ข้อสอบ เศรษฐกิจ พอ เพียง ม. 5 พร้อมเฉลย

1. การนำเอาทรัพยากรต่างๆมาแปรรูปให้เป็นสินค้าและบริการ หมายถึงข้อใด

1. ปัจจัยการผลิต 2. การผลิต 3. ผู้ประกอบการ 4. ผู้บริโภค

2. การผลิตสิค้าและบริการทุกประเภทใช้ปัจจัยการผลิตในข้อใดมากที่สุด

1. แรงงาน 2. ทุน 3. ผู้ประกอบการ 4. ที่ดิน 3. หลักการใช้ทรัพยากรการผลิตที่สำคัญยกเว้นข้อใด 1. การใช้ทรัพยากรการผลิตให้เกิดประโยชน์และคุ้มค่า 2. ใช้ทรัพยากรการผลิตอย่างประหยัด 3. ใช้ทรัพยากรในการผลิตที่ใกล้จะหมด 4. ใช้ทรัพยากรการผลิตอย่างระมัดระวังไม่ให้สิ้นเปลือง 4. การผลิตสินค้าในข้อใดที่ทำให้สินค้ามีมูลค่าเพิ่มโดยการแปรรูป 1. การทำไร่มันสำปะหลัง 2. การเลี้ยงกุ้ง 3. การทำสวนปาล์มน้ำมัน         4. การทำน้ำตาลทรายแดงจากอ้อย

5. ตามหลักเศรษฐศาสตร์ปัจจัยการผลิตทั้งหมดมีกี่ประเภท

1. 4 ประเภท                2. 5 ประเภท                3. 6 ประเภท                4. 7 ประเภท                6. โรงงานอุตสาหกรรมและเครื่องจักรกลจัดเป็นปัจจัยการผลิตตามข้อใด 1. ที่ดิน 2. ทุน 3. แรงงาน 4. ผู้ประกอบการ 7. แนวพระราชดำริปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเป็นแนวคิดของใคร 1. รัชกาลที่ 4      2. รัชกาลที่ 5      3. รัชกาลปัจจุบัน   4. รัชกาลที่ 6     8. ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง คำว่า มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี  หมายถึงข้อใด 1. การเตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบและการเปลี่ยนแปลงด้านต่างๆ 2. ไม่เบียดเบียนตนเองและผู้อื่น 3. เกิดขึ้นจากการกระทำที่รอบคอบ 4. มีความรอบรู้เกี่ยวกับวิชาการต่างๆและมีความระมัดระวังในการปฏิบัติ

9. ข้อใดต่อไปนี้ไม่สอดคล้องกับหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

1. เน้นการรวมกลุ่มจัดตั้งองค์กร 2. รู้จักความพอดี 3. เน้นการผลิตเพื่อการค้าอย่างเดียว      4. ดำเนินตามทางสายกลาง 10. ข้อใดไม่ใช่หลักการสำคัญของเศรษฐกิจพอเพียง 1. ยึดทางสายกลางในดำเนินชีวิตประจำวัน        2. การพึ่งตนเองให้มากที่สุด 3. มีความหรูหราทันสมัย 4. ความสามัคคีกันของคนในท้องถิ่น 11. สหกรณ์เครดิตยูเนียนมีวัตถุประสงค์ในการจัดตั้งเพื่ออะไร 1. การศึกษาของบุตร           2. กู้ยืมเงิน         3. ดูแลสุขภาพอนามัย     4. ฝึกทักษะอาชีพ 12. ข้อใดคือ เงื่อนไขของหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 1. ซื่อสัตย์สุจริต : รอบรู้ รอบคอบ 2. พอประมาณ : มีเหตุผล 3. รอบคอบ : มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี 4. สติปัญญา : แบ่งปัน 13. การประกอบอาชีพด้วยความซื่อสัตย์สุจริต ใช้ปัญญาและมีความรอบคอบในการดำเนินชีวิตเป็นการประยุกต์ใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในข้อใด 1. โรงงาน 2. ชุมชน 3. โรงเรียน 4. ครอบครัว 14. เป้าหมายของการนำหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในชุมชนคือข้อใด 1. สามารถพึ่งตนเองได้    2. รู้จักใช้ทรัพยากรที่นำเข้าจากต่างประเทศ 3. ขอความช่วยเหลือจากรัฐบาล  4. ทำตามนโยบายของรัฐบาล 15. ธนาคารกลางมีหน้าที่อย่างไร 1. ส่งเสริมการลงทุน       2. ระดมเงินฝากจากประชาชน 3. ให้ประชาชนกู้ยืม       4. รักษาปริมาณเงินภายในประเทศ 16. ธนาคารกลางหรือธนาคารแห่งประเทศไทยสามารถให้ใครกู้ยืมเงิน 1. ประชาชนทั่วไป         2. นักท่องเที่ยว    3. ข้าราชการ      4. ธนาคารพาณิชย์ 17. ธนาคารพาณิชย์มีหน้าที่ตรงตามข้อใด 1. ส่งเสริมการลงทุน       2. พิมพ์ธนบัตร    3. รับฝากเงินและให้กู้ยืมเงิน       4. ให้สินเชื่อกับหน่วยงานราชการ 18. ธนาคารพาณิชย์ในข้อใดเป็นของรัฐบาล 1. ธนาคารกรุงไทย 2. ธนาคารกสิกรไทย       3. ธนาคารกรุงเทพ         4. ธนาคารทหารไทย 19. การฝากเงินประเภทใดทางธนาคารไม่คิดดอกเบี้ยให้กับผู้ฝาก 1. ฝากออมทรัพย์ 2. ฝากกระแสรายวัน      3. ฝากประจำ     4. ฝากเผื่อเรียก 20. ธนาคารประเภทใดระดมเงินฝากจากประชาชนเพื่อให้รัฐบาลกู้ยืม 1. ธนาคารกรุงศรี 2. ธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย        3. ธนาคารออมสิน         4. ธนาคารทหารไทย

21. การฝากเงินประเภทใดมีการกำหนดระยะเวลาในการฝากเงินและให้ดอกเบี้ยสูง

1. ฝากเผื่อเรียก 2. ฝากกระแสรายวัน      3. ฝากประจำ     4. ฝากสะสมทรัพย์

22. เมื่อเจ้าของบัญชีเงินฝากต้องการถอนเงินออกมาใช้จำเป็นต้องมีเอกสารใดประกอบในการถอนเงิน

1. สมุดบัญชีเงินฝาก       2. บัตรประจำตัวประชาชน        3. ใบถอนเงินของธนาคาร 4. ถูกทุกข้อที่กล่าวมา 23. การกู้ยืมเงินประเภทใดมีการทำสัญญาการกู้ยืมที่ถูกต้องตามกฎหมายและมีผู้ค้ำประกันการกู้ยืมด้วย 1. กู้เงินตามอัธยาศัย       2. กู้เงินในระบบ 3. กู้เงินนอกระบบ 4. การขอสินเชื่อ 24. การกู้เงินในระบบผู้ให้กู้ยืมที่ปฏิบัติถูกต้องตามกฎหมายเป็นแหล่งเงินทุนประเภทใด  1. พ่อค้า 2. นักธุรกิจ 3. ธนาคาร 4. บุคคลทั่วไป

25. กฎหมายกำหนดอัตราดอกเบี้ยการกู้ยืมเงินไม่ให้เกินร้อยละเท่าใดต่อปี

1. ร้อยละ 10 ต่อปี         2. ร้อยละ 12 ต่อปี 3. ร้อยละ 15 ต่อปี         4. ร้อยละ 20 ต่อปี 26. อัตราดอกเบี้ยเงินกู้ที่กฎหมายกำหนด และคิดเป็นรายเดือนจะต้องไม่เกินเดือนละเท่าใด 1. ร้อยละ 1.25 บาท      2. ร้อยละ 1.50 บาท      3. ร้อยละ 2 บาท 4. ร้อยละ  2.50 บาท 27. ข้อใดเป็นผลดีของการกู้ยืมเงินในระบบ 1. ได้รับเงินเร็ว              2. ยุติธรรมต่อผู้กู้ 3. ไม่ต้องมีบุคคลค้ำประกัน        4. ดอกเบี้ยสูง 28. ข้อใดเป็นผลเสียของการกู้ยืมเงินนอกระบบ 1. มีเงินใช้จ่ายในยามจำเป็น       2. ได้รับเงินเร็ว    3. มีเงินหมุนเวียนในธุรกิจ          4. เป็นช่องทางในการหลอกลวงของมิจฉาชีพ

29. ทิวเขาแดนลาวเป็นทิวเขาที่อยู่ในภาคใดของประเทศไทย

1. ภาคตะวันตก   2. ภาคกลาง       3. ภาคใต้ 4. ภาคเหนือ 30. ต้นกำเนิดของแม่น้ำเจ้าพระยาอยู่ที่จังหวัดใด 1. สุโขทัย 2. กำแพงเพชร    3. พิจิตร 4. นครสวรรค์ 31. ประเทศใดต่อไปนี้มีอาณาเขตติดต่อกับประเทศไทยทางทิศตะวันออก 1. พม่า             2. ลาว     3. กัมพูชา 4. มาเลเซีย 32. นักท่องเที่ยวชาวไทยจะเดินทางไปเที่ยวในประเทศมาเลเซียโดยทางรถยนต์จะต้องขับรถผ่านทิวเขาใดที่กั้น
ระหว่างไทยกับมาเลเซีย 1. ตะนาวศรี       2. สันกาลาคีรี     3. ดงพญาเย็น     4. พนมดงรัก 33. ภาคใดที่มีดินอุดมสมบูรณ์เหมาะแก่การเพาะปลูกมากที่สุด 1. ภาคกลาง       2. ภาคตะวันออก 3. ภาคเหนือ       4. ภาคใต้ 34. ลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ที่นำฝนมาตกในประเทศไทยเกิดขึ้นที่บริเวณใด 1. ทะเลจีนใต้               2. อ่าวไทย         3. มหาสมุทรแอตแลนติก 4. มหาสมุทรอินเดีย 35. สินค้าส่งออกที่สำคัญของภาคใต้ไทยคือข้อใด 1. แร่เหล็ก         2. น้ำมัน 3. ดีบุก    4. ถ่านหิน 36. พื้นที่ป่าไม้ของภาคตะวันตกยังมีความอุดมสมบูรณ์อยู่มากเป็นเพราะเหตุใด 1. มีฝนตกหนักตลอดปีทำให้น้ำป่าไหลบ่าจากภูเขาสูง 2. มีป่าไม้ที่หนาทึบมากยากแก่การเดินทางเข้าไปในป่า 3. มีประชากรอาศัยอยู่อย่างเบาบาง 4. ภูมิประเทศเป็นภูเขาสูงยากแก่การเดินทางเข้าถึง 37. ข้อใดคือแม่น้ำในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 1. แม่น้ำสงคราม 2. แม่น้ำปิง        3. แม่น้ำสาระวิน 4. แม่น้ำสะแกกรัง 38. ฤดูหนาวเริ่มต้นตั้งแต่ช่วงเดือนในข้อใดต่อไปนี้ 1. กุมภาพันธ์-พฤษภาคม 2. มีนาคม-เมษายน        3. พฤษภาคม-ตุลาคม     4. พฤศจิกายน-มกราคม 39. ลักษณะใดที่สะท้อนให้เห็นคุณค่าของวัฒนธรรม 1. จำนวนประชากร        2. อาชีพของประชากร    3. ภูมิประเทศและภูมิอากาศ 4. ทรัพยากรธรรมชาติ 40. ลักษณะภูมิประเทศแบบใดมักจะพบเห็นการทำนาแบบขั้นบันได 1. ยอดเขาสูง      2. เชิงเขาหรือไหล่เขา     3. แอ่งที่ราบ       4. ริมแม่น้ำ