีดีในการเรยี นรูใ้ นครงั
ต่อ ๆ ไป

สอื การเรยี นรู้
๑. หนงั สอื เรยี นภาษาไทย
๒. บทความเกียวกับการเชว่ ยเหลือ รว่ มแรงรว่ มใจของคนในสงั คม
๓. ใบความรูเ้ รอื งบทเสภาสามคั คีเสวก ตอนวิศวะกรรมมา และ
สามคั คีเสวก

แหล่งการเรยี นรู้
๑. หอ้ งสมดุ
๒. อินเทอรเ์ นต็
๓. หนงั สอื เรยี น

การวัดและการประเมนิ ผล
วิธกี ารวัดและประเมนิ ผล

๑. การทําใบงานแบบฝกหดั หลังเรยี น
๒. การประเมนิ การสงั เกตและพฤติกรรมรายบุคคล
๓. การประเมนิ การนาํ เสนอแนวคิด ผลงาน

เครอื งมอื วัดประเมนิ ผล
๑. ใบงานแบบฝกหดั หลังเรยี น
๒. แบบประเมนิ สงั เกตพฤติกรรมรายบุคคล
๓. แบบประเมนิ การนาํ เสนอผลงาน

เกณฑ์การประเมนิ ผลการเรยี นรู้
๑. นกั เรยี นตอบคําถามในแบบฝกหดั หลังเรยี นได้ถกู ต้องผา่ นเกณฑ์
รอ้ ยละ ๘๐
๒. นกั เรยี นมคี ะแนนการสงั เกตและพฤติกรรมรายบุคคลผา่ นเกณฑ์
รอ้ ยละ ๘๐
๓. นกั เรยี นมคี ะแนนนาํ เสนอผา่ นเกณฑ์รอ้ ยละ ๘๐

บนั ทึกขอ้ เสนอแนะ ของผบู้ รหิ ารโรงเรยี น
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................
........................................................................................................................

ลงชอื ...........................................
ตําแหนง่ ......................................
วันที ..... เดือน ............ พ.ศ. ........

บนั ทึกผลการเรยี นรู้
ผลการจัดการเรยี นรู้
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................
........................................................................................................................
ปญหา/อุปสรรค
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................
แนวทางแก้ไข
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................

ลงชอื ...........................................
ครูผส้ อน

วันที ..... เดือน ............ พ.ศ. ........

ใบความรูท้ ี ๔
คณุ ค่าในด้านต่าง ๆ ของบทเสภาสามคั คเี สวก

คณุ ค่าด้านวรรณศลิ ป
ศลิ ปะในการสรา้ งสรรค์วรรณคดีใหม้ คี วามงาม ความไพเราะ และความ

หมายเปนทีจับใจผอู้ ่านนนั เรยี กว่า วรรณศลิ ป กลวิธกี ารประพนั ธท์ ีสาํ คัญที
จะกล่าวถึงมดี ังนี การเล่นเสยี ง การเล่นคํา และการใชภ้ าพพจน์

วรรณศลิ ปจากเรอื งบทเสภาสามคั คเี สวก

มกี ารใชภ้ าษาทีสวยงาม มกี ารเล่นคํา การเล่นเสยี งและการใชภ้ าพพจน์

การเล่นคํา เชน่

เหมอื นคนปาคนไพรไมร่ ุง่ เรอื ง จะพดู ด้วยนนั ก็เปลืองซงึ วาจา

ทังชา่ งรูปพรรณสวุ รรณกิจ ชา่ งประดิษฐร์ ชั ดาสง่าผอ่ ง

การเล่นเสยี ง การเล่นเสยี งพยญั ชนะ เชน่
ต้องมวั รบราญรอนหาผอ่ นไม่
ศลิ ปกรรมนาํ ใจใหส้ รา่ งโศก
จึงยกยอ่ งศลิ ปะกรรมน์ นั ทัวไป

การเล่นเสยี งสระ เชน่

อันชาติใดไรศ้ านติสขุ สงบ ต้องมวั รบราญรอนหาผอ่ นไม่

ใครใครเหน็ ไมเ่ ปนทีจําเรญิ ตา เขาจะพากันเยย้ ใหอ้ ับอาย

เพราะขาดเครอื งระงับดับราํ คาญ โอสถใดจะสมานซงึ ดวงใจ

การใชภ้ าพพจน์ บทเสภาสามคั คเี สวก มคี ณุ ค่าและความดเี ด่นด้าน

วรรณศลิ ป ดังนี

๑. การใชภ้ าพพจน์ บทเสภาสามคั คีเสวก มคี วามดีเด่นด้านการใช้

ภาพพจนแ์ บบอุปมา โดยเฉพาะบทเสภาตอน สามคั คีเสวก ทีรชั กาลที ๖

ทรงเปรยี บเทียบประเทศชาติกับเรอื ลําใหญท่ ีกําลังแล่นอยูใ่ นทะเล โดยมี

พระมหากษัตรยิ ท์ รงเปนผนู้ าํ ประเทศเปรยี บได้กับกัปตันเรอื หรอื นายเรอื

และเหล่าเสวกและขา้ ราชการทังหลายเปรยี บได้กับกะลาสเี รอื การทีทรง

เปรยี บเทียบเชน่ นี ทําใหผ้ อู้ ่านหรอื ผฟู้ งสามารถเขา้ ใจความสมั พนั ธ์

ระหว่างประเทศชาติ พระมหากษัตรยิ แ์ ละขา้ ราชการได้อยา่ งชดั เจน เนอื ง

ด้วยรชั กาลที ๖ ทรงแสดงใหเ้ หน็ ว่าพระมหากษัตรยิ จ์ ะทรงนาํ ประเทศชาติ

หรอื “รฐั นาวา” ใหเ้ คลือนทีหรอื ก้าวหนา้ ต่อไปได้ต้องอาศยั ความรว่ มมอื

รว่ มใจกัน ตลอดจนการปฏิบตั ิงานด้วยความแขง็ ขนั และด้วยความมี

ระเบยี บวินยั ของบรรดาขา้ ราชการ จึงจะสามารถฝาคลืนลมหรอื อุปสรรค

ทังหลายไปได้

๒. การหลากคําและการแตกศพั ท์ บทเสภาสามคั คีเสวก ตอน วิศว

กรรมาและ ตอน สามคั คีเสวกมกี ารหลากคํา คือ มกี ารใชค้ ําทีมคี วามหมาย

เหมอื นกันในบทประพนั ธเ์ ดียวกันเพอื ใหเ้ กิดเสยี งสมั ผสั ใน ซงึ แสดงใหเ้ หน็

ถึงความสามารถในการเลือกสรรถ้อยคําทีหลากหลายมาใชใ้ นการแต่งบท

ประพนั ธต์ อนเดียวกันได้อยา่ งเหมาะสมและมกี ารแตกศพั ท์ คือ การนาํ

ศพั ท์คําหนงึ มาแต่ใหเ้ ปนหลายคํา โดยมกี ารเปลียนแปลงรูปเล็กนอ้ ยและยงั

มคี วามหมายใกล้เคียงกับความหมายเดิมมากทีสดุ

บทเสภาสามคั คีเสวก ตอน สามคั คีเสวก มกี ารหลากคําทีมคี วาม
หมายว่า “พระมหากษัตรยิ ”์ โดยใชค้ ําว่า ทรงธรรม พระทรงศรี พระ
ภธู ร พระจักรี แสดงใหเ้ หน็ ถึงพระปรชี าสามารถในการพระราชนพิ นธข์ อง
พระบาทสมเด็จพระมงกฎุ เกล้าเจ้าอยูห่ วั ทีสง่ สามารถเลือกใชค้ ําทีหลาก
หลายเพอื สอื ความหมายเดียวกันได้อยา่ งไพเราะงดงาม

คณุ ค่าทางด้านสงั คม
บทเสภาสามคั คีเสวก ตอน วิศวกรรมาและตอนสามคั คีเสวก ดังนี

๑. สะท้อนความงามทางด้านศลิ ปะ คือ ศลิ ปะยอ่ มทําใหผ้ คู้ นเกิด
ความเพลินตาเตือนใจจากการทีได้พบเหน็ ซงึ เปนผลงานทีศลิ ปนหรอื ชา่ ง
แขนงต่างๆ ตามทีรชั กาลที ๖ จงกล่าวถึงเปนตัวอยา่ ง คือ ชา่ งปน ชา่ งเขยี น
ชา่ งก่อสรา้ ง ชา่ งทอง ชา่ งเงิน ชา่ งถม ชา่ งทําอัญมณี ได้บรรจงสรา้ งสรรค์
อยา่ งประณตี สวยงามและเมอื เกิดความสบายใจแล้วรา่ งกายก็จะเปนสขุ ซงึ
หมายความไปถึงการมกี ําลังทีจะทําประโยชนแ์ ละความเจรญิ ใหแ้ ก่ตนเอง
และประเทศชาติต่อไป

๒. สะท้อนความรุง่ เรอื งของบา้ นเมอื ง คือ ผลงานทีศลิ ปนและชา่ ง
ทังหลายได้ประดิษฐค์ ิดค้นขนึ ยอ่ มเปนเครอื งมอื ทีชว่ ย “บาํ รุงแดนดิน” หรอื
แสดงใหเ้ หน็ ถึงความเจรญิ รุง่ เรอื งของบา้ นเมอื ง อีกทังยงั ภมู ปิ ญญาและ
เกียรติภมู ขิ องชาติ

ด้วยเหตนุ นี านาประเทศจึงต่างยกยอ่ งศลิ ปะว่าเปนสงิ “ศรวี ิไลวิลาศดี

เปนศรเี มอื ง” คือ ศลิ ปะเปนสงิ แสดงความเจรญิ ของบา้ นเมอื ง เปนสงิ ที

สวยงามและเปนเกียรติเปนศรแี ก่ประเทศชาตินอกจากนศี ลิ ปะยงั เปนสงิ

แสดงถึงความสงบสขุ ของชาติ ซงึ หากชาติใดไมม่ คี วามสงบสขุ คณุ ในชาติก็

จะมงุ่ ต่อสทู้ ําศกึ สงครามจนไมม่ คี วามสนใจในการสรา้ งสรรค์ผลงานศลิ ปะ

แต่หากชาติใดบา้ นเมอื งสงบสขุ คนในชาติก็ยอ่ มสรา้ งสรรค์ศลิ ปะเพอื

ประดับประดาบา้ นเมอื งใหง้ ดงาม

ศลิ ปะจึงมคี ณุ ค่าในฐานะเปนเพอื นแสดงถึงความเจรญิ รุง่ เรอื งของ
ชาติและคนในชาติ พระบาทสมเด็จพระมงกฎุ เกล้าเจ้าอยูห่ วั จึงมพี ระราช
ประสงค์ทีจะเหน็ คนไทยใหค้ วามสาํ คัญกับศลิ ปะและวิชาชา่ งแขนงต่างๆ
ด้วยการชว่ ยกันสนบั สนนุ ศลิ ปนและบาํ รุงศลิ ปะตลอดจนวิชาชา่ งของไทย
ใหม้ คี วามมนั คงถาวรสบื ไป ดังกล่าวทีว่า “เราชว่ ยชา่ งเหมอื นอยา่ งชว่ ยบา้ น
เมอื งใหป้ ระเทืองประเทศอันไพศาล”

๓. สะท้อนคณุ ธรรมหนา้ ทีและความสามคั คี บทเสภา ตอน สามคั คี
เสวก มงุ่ แสดงความคิดทีว่า ชาติจะดํารงอยูไ่ ด้อยา่ งมนั คง ขา้ ราชการต้อง
พรอ้ มใจการปฏิบตั ิหนา้ ทีในตําแหนง่ ของตนด้วยความพยายาม ไมค่ ํานงึ ถึง
ความสขุ สว่ นตัว ตลอดจนมคี วามเครง่ ครดั ในระเบยี บวินยั ซงึ ล้วนแต่เปน
ความประพฤติทีแสดงถึงความจงรกั ภักดีทีขา้ ราชการพงึ มตี ่อพระมหา
กษัตรยิ ผ์ ทู้ รงเปน “เหมอื นบดิ าบงั เกิดหวั ” และทีสาํ คัญทีสดุ คือต้องมี
ความสามคั คีปรองดองใหส้ มกับเปนขา้ ราชการในพระบาทสมเด็จ
พระเจ้าอยูห่ วั องค์เดียวกัน

สรุปขอ้ คิดเสภาสามคั คเี สวก ตอน วิศวกรรมา

๑. หากเรามศี ลิ ปะอยูใ่ นใจก็เหมอื นกับเรามเี ครอื งผอ่ นคลายความทกุ ขอ์ ยู่
ด้วย
๒. ศลิ ปกรรมเปนสงิ ทีสวยงามจําเรญิ ตา จําเรญิ ใจเราจึงควรทีจะชว่ ยกันสง่
เสรมิ และสนบั สนนุ
๓. ชาติทีมคี วามเจรญิ รุง่ เรอื ง จะมศี ลิ ปะประจําชาติ ศลิ ปะหมายถึงภาพ
สะท้อนของความสขุ สงบของประเทศ
๔. ชาติทีไมม่ ชี า่ งทางด้านศลิ ปะ เหมอื นผหู้ ญงิ ทีไมม่ คี วามงาม
๕. ใครดถู กู งานศลิ ปะ เหมอื นคนปาคนดง ไมส่ มควรคบค้าสมาคมด้วย
๖. คนไทยควรชว่ ยรกั ษาศลิ ปะและอนรุ กั ษ์ไว้ใหร้ ุง่ เรอื งตลอดไป เพอื แสดง
ความเปนชาติทีมวี ัฒนธรรมมายาวนาน

สรุปขอ้ คิดบทเสภาสามคั คเี สวก ตอน สามคั คเี สวก

๑. เหล่าขา้ ราชการต้องใหค้ วามรว่ มมอื กับองค์พระมหากษัตรยิ ผ์ ทู้ รงเปน
ผนู้ าํ ของประเทศ
๒. ขา้ ราชการต้องคํานงึ ถึงหนา้ ทีของตนเปนใหญ่ มคี วามเครง่ ครดั ใน
ระเบยี บวินยั
๓. ขา้ ราชการต้องมคี วามจงรกั ภักดีต่อพระเจ้าแผน่ ดิน
๔. ขา้ ราชการต้องมคี วามสามคั คีปรองดองเพอื นาํ ชาติใหพ้ ฒั นาต่อไป
๕. การทีมคี วามพยายามในการทําอะไร ก็จะทํางานนนั ได้เสรจ็ สมบูรณ์
ไมว่ ่าจะอุปสรรคอะไร ถ้ามคี วามอดทนอดกลัน ก็จะประสบผลสาํ เรจ็
๖. การรวมกันเปนหนงึ เดียวของคนในสงั คม ไมว่ ่าจะเปนสงั คมใดก็ตาม
เหมอื นกับกองทรายกองใหญ่ แมว้ ่าคลืนจะซดั มาแรงแค่ไหน กองทราย
กองนนั ก็จะไมพ่ งั ถึงพงั ก็นอ้ ย แต่เมอื คนในสงั คมนนั ๆ ไมส่ ามคั คีกันแล้ว
เปรยี บได้กับกองทรายกองเล็ก ทีพรอ้ มจะถล่มได้ทกุ เมอื ดังนนั ความ
สามคั คีคือพลังทีสามารถฝาพน้ อุปสรรคนอ้ ยใหญไ่ ด้

ขอ้ คิดทสี ามารถนําไปประยุกต์ใชใ้ นชวี ิตประจําวัน

๑. ใหม้ คี วามรกั และภมู ใิ จในศลิ ปะของชาติ กล่าวคือ ศลิ ปะเปนสงิ ที
มนษุ ยส์ รา้ งสรรค์ขนึ มกี ารสงั สม ถ่ายทอดจากรุน่ สรู่ ุน่ จนกระทังเปน
มรดกทางวัฒนธรรม เกิดเปนความงามทีมเี อกลักษณข์ องชนชาติ ทังด้าน
จิตรกรรม ประติมากรรม หตั ถกรรม ได้รบั การยอมรบั จากต่างประเทศ
การสรา้ งเจตคติทีดีต่อศลิ ปะ ปลกู ฝงจิตสาํ นกึ ใหเ้ ยาวชนรกั ศลิ ปะยอ่ มจะ
ทําใหศ้ ลิ ปะของชาติดํารงอยูไ่ ด้

๒. ใหต้ ระหนกั ในหนา้ ทีของตน ประเทศชาติจะพฒั นาได้ยอ่ มต้องอาศยั
บุคคลภายในชาติเปนกลไกสาํ คัญ เนอื งด้วยแต่ละบุคคลจะดํารง
สถานภาพและแสดงบทบาททางสงั คมทีแตกต่างกัน โดยทีทกุ สถานภาพ
ล้วนมคี วามสาํ คัญเท่าเทียมกัน หากบุคคลขาดความตระหนกั ในหนา้ ที
ของตนเอง บา่ ยเบยี งหนา้ ทีความรบั ผดิ ชอบยอ่ มไมส่ ามารถสรา้ งความ
เจรญิ รุง่ เรอื งใหก้ ับชาติได้

๓. ใหเ้ หน็ ถึงความสาํ คัญของความสามคั คี ประเทศชาติประกอบด้วย
บุคคลจํานวนมากการจะทําใหป้ ระเทศพฒั นาไปขา้ งหนา้ ความสามคั คี
ของคนในชาติเปนสงิ สาํ คัญ ต้องไมค่ ิดรา้ ยแก่งแยง่ ชงิ ดีหรอื เหน็ แก่
ประโยชนส์ ว่ นตนเปนทีตัง เปนเรอื งรองลงมาจากผลประโยชนส์ ว่ นตัว
ยอ่ มทําใหป้ ระเทศชาติเกิดความเสยี หายได้ ความสามคั คีจะเปนเครอื งผกู
รวมจิตใจของคนในชาติ

๔. ใหเ้ กิดความจงรกั ภักดีต่อพระมหากษัตรยิ ์ เนอื งจากพระมหากษัตรยิ ์
ทรงมพี ระมหากรุณาธคิ ณุ ต่อบา้ นเมอื งและขา้ ราชบรพิ าร ทรงเปน “เห
มอื นกับปตัน” ทีนาํ พาเรอื ฝาคลืนพายุทีรุนแรงไปยงั จุดมงุ่ หมาย นนั คือ
ความเจรญิ รุง่ เรอื งของบา้ นเมอื งและความผาสกุ ของราษฎรทังมวลดังนนั
ประชาชนทกุ คนจึงควรประพฤติปฏิบตั ิตามพระบรมราโชวาท รูจ้ ักหนา้ ที
ของตนเองและปฏิบตั ิงานในหนา้ ทีอยา่ งเต็มความสามารถ พรอ้ มทังมี
ระเบยี บวินยั และมคี วามสามคั รสมานสามคั คีกัน บา้ นเมอื งก็จะมคี วาม
สงบสขุ และมคี วามเจรญิ รุง่ เรอื ง

แบบทดสอบหลังเรยี น

ใหน้ กั เรยี นกากบาทหนา้ ขอ้ ทีถูกทีสุด

๑.บทรอ้ ยกรองเรอื งนมี ชี อื เต็มว่าอะไร
ก.บทเสภาสามคั คีเสวก
ข.บทเสภาระหว่างชุระบาํ สามคั คีเสวก
ค.บทเสภาขบั ชุดระบาํ สามคั คีเสวก
ง.บทเสภาขบั ระหว่างชุดระบาํ สามัคคีเสวก

๒.ใครเปนผแู้ ต่งบทรอ้ ยกรองนี
ก.พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั
ข.พระบาทสมเด็จพระมงกฎุ เกล้าเจ้าอยูห่ ัว
ค.พระเจ้าบรมวงศเ์ ธอ กรมพระนราธิปประพันธพ์ งศ์
ง.พระยาอุปกิตศลิ ปสาร

๓.เรอื งนแี ต่งด้วยคําประพนั ธ์ชนดิ ใด
ก.กาพยย์ านี
ข.กลอนสกั วา
ค.กลอนเสภา
ง.กลอนสภุ าพ

๔.เรอื งนแี ต่งขนึ เพอื ความมงุ่ หมายใด
ก.ใชร้ อ้ งสกั วา
ข.ใช้ขบั รองเพอื ปลกุ ใจ
ค.ใช้ขบั เสภา
ง.ใช้ขบั รอ้ งในบทละคร

๕.เรอื งนมี ใี จความเกียวกับอะไรเปนสําคัญ
ก.ความสาํ คัญของศลิ ปะ
ข.กําเนดิ ของศลิ ปะ
ค.ความหมายของศลิ ปะ
ง.การบาํ รุงรกั ษาศลิ ปะ

๖.ศลิ ปะจะเกิดขนึ และเจรญิ รุง่ เรอื งในภาวการณ์อยา่ งไร
ก.บ้านเมอื งกําลังรุง่ เรอื งทางเศรษฐกิจ
ข.บ้านเมอื งกําลังพฒั นาในทกุ ๆ ด้าน
ค.บา้ นเมอื งสงบสขุ ปราศจากภัยสงคราม
ง.ผคู้ นในสงั คมเหน็ ความสาํ คัญของศิลปะ

๗.ผไู้ มน่ ยิ มศลิ ปะจะได้รบั ความเสยี หายประการสาํ คัญทีสดุ อยา่ งไร
ก.เมอื เกิดความทกุ ขไ์ มอ่ าจระงับได้
ข.ทําใหร้ ูปรา่ งทรามหมดสง่าราศี
ค.ทําใหส้ ขุ ภาพทางกายและใจเสอื มโทรม
ง.เปนทีดูหมนิ เหยยี ดหยามของผอู้ ืน

๘.ชาติทีขาดชา่ งศลิ ปะเปรยี บได้กับอะไร
ก.หญงิ ทีไมต่ กแต่งรา่ งกาย
ข.หญงิ ทีไมม่ ศี ลิ ปะในการตกแต่งรา่ งกาย
ค.หญงิ ทีแต่งงานแล้ว
ง.หญงิ ทีมรี ูปรา่ งอัปลักษณ์

๙.ศลิ ปะมคี วามสมั พนั ธ์กับสขุ ภาพอยา่ งไร
ก.ทําใหจ้ ิตใจสงบ
ข.ทําใหจ้ ิตใจมคี ณุ ธรรม
ค.ทําใหจ้ ิตใจรนื เรงิ ผอ่ งใส
ง.ทําใหใ้ จและกายเปนสขุ

๑๐.ผทู้ ีดถู ูกชา่ งศลิ ปะ จัดเปนบุคคลประเภทใด

ก.คนชวั ข.คนโง่ ค.คนไรก้ ารศกึ ษา ง.คนปา

๑๑.เมอื งไทยมคี วามเจรญิ เท่าเทียมเพอื นบา้ นเพราะเหตผุ ลใดเปนสาํ คัญ
ก.คนไทยมคี วามสามคั คี
ข.คนไทยรกั ความสงบ
ค.คนไทยมคี วามขยนั หมนั เพยี ร
ง.คนไทยมคี วามชาํ นาญในการชา่ งหลาย

๑๒.ขอ้ ใดใช้สมั ผสั ของคําดีเด่นทีสดุ
ก.อันชาติใดไรศ้ านติสขุ สงบ ต้องมวั รบราญรอนหาผอ่ นไม่
ข.ในชาตินนั นรชนไมส่ นใจ ในศลิ ปะวิไลละวาดงาม
ค.แต่ชาติใดรุง่ เรอื งเมอื งสงบ ว่างการรบอรพิ ลอันล้นหลาม
ง.ยอ่ มจํานงศลิ ปะสง่างาม เพืออรา่ มเรอื งระยบั ประดับประดา

๑๓.ในขอ้ ๑๒ ขอ้ ใด ไมม่ ี สมั ผสั สระภายในวรรคครบทุกวรรค

ก.ขอ้ ก ข.ขอ้ ข ค.ขอ้ ค ง.ขอ้ ง

๑๔. "ทังชา่ งรูปพรรณสวุ รรณกิจ ชา่ งประดิษฐร์ ชั ดาสง่าผอ่ ง
อีกชา่ งถมลายลักษณะจําลอง อีกชาชองเรงิ รตั นะประกร"
ขอ้ ความนี ไมไ่ ด้ กล่าวถึงชา่ งประเภทใด
ก.ชา่ งทอง
ข.ชา่ งเงิน
ค.ชา่ งประดิษฐเ์ ครอื งเพชรนลิ จินดา
ง.ชา่ งหล่อ

๑๕.ขอ้ ความ จะพูดด้วยนนั ก็เปลืองซึงวาจา หมายความว่าอยา่ งไร
ก.ต้องใช้คําพูดเปนอันมากจึงเขา้ ใจกัน
ข.ต้องพยายามสรรหาคําพดู ทีเหมาะสมจึงเข้าใจกัน
ค.ต้องสนิ เปลืองสติปญญาในการพูดเปนอันมากจึงเข้าใจกัน
ง.ถึงจะพูดอยา่ งไร ๆ ก็ไมเ่ ขา้ ใจกัน

เฉลยแบบทดสอบหลังเรยี น

ใหน้ กั เรยี นกากบาทหนา้ ขอ้ ทีถกู ทีสุด

๑. บทรอ้ ยกรองเรอื งนมี ชี อื เต็มว่าอะไร
ก.บทเสภาสามคั คีเสวก
ข.บทเสภาระหว่างชุระบาํ สามคั คีเสวก
ค.บทเสภาขบั ชุดระบาํ สามคั คีเสวก
ง.บทเสภาขบั ระหว่างชุดระบาํ สามัคคีเสวก

๒. ใครเปนผแู้ ต่งบทรอ้ ยกรองนี
ก.พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ ัว
ข.พระบาทสมเด็จพระมงกฎุ เกล้าเจ้าอยูห่ ัว
ค.พระเจ้าบรมวงศเ์ ธอ กรมพระนราธปิ ประพนั ธพ์ งศ์
ง.พระยาอุปกิตศลิ ปสาร

๓. เรอื งนแี ต่งด้วยคําประพันธช์ นิดใด
ก.กาพยย์ านี
ข.กลอนสกั วา
ค.กลอนเสภา
ง.กลอนสภุ าพ

๔. เรอื งนแี ต่งขนึ เพอื ความมงุ่ หมายใด
ก.ใช้รอ้ งสกั วา
ข.ใชข้ บั รองเพือปลกุ ใจ
ค.ใชข้ บั เสภา
ง.ใชข้ บั รอ้ งในบทละคร

๕. เรอื งนมี ใี จความเกียวกับอะไรเปนสําคัญ
ก.ความสาํ คัญของศลิ ปะ
ข.กําเนดิ ของศลิ ปะ
ค.ความหมายของศลิ ปะ
ง.การบํารุงรกั ษาศลิ ปะ

๖. ศลิ ปะจะเกิดขนึ และเจรญิ รุง่ เรอื งในภาวการณ์อยา่ งไร
ก.บ้านเมอื งกําลังรุง่ เรอื งทางเศรษฐกิจ
ข.บา้ นเมอื งกําลังพัฒนาในทกุ ๆ ด้าน
ค.บา้ นเมอื งสงบสขุ ปราศจากภัยสงคราม
ง.ผคู้ นในสงั คมเหน็ ความสาํ คัญของศิลปะ

๗. ผไู้ มน่ ยิ มศลิ ปะจะได้รบั ความเสียหาย ประการสําคัญทีสดุ อยา่ งไร
ก.เมอื เกิดความทกุ ขไ์ มอ่ าจระงับได้
ข.ทําใหร้ ูปรา่ งทรามหมดสง่าราศี
ค.ทําใหส้ ขุ ภาพทางกายและใจเสอื มโทรม
ง.เปนทีดูหมนิ เหยยี ดหยามของผอู้ ืน

๘. ชาติทีขาดชา่ งศลิ ปะเปรยี บได้กับอะไร
ก.หญงิ ทีไมต่ กแต่งรา่ งกาย
ข.หญงิ ทีไมม่ ศี ลิ ปะในการตกแต่งรา่ งกาย
ค.หญงิ ทีแต่งงานแล้ว
ง.หญงิ ทีมรี ูปรา่ งอัปลักษณ์

๙. ศลิ ปะมคี วามสมั พันธก์ ับสขุ ภาพอยา่ งไร
ก.ทําใหจ้ ิตใจสงบ
ข.ทําใหจ้ ิตใจมคี ณุ ธรรม
ค.ทําใหจ้ ิตใจรนื เรงิ ผอ่ งใส
ง.ทําใหใ้ จและกายเปนสขุ

๑๐. ผทู้ ีดถู ูกชา่ งศลิ ปะ จัดเปนบุคคลประเภทใด

ก.คนชวั ข.คนโง่ ค.คนไรก้ ารศกึ ษา ง.คนปา

๑๑.เมอื งไทยมคี วามเจรญิ เท่าเทียมเพอื นบา้ นเพราะเหตผุ ลใดเปนสาํ คัญ
ก.คนไทยมคี วามสามคั คี
ข.คนไทยรกั ความสงบ
ค.คนไทยมคี วามขยนั หมนั เพยี ร
ง.คนไทยมคี วามชาํ นาญในการชา่ งหลาย

๑๒.ขอ้ ใดใช้สมั ผสั ของคําดีเด่นทีสดุ
ก.อันชาติใดไรศ้ านติสขุ สงบ ต้องมวั รบราญรอนหาผอ่ นไม่
ข.ในชาตินนั นรชนไมส่ นใจ ในศลิ ปะวิไลละวาดงาม
ค.แต่ชาติใดรุง่ เรอื งเมอื งสงบ ว่างการรบอรพิ ลอันล้นหลาม
ง.ยอ่ มจํานงศลิ ปะสง่างาม เพืออรา่ มเรอื งระยบั ประดับประดา

๑๓.ในขอ้ ๑๒ ขอ้ ใด ไมม่ ี สมั ผสั สระภายในวรรคครบทุกวรรค

ก.ขอ้ ก ข.ขอ้ ข ค.ขอ้ ค ง.ขอ้ ง

๑๔. "ทังชา่ งรูปพรรณสวุ รรณกิจ ชา่ งประดิษฐร์ ชั ดาสง่าผอ่ ง
อีกชา่ งถมลายลักษณะจําลอง อีกชาชองเรงิ รตั นะประกร"
ขอ้ ความนี ไมไ่ ด้ กล่าวถึงชา่ งประเภทใด
ก.ชา่ งทอง
ข.ชา่ งเงิน
ค.ชา่ งประดิษฐเ์ ครอื งเพชรนลิ จินดา
ง.ชา่ งหล่อ

๑๕.ขอ้ ความ จะพูดด้วยนนั ก็เปลืองซึงวาจา หมายความว่าอยา่ งไร
ก.ต้องใช้คําพูดเปนอันมากจึงเขา้ ใจกัน
ข.ต้องพยายามสรรหาคําพดู ทีเหมาะสมจึงเข้าใจกัน
ค.ต้องสนิ เปลืองสติปญญาในการพูดเปนอันมากจึงเข้าใจกัน
ง.ถึงจะพูดอยา่ งไร ๆ ก็ไมเ่ ขา้ ใจกัน

แผนการจัดการเรยี นรูท้ ี ๓

กล่มุ สาระการเรยี นรู้ : ภาษาไทย ระดับชนั มธั ยมศกึ ษาปที ๒

รหสั วิชา ท๒๒๑๐๑ วิชา ภาษาไทย เวลา ๖๐ ชวั โมง

หน่วยที ๔ ชอื หน่วย บทละครเรอื งรามเกยี รติ ตอนนารายณ์ปราบนนทก

เวลา ๘ ชวั โมง

เรอื งที ๒ เรอื ง การอ่านบทละครเรอื ง รามเกยี รติ ตอนนารายณ์ปราบนนทก

เวลา ๔ ชวั โมง

มาตรฐานการเรยี นรู/้ ตัวชวี ัด

มาตรฐานการเรยี นรู้

ท ๑.๑ ใชก้ ระบวรการอ่าน สรา้ งความรูแ้ ละความคิด เพอื นาํ ไปใชต้ ัดสนิ ใจแก้ปญหา
ในการดําเนนิ ชวี ิตและมนี สิ ยั รกั การอ่าน
ท ๒.๑ ใชก้ ระบวรการเขยี น เขยี นสอื สาร เขยี นเรยี งความ ยอ่ ความ และเขยี นเรอื งราว
ในรูปแบบต่างๆ เขยี นรายงานขอ้ มลู สาระสนเทศและรายงานการศกึ ษาค้นคว้าอยา่ งมี
ประสทิ ธภิ าพ

ท ๕.๑ เขา้ ใจและแสดงความคิดเหน็ วิจารณว์ รรณคดีและวรรณกรรมไทยอยา่ งเหน็
คณุ ค่าและนาํ มาประยุกต์ใชใ้ นชวี ิตจรงิ

ตัวชวี ัด
๑. ท ๑.๑ (ม. ๒/๑) อ่านออกเสยี งบทรอ้ ยแกวและบทรอ้ ยกรองได้ถกู ต้อง
๒. ท ๑.๑ (ม. ๒/๒) จับใจความสาํ คัญ สรุปความ และอธบิ ายรายละเอียดจากเรอื งทีอ่าน
๓. ท ๑.๑ (ม. ๒/๔) อภิปรายแสดงความคิดเหน็ และขอโต้แยง้ เกียวกับเรอื งทีอ่าน ๔.
ท.๓.๑ (ม.๒/๘) มมี ารยาทในการอ่าน
๕.ท ๒.๑(ม.๒/๑) คัดลายมอื ตัวบรรจงครงึ บรรทัด
๖.ท ๒.๑(ม.๒/๕) มมี ารยาทในการเขยี น
๗.ท ๕.๑ (ม. ๒/๑) สรุปเนอื หาวรรณคดีและวรรณกรรมทีอ่านในระดับทียากขนึ
๘.ท ๕.๑ (ม. ๒/๔) สรุปความรูแ้ ละขอ้ คิดจากการอ่านไปประยุกต์ใชใ้ นชวี ิตจรงิ

จุดประสงค์การเรยี นรู้
๑. จับใจความสาํ คัญ ตีความ สรุปความ และแสดงความคิดเหน็ เกียวกับเรอื งทีอ่าน
ได้ (K, P)
๒.คัดลายมอื ตัวบรรจงครงึ บรรทัด(P)
๓. พดู หรอื เขยี นแสดงความคิดเหน็ จากเรอื งทีอ่าน ฟง หรอื ดไู ด้อยา่ งมเี หตผุ ล (K, P)
๔. นาํ สารประโยชนท์ ีได้รบั ไปปรบั ใชในชวี ิตประจําวันได้ (P)
๕. เหน็ คณุ ค่าและซาบซงึ ในการอ่านวรรณคดีและวรรณกรรมไทย (A)

สมรรถนะของผเู้ รยี น
๑. ความสามารถในการสอื สาร
๒. ความสามารถในการคิด
๓. ความสามารถในการแก้ปญหา
๔. ความสามารถในการใชท้ ักษะชวี ิต
๕. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี

ด้านคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์
๑. รกั ชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์
๒. ซอื สตั ยส์ จุ รติ
๓. มวี ินยั
๔. ใฝเรยี นรู้
๕. อยูอ่ ยา่ งพอเพยี ง
๖. มงุ่ มนั ในการทํางาน
๗. รกั ความเปนไทย
๘. มจี ิตสาธารณะ