สัมมนาพระพุทธศาสนา หมายถึง

พระพุทธศาสนาอยู่คู่กับโลกของเรามาอย่างยาวนานกว่า 5000 ปี ที่สืบต่อกันมารุ่นต่อรุ่นมาอย่างยาวนาน เริ่มต้นตั้งแต่สมัยพุทธกาล ที่พระพุทธเจ้าทรงออกบวชและตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้าจนได้มีลูกศิษย์ติดตามมากมาย โดยในยุคพระพุทธเจ้าได้เผยแผ่ศาสนาด้วยพระองค์เองภายใน ชมพูทวีปหรือในปัจจุบันคือเอเชียใต้กับอินเดียนั่นเอง ซึ่งในยุคที่พระองค์ทรงเผยแผ่ศาสนาอยู่นั่นก็ถือเป็นยุคที่รุ่งเรืองของศาสนาเป็นอย่างมาก

แต่เมื่อพระองค์ได้ทรงปรินิพพานก็ทำให้ศาสนาพุทธเกิดความวุ่นวายเล็กน้อยเพราะขาดผู้นำที่คอยชี้นำทางอย่างพระพุทธเจ้าไป แต่ถึงอย่างนั้นพระพุทธศาสนาก็ยังคงสืบต่อมาได้ ซึ่งหลักธรรมที่พระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนไว้นั้นก็ได้ถูกจารึกไว้เป็นคัมภีร์ที่มีชื่อเรียกว่า พระไตรปิฎก แต่ก็ยังมีพระอัครสาวกของพระพุทธเจ้า 2 องค์ที่ค่อยช่วยทำนุบำรุงพระพุทธศาสนา คือ พระมหาโมคคัลลานเถระ เป็นพระภิกษุอัครสาวกเบื้องซ้ายของพระพุทธเจ้า และ พระสารีบุตร ผู้เป็นพระอัครสาวกเบื้องขวา คอยเป็นผู้ชี้แนะแนวทางต่าง ๆ ซึ่งทั้งพระอัครสาวกทั้ง 2 ก็เป็นผู้นำการสังคายนาอยู่หลายครั้ง โดยการสังคายนาก็มีต่อมาเรื่อย ๆ การสังคายนาก็คือการประชุมหารือกันถึงหลักธรรมที่เผยแพร่ออกไปว่ามีเนื้อหาใจความตรงตามที่ปรากฏในคัมภีร์หรือไม่ และเมื่อเวลาผ่านไปจนกระทั่งศาสนาได้เผยแพร่ออกไปเป็นวงกว้าง และกินระยะเวลาหลายพันปีจนกระทั่งลูกศิษย์ที่ได้รับการสั่งสอนจากพระพุทธเจ้านั่นเริ่มหายไป

นั่นทำให้หลักธรรมที่เผยแพร่ออกไปเกิดการบิดเบือนจากความเป็นจริง บ้างก็นำหลักความเชื่อและตำนานมาผสมจนไม่เหลือเค้าโครงของพุทธศาสนาอยู่ นั่นจึงเป็นเหตุให้การสัมมนาทางพระพุทธศาสนามีความสำคัญเป็นอย่างมาก แต่อย่างที่เราทราบตามประวัติศาสตร์ได้บันทึกไว้ว่าการสัมมนาทางพระพุทธศาสนาเริ่มเลือนลางหายไปตามกาลเวลา หลักสำคัญทางพระพุทธศาสนาก็หายไปด้วยเช่นกัน ซึ่งหากทุกคนยังคงนิ่งเฉยต่อเหตุการณ์นี้ก็จะยิ่งทำให้แก่นใจความสำคัญของพระพุทธศาสนานั้นจางหายไปด้วย

ซึ่งทางออกสำหรับเรื่องนี้ก็จำเป็นต้องอาศัยกลุ่มผู้นำทางศาสนาที่จะต้องเข้ามามีบทบาทในการทำการสัมมนาทางพระพุทธศาสนาเพื่อเผยแพร่ให้หลุ่มคนที่เข้าใจผิดทางพระพุทธศาสนาได้เข้าใจแก่นแท้ของศาสนามากยิ่งขึ้น และนอกจากนี้ชาวพุทธทั้งหลายก็ควรที่จะเลือกเผยแพร่ข้อมูลหลักกธรรมทางพระพุทธศาสนาด้วยใจจริง โดยไม่มุ่งเน้นไปทางการหาผลประโยชน์จากการใช้ความเชื่อมาหลอกลวงผู้ที่ศรัทธาในพระพุทธศาสนา จะเห็นได้ว่าหากทุกคนทุกหน่วยงานร่วมมือร่วมใจกันหันมาช่วยกันเผยแพร่ศาสนาในมุมมองที่ถูกต้องตามหลักพระไตรปิฎกก็จะทำให้พระพุทธศาสนาจะคงอยู่ร่วมกับพวกเราชาวโลกชาวพุทธทุกคนสืบไป

เอกสารประกอบการสอน

รายวิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา (602 309)

(Seminar on Buddhism)

บรรยายโดย… ผศ.ดร.สุรพงษ์ คงสัตย์
น.ธ.เอก,ป.ธ.4,ปว.ค.(วิชาชีพครู)

Dipl.(การสอนภาษาอังกฤษ),พธ.บ.(ภาษาอังกฤษ)

M.A.(Linguistics),ปร.ด.(Cultural Science)


หลักสูตรพุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวชาพระพุทธศาสนา

มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วทยาเขตนครราชสีมา
พุทธศกราช 2558

รายวิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา (602309) หลักสูตรพุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา 1

ค าน า


ี้
เอกสารประกอบการสอนเล่มนชื่อวา เอกสารประกอบการสอนรายวิชา สัมมนา
ึ่
พระพุทธศาสนา (602309) ซงเป็นหลักสูตรพุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวชา






พระพุทธศาสนา ที่นสิตต้องศกษาเป็นรายวชาเอกทุกภาคเรยนที่ 2 ของปีการศกษาระดับ
ปรญญาโทชั้นปีที่ 2 สาขาวชาพระพุทธศาสนาที่เนนใหนสิตได้ศกษาวาด้วย “ ศึกษาการ










สัมมนาเชงปฏบัติการในงานวิจัยและวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนา ใหนิสิตร่วมกัน
จัดสัมมนาโดยน าประเด็นปัญหาที่น่าสนใจทางสังคมมาร่วมกันอภิปราย เสนอความ
คิดเห็น และวิเคราะห์หาทาง ออกร่วมกัน พร้อมทั้งแนวทางการประยุกต์หลักพุทธธรรม


เพื่อแก้ไขปัญหาสังคมในปัจจุบัน ” ดังนั้น ผู้สอนจึงได้เรยบเรยงองคความรอันเกี่ยวข้องการ
ู้


ั้
สัมมนาที่นสิตต้องมความเข้าใจก่อนและประเด็นองคความรพระพุทธศาสนานนนสิตได้ศกษา

ู้







มาก่อนนแล้ว แต่เหนวาเอกสารทางวชาการมความหลากหลายมากในยุคปัจจุบัน อย่างนอย

ี้
ผู้สอนได้ใช้เป็นคู่มือแนวทางของการศึกษาให้นิสิตซึ่งเนื้อหาสาระการเรียนรู้ประกอบด้วย
บทนําทั่วไปเกี่ยวกับรายละเอียดวิชา มคอ 3
ู้
บทที่ 1 องค์ความรเบื้องต้นเกี่ยวกับสัมมนา
บทที่ 2 องค์ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
บทที่ 3 องค์ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนา
บทที่ 4 วิธีการจัดสัมมนา
บทที่ 5 ตัวอย่างการเขียนโครงการจัดสัมมนา
อย่างไรก็ตาม การจัดการเรยนการสอนในรายวชา สัมมนาพระพุทธศาสนานนนสิต

ั้



จะต้องเรียนทั้งภาควิชาการ และ ภาคปฏิบัติ เพื่อใหเกิดความเข้าใจในกระบวนการและวธีการ






ึ่
จัดสัมมนาซงจะต้องมการประชุมเชิงปฏิบัติการโดยใหนสิตประชุมปรกษาหารอแล้วกําหนด
ประเด็นและเขียนโครงการจัดสัมมนาตามหลักการและทฤษฎีของการสัมมนาอย่างแท้จรง จึง





เห็นว่า รายวิชาสัมมนาพระพุทธศาสนานั้นเกิดคณคาอย่างยิ่งต่อนสิตสามรถนาไปประยุกต์กับ
การทํางานภายในองค์ของตนเองได้อย่างมีประสิทธิภาพ

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุรพงษ์ คงสัตย์
ผู้รับผิดชอบรายวิชาสัมมนาพระพุทธศาสนา
- มิถุนายน 2558
รายวิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา (602309) หลักสูตรพุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา 2

สารบัญ


หนา

คํานํา………………………………………………………………………………… 2

สารบัญ……………………………………………………………………………… 3

เอกสาร มคอ. 3 รายละเอียดวิชา………………………………………………….. 4

บทที่ 1 องค์ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสัมมนา………………………………………. 15

บทที่ 2 องค์ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา………..…………………………….. 31
บทที่ 3 องค์ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนา...………………………….. 42

บทที่ 4 วิธีการจัดสัมมนา…………………………………………………………… 87

บทที่ 5 ตัวอย่างการเขียนโครงการจัดสัมมนา..……………………………………. 103

บรรณานุกรม………………………………………………………………………… 134

รายวิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา (602309) หลักสูตรพุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา 3

รายละเอียด มคอ. 3

วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา ( 602 309 )

ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตนครราชสีมา

วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา บัณฑิตศึกษา หลักสูตรพุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา

หมวดที่ 1 ข้อมูลโดยทั่วไป

1. รหัสและชื่อรายวิชา

602 309 สัมมนาพระพุทธศาสนา (Seminar on Buddhism)

2. จ านวนหน่วยกิต

3 หน่วยกิต ( 3-0-6 )
3. หลักสูตรและประเภทของรายวิชา

พุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา

4. อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาและอาจารย์ผู้สอน

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุรพงษ์ คงสัตย์

และ ดร.ยุทธนา พูนเกิดมะเริง

5. ภาคการศึกษา / ชั้นปีที่เรียน
ภาคการศึกษาที่ 2 / ชั้นปีที่ 2

6. รายวิชาที่ต้องเรียนมาก่อน (Pre-requisite) (ถ้ามี)

ไม่ม ี
7. รายวิชาที่ต้องเรียนพรอมกัน (Co-requisites) (ถ้ามี)

ไม่ม ี

8. สถานที่เรยน

มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตนครราชสีมา

ั้
9. วันที่จัดท าหรอปรับปรุงรายละเอียดของรายวิชาครงล่าสุด

20 มิถุนาย 2558

รายวิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา (602309) หลักสูตรพุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา 4

หมวดที่ 2 จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์

๑. จุดมุ่งหมายของรายวิชา



เพื่อใหนิสตได้ศึกษา แนวคิด รูปแบบ กระบวนการ และวิธการสมมนา การฝึกอบรมทาง


พระพุทธศาสนา และการจัดการความรู้ในมิติต่างๆ โดยผ่านการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ
วัตถุประสงค์

หลังเรียนจบรายวิชานี้แล้ว นิสิต/ผู้เรียนสามารถ

1) มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับแนวคิด รูปแบบ กระบวนการและวิธีการสัมมนา การประชุมกลุ่มย่อย
2) มีความรู้ และสามารถด าเนินการจัดท าโครงการสัมมนา การฝึกอบรม งานวิจัยด้านการพัฒนาที่

เกี่ยวข้องกับกิจการทางพระพุทธศาสนา

3) รู้จักค้นคว้า วิเคราะห์ วิจัย และสามารถน าหลักการทางพระพุทธศาสนาและการจัดการความรู้ไป
ประยุกต์ใช้ในกิจการทางพระพุทธศาสนา

2. วัตถุประสงค์ในการการพัฒนา/ปรับปรุงรายวิชา

1) เพื่อให้นิสิตได้มีการจัดการความรู้ การสัมมนาทางพระพุทธศาสนา ตามขั้นตอนและ


กระบวนการสัมมนา ซึ่งจะท าใหนิสิตได้มีฐานความรู้ในการจัดการความรู้/ข้อมูล และการวิเคราะห์ประเด็น
ทางพระพุทธศาสนา

2) เพื่อพัฒนาและสงเสริมทักษะการจัดการประชุมสัมมนา การศึกษาอิสระ ที่เน้นการค้นหาข้อมูล

จากสภาพการณ์/บริบททางพระพุทธศาสนา

3) เพื่อพัฒนาระบบการเรียนการสอนผ่านการสัมมนาในรูปแบบต่างๆ

หมวดที่ 3 ลักษณะและการด าเนินการ

1. ค าอธิบายรายวิชา

ศึกษาการสัมมนาเชิงปฏิบัติการในงานวิจัยและวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนา ให้นิสิตร่วมกัน จัด

สัมมนาโดยน าประเด็นปัญหาที่น่าสนใจทางสังคมมาร่วมกันอภิปราย เสนอความคิดเห็น และวิเคราะห์หาทาง

ออกร่วมกัน พร้อมทั้งแนวทางการประยุกต์หลกพุทธธรรมเพื่อแก้ไขปัญหาสังคมในปัจจุบัน

รายวิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา (602309) หลักสูตรพุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา 5

2. จ านวนชั่วโมงที่ใช้ต่อภาคการศึกษา

บรรยาย สอนเสริม การฝึกปฏิบัติ/งาน การศึกษาด้วยตนเอง
ภาคสนาม/การฝึกงาน

บรรยาย 30 ชั่วโมงต่อภาค สอนเสริมตามความ มีการฝึกปฏิบัติงานโดย การศึกษาด้วยตนเอง
การศึกษา ต้องการของนิสิตเฉพาะราย การจัดสัมมนารายกลุ่ม 12 ชั่วโมงต่อสัปดาห ์

3. จ านวนชั่วโมงต่อสัปดาห์ที่อาจารย์ให้ค าปรึกษาและแนะน าทางวิชาการแก่นักศึกษาเป็นรายบุคคล

- อาจารย์ประจ ารายวิชา แจ้งการให้ค าปรึกษาผ่านทางโทรศัพท์ และทางเว็บไซต์ของคณะพุทธศาสตร์

และในระหว่างห้องเรียน

- อาจารย์จัดเวลาให้ค าปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือ รายกลุ่มตามความต้องการ 2 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ ณ ท ี่

ห้องพักคณาจารย์ใหกับนิสิตเฉพาะรายบุคลที่ต้องการค าปรึกษาในการจัดการสัมมนาของนิสิต/รายกลุ่ม

หมวดที่ 4 การพัฒนาการเรียนรของนักศึกษา
ู้

1. คุณธรรม จริยธรรม

1.1 คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา

พัฒนานิสิตให้มีคุณธรรม จริยธรรมในการค้นหาความรู้ การจัดการความรู้ การพัฒนาตนเองตามหลักการ

ื่


ทางพระพุทธศาสนา โดยใช้กระบวนการสมมนา การฝึกอบรม เพื่อใหสามารถด าเนินชีวิตร่วมกับผู้อนใน
สังคมอย่างเหมาะสม โดยมีคุณธรรม จริยธรรม ตามคุณสมบัติในรายวิชา ดังนี้
1) ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริตต่อประเด็นการสัมมนาในสังคม

2) มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม

3) มีสามารถท างานเป็นทีมและสามารถด าเนินการสัมมนาอย่างถูกต้องเหมาะสม


ื่
4) เคารพสทธและรับฟังความคิดเหนของผู้อน รวมทั้งเคารพในคุณค่าของจรรยาบรรณของนักจัดการ

ความรู้
5) เคารพกฎหมายระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม

1.2 วิธีการสอน

1) บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษาเกี่ยวกับการสัมมนาและประเด็นที่นักศึกษาด าเนินการสัมมนา
๒) อภิปรายกลุ่มในเชิงคุณธรรม จริยธรรมในประเด็นที่ศึกษา

๓) ก าหนดให้นิสิตพัฒนาเกณฑ์ชี้วัดระดับคุณธรรม จริยธรรมจากเรื่องที่ตนเองศึกษา

รายวิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา (602309) หลักสูตรพุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา 6

1.3 วิธีการประเมินผล

1) ประเมินผลจากการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรมในการค้นหาข้อมูล การอ้างอิงที่ถูกต้อง ซงแสดงถงการ

ึ่
ไม่ละเมิดลิขสิทธิ์ของผู้อื่น และการเคารพในการคิดค้นของผู้อื่น
2) ประเมินผลจากการเข้าชั้นเรียน การส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา

3) ระบบการติดตามประเมินผลของกลุ่ม เกี่ยวกับคุณธรรม จริยธรรม

๔) ประเมินผลการวิเคราะหจากกรณีที่ศึกษารายบุคคลและรายกลุ่ม

๕) ประเมินผลการน าเสนอรายงานที่มอบหมาย โดยเน้นการพัฒนาระดับคุณธรรม จริยธรรม

๖) กระบวนการค้นหา ข้อมูลและระบบอ้างอิงที่ถูกต้อง

2. ความรู้


2.1 ความรู้ที่ต้องได้รบ
นิสิตมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับแนวคิด รูปแบบ กระบวนการ และวิธีการสัมมนา การฝึกอบรม จาก



แนวคิดทฤษฎีต่างๆ และตามหลักการทางพระพุทธศาสนา เช่น หลกสาราณิยธรรม ไตรสกขา รวมทั้งความรู้
ด้านการจัดการประชุมกลุ่มย่อย การสัมมนา
2.2 วิธีการสอน

1) บรรยายโดยใช้อุปกรณ์มัลติมีเดีย (multimedia) power point
2) การน าเสนอแผนงาน โครงการสัมมนาของนิสิต

3) อภิปราย การท างานกลุ่ม การน าเสนอรายงาน การวิเคราะห์กรณีศึกษา

4) การมอบหมายให้ค้นคว้าหาบทความการสัมมนา ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง โดยน ามาสรุปและน าเสนอ
5) การศึกษาโดยใช้ปัญหาและโครงงาน Problem base learning โดยเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง

2.3 วิธีการประเมินผล

1) การทดสอบ-การประเมิน โครงการสัมมนา

2) การสอบปลายภาค

3) การน าเสนอข้อมูลและการสรุปจากการค้นคว้างานสัมมนาที่เกี่ยวข้อง

4) วิเคราะหกรณีศึกษาตามประเด็นการสัมมนา
3. ทักษะทางปัญญา

3.1 ทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา




พัฒนานิสตเพื่อใหสามารถความรอบรู้ในการค้นหาองค์ความรู้อย่างเป็นระบบ มีการคิดวิเคราะหที่
รอบคอบ เพื่อการแก้ไขปัญหาด้วยการสัมมนา และการจัดการความรู้ทางพระพุทธศาสนา

รายวิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา (602309) หลักสูตรพุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา 7

3.2 วิธีการสอน

1) การมอบหมายในการค้นหาความรู้ และน าเสนอผลการศึกษา

๒) การอภิปรายกลุ่ม
๓) การวิเคราะห์กรณีศึกษาเกี่ยวกับการจัดการความรู้และการสัมมนาทางพระพุทธศาสนา

๔) การวิเคราะห์เชิงปัญญาจากแบบประเมินการสัมมนา

3.3 วิธีการประเมินผล

1) การสอบปลายภาค

2) การพิจารณาจากโครงการสัมมนา
3) แบบประเมินเชิงพัฒนปัญญา

4) ระบบการจัดการความรู้และปัญญารายบุคคล

4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ

4.1 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา

มีการพัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียน-ครู อาจารย์ ผู้เข้าร่วมการสัมมนา ผู้น าการ

สัมมนา มีการพัฒนาความเป็นผู้น า วิทยากร และนักฝึกอบรมที่ดี และมีความรับผดชอบในงานที่
มอบหมายให้ครบถ้วนตามก าหนดเวลา

4.2 วิธีการสอน


1) จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะหกรณีศึกษาการสัมมนา
2) มอบหมายงานรายกลุ่ม และรายบุคคล หรือ อ่านบทความที่เกี่ยวข้องกับรายวิชาสัมมนา
3) การน าเสนอรายงาน

4) การศึกษา การเขียนบทความประกอบการสัมมนา

4.3 วิธีการประเมินผล

- ประเมินตนเอง และการประเมินจากผู้เข้าร่วมสัมมนา ด้วยแบบฟอร์มที่ก าหนด

- รายงานที่น าเสนอและพฤติกรรมการท างานเป็นทีม

- รายงานการศึกษา บทความการสัมมนา

รายวิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา (602309) หลักสูตรพุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา 8

5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

5.1 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่ต้องพัฒนา

พัฒนาทักษะในการสืบค้น ข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต การประยุกต์โปรแกรมสาเร็จรูปทางคอมพิวเตอร์ การ

ใช้สถิติอย่างง่าย เช่น ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยในการเขียนบทความการสมมนา และพัฒนาทักษะการใช้เทคโนโลยี



ื่

สารสนเทศในการสอสาร เช่น การสงงานทางอเมล การสร้างหองแสดงความคิดเหนในเรื่องต่างๆ รวมทั้ง


ทักษะในการน าเสนอรายงานการสัมมนา โดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.2 วิธีการสอน
1) มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จาก website สื่อการสอน e-learning





2) การท ารายงานบทความการสมมนา โดยเน้นการน าตัวเลขหรือมีสถติอางอง จากแหลงข้อมูลที่

น่าเชื่อถือ
3) น าเสนอโดยใช้อุปกรณ์มัลติมีเดีย (multimedia) และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.3 วิธีการประเมินผล

1) การจัดท ารายงาน และน าเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี

2) การมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการสัมมนา-การฝึกอบรม
3) การน าเสนอโดยใช้อุปกรณ์มัลติมีเดีย (multimedia)

4) การวิเคราะห์เชิงตัวเลขจากการรายงาน

หมวดที่ 5 แผนการสอนและการประเมินผล

1. แผนการสอน
สัปดาห์ หัวข้อ /รายละเอียด จ านวน กิจกรรมการเรียน ผู้สอน

ชั่วโมง การสอน/สื่อที่ใช้

1 บทนํา 3 -Power point ผศ.ดร.สุรพงษ์
-แจ้งรายละเอียดวิชา มคอ. 3 -เอกสารประกอบ คงสัตย ์

-วิธีการศึกษา -การสอบถาม ดร.ยุทธนา
-รูปแบบการสัมมนา -การตั้งคําถาม- พูนกิดมะเริง

-ด้านวิชาการ ตอบ
-ด้านปฏิบัติ -การเสวนาในห้อง

-การวัดผลประเมินผล

รายวิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา (602309) หลักสูตรพุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา 9

2-4 การสัมมนา 9 -Power point ผศ.ดร.สุรพงษ์
-แนวคิดและความสําคัญของการ -เอกสารประกอบ คงสัตย ์

สัมมนา -การสอบถาม ดร.ยุทธนา
-องค์ประกอบของการสัมมนา -การตั้งคําถาม- พูนกิดมะเริง

-รูปแบบ กระบวนการ และวิธีการ ตอบ
สัมมนา -การเสวนาในห้อง

-แนวคิดการจัดการความรู้ และการ
สัมมนา

5-6 องค์ความเกี่ยวกับศาสนา 6 -Power point ผศ.ดร.สุรพงษ์
-เอกสารประกอบ คงสัตย ์

-การสอบถาม ดร.ยุทธนา
-การตั้งคําถาม- พูนกิดมะเริง

ตอบ
-การเสวนาในห้อง

7-10 พระพุทธศาสนา 12 -Power point ผศ.ดร.สุรพงษ์
ปัญหาทางสังคมในมิติทาง -เอกสารประกอบ คงสัตย ์

พระพุทธศาสนา -การสอบถาม ดร.ยุทธนา
-การตั้งคําถาม- พูนกิดมะเริง

ตอบ
-การเสวนาในห้อง

11 การเขียนโครงการสัมมนา-การ 3 -Power point ผศ.ดร.สุรพงษ์
ฝึกอบรม -เอกสารประกอบ คงสัตย ์

-การสอบถาม ดร.ยุทธนา
-การตั้งคําถาม- พูนกิดมะเริง

ตอบ
-การเสวนาในห้อง

12 การวิเคราะห์และการเขียนโครงการ 3 -Power point ผศ.ดร.สุรพงษ์
สัมมนา -เอกสารประกอบ คงสัตย ์

-การสอบถาม ดร.ยุทธนา

-การตั้งคําถาม- พูนกิดมะเริง
ตอบ
-การเสวนาในห้อง

รายวิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา (602309) หลักสูตรพุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา 10

13-15 การสัมมนารายกลุ่ม 9 การจัดสัมมนากลุ่ม ผศ.ดร.สุรพงษ์
ในห้องเรียนและ คงสัตย ์

เสวนากลุ่ม ดร.ยุทธนา
พูนกิดมะเริง

16 จัดสัมมนาเชิงวิชาการด้าน 3 จัดสัมมนา ผศ.ดร.สุรพงษ์
พระพุทธศาสนา คงสัตย ์

ดร.ยุทธนา
พูนกิดมะเริง

17 การสอบปลายภาค / สรุปผลการ 3 สอบ ผศ.ดร.สุรพงษ์
สัมมนา คงสัตย ์

ดร.ยุทธนา
พูนกิดมะเริง

2. แผนการประเมินผลการเรียนร ู้

สัปดาห์ที่ สัดส่วนของการ
ที่ ผลการเรียนร* วิธีการประเมิน
ู้
ประเมิน ประเมินผล

1 5.1-5.5 สอบปลายภาค 16 30%

วิเคราะหกรณีศึกษา ค้นคว้า

การจัดสัมมนา
2 5.1-5.5 การท างานกลุ่มและผลงาน ตลอดภาค 50%

การอ่านและสรุปบทความ การศึกษา
การส่งงานตามที่มอบหมาย

การเข้าชั้นเรียน

การมีส่วนร่วม อภิปราย
เสนอความคิดเห็นในชั้น

เรียน ตลอดภาค
3 5.1-5.5 20%
การศึกษา

รายวิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา (602309) หลักสูตรพุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา 11

หมวดที่ 6 ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน

1. เอกสารและต าราหลัก

กุลธร ธนาพงศธรและไตรรัตน์ โภคพลาภรณ์ การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในองค์การโดย

การฝึกอบรม เอกสารอบรมชุดวิชาการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในองค์กร หน่วยที่ 8

พิมพ์ครั้งที่ 5 นนทบุรี ส านักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช 2537.
ขจรศักดิ์ หาญณรงค์ “กระบวนการฝึกอบรม” คู่มือการปฏิบัติงานหัวหน้าฝ่ายพัฒนา

บุคลากร ส านักงานคณะกรรมการการประศึกษาแห่งชาติ กรุงเทพมหานคร

โรงพิมพ์องค์การค้า คุรุสภา ลาดพร้าว, 2544
ชัชชัย คุ้มทวีพร. จริยศาสตร์ : ทฤษฎีและการวิเคราะห์ปัญหาจริยธรรม.

กรุงเทพมหานคร : mind, 2540.

ชัยวัฒน์ ถิระพันธุ์. ทฤษฎีไร้ระเบียบ (Chaos Theory) กับทางแพร่งของสังคม

สยาม. กรุงเทพมหานคร : มูลนิธิภูมิปัญญา, 2537.

ไชยรัตน์ เจริญสินโอฬาร. วาทกรรมการพัฒนา. กรุงเทพมหานคร : ศูนย์วิจัยและผลิตต ารา
มหาวิทยาลัยเกริก, 2543.

เนื่องน้อย บุญยเนต. จริยศาสตร์สภาวะแวดล้อม : โลกทัศน์ในพุทธปรัชญาและ

ปรัชญาตะวันตก. กรุงเทพมหานคร ส านักพิมพ์จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย, 2537.
ธีรยุทธ บุญมี. โลก Modern & Post Modern. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพมหานคร :

สายธาร, 2542.


ประพนธ ผาสุขยืด. อิสรภาพ (Freedom). กรุงเทพมหานคร : ส านักพิมพ์ใยไหม, 2548.

ประเวศ วะส. บรรณาธิการ. ธรรมชาติของสรรพสิ่ง การเข้าถึงความจริงทั้งหมด.
กรุงเทพมหานคร : มูลนิธิสดศรี-สฤษดิ์วงษ์, 2547.
ประสาน ต่างใจ.มนุษย์กับความคด. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพมหานคร : บริษัทอมรินทร์

พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่งจ ากัด (มหาชน), 2543.

พวงรัตน์ ทวีรัตน์. การวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์. กรุงเทพมหานคร :
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 2543.

พระธรรมปิฎก(ป.อ.ปยุตฺโต). นิติศาสตร์แนวพุทธ. กรุงเทพมหานคร : บริษัทสหธรรมิก

จ ากัด, 2539.

. การพัฒนาที่ยั่งยืน. กรุงเทพมหานคร : พิมพ์ครั้งที่ 3, มูลนิธิพุทธธรรม, 2543.

รายวิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา (602309) หลักสูตรพุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา 12

พระเทวินทร์ เทวินฺโท. พุทธจริยศาสตร์.กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราช
วิทยาลัย, 2544.

ยุค ศรีอารยะ. ภูมิปัญญาบูรณาการ. กรุงเทพฯ: บริษัทอมรินทร์บุ๊คเซ็นเตอร์ จ ากัด.

2542.
ยอร์จ เอ มิลเลอร์ , ปรมะ สตะเวทิน หลักและทฤษฎีทางสื่อสาร กรุงเทพมหานคร

สาขานิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมธิราช,2529.

เริงลักษณ์ โรจนพันธ เทคนิคการฝึกอบรม กรุงเทพมหานคร ภาควิชาเทคโนโลยีทาง

การศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร, 2539.
สมภาร พรมทา. พุทธปรัชญา : มนุษย์ สังคม และปัญหาจริยธรรม. กรุงเทพมหานคร :


โครงการต าราคณะอกษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย, 2542.
ุ์
อานันท์ กาญจนพันธ. ความคิดทางประวัติศาสตร์และศาสตร์ของวิธีคิด.
กรุงเทพมหานคร : ส านักพิมพ์อัมรินทร์, 2543.


2. เอกสารและข้อมูลส าคญ
http://www.google.co.th/ แล้วคลิกไปที่เว็บต่างๆ เช่น wikipedia เป็นต้น

3. เอกสารและข้อมูลแนะน า
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา เช่น wikipedia ค าอธิบายศัพท์

เว็บไซต์เกี่ยวกับการสัมมนา และการจัดการความรู้

หมวดที่ 7 การประเมินและปรับปรุงการด าเนินการของรายวิชา

1. กลยุทธ์การประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา

การประเมินประสิทธิผลในรายวิชานี้ ที่จัดท าโดยนิสต ได้จัดกิจกรรมในการน าแนวคิดและความเหนจาก


นักศึกษาได้ดังนี้
- การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอน ผู้เรียน ผู้เข้าร่วมสัมมนา

- การสังเกตการณ์จากพฤติกรรมของผู้เรียน และการจัดการประชุมสัมมนา
- แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา

- ข้อเสนอแนะผ่านทางอีเมลที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดท าเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา

รายวิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา (602309) หลักสูตรพุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา 13

2. กลยุทธ์การประเมินการสอน

ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
- การสังเกตการณ์สอน
- ผลการทดสอบ

- การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
3. การปรับปรุงการสอน

หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง
และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้

- สัมมนาการจัดการเรียนการสอน

- การวิจัยในและนอกชั้นเรียน

- ศึกษาดูงานนอกสถานที่
4. การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา

ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้

ในวิชา ได้จาก การสอบถามนิสิต หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบย่อย และ
หลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้

- การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ

- มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนิสต โดยตรวจสอบ

ข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม

5. การด าเนินการทบทวนและการวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา

ิ์

จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสมฤทธประสทธผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอน


และรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
- ปรับปรุงรายวิชาทุก 5 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
- เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มา

จากงานวิจัยของอาจารย์หรือแนวคิดใหม่ๆ

ลงชื่อ ..................ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สุรพงษ์ คงสัตย์...............

ลงชื่อ............ดร.ยุทธนา พูนเกิดมะเริง ............................................

ผู้รับผิดชอบรายวิชา

รายวิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา (602309) หลักสูตรพุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา 14

ี่
บทท 1
องค์ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการสัมมนา

1.1 ความหมายของค าว่า สัมมนา
1
คําว่า ‚สัมมนา‛ ได้มีผู้ให้ความหมายไว้หลายทัศนะ ได้แก่...







คณะกรรมการบัญญัติศพท์ของกรมสามญศกษา (วสามญศกษา) เดิ ม





กระทรวงศกษาธิการได้ใหความหมายของคาวา ‚สัมมนา‛ มาจากคาวา สํา + มน หรอ สํา +






มนา เท่ากับ สัมมนา ซึ่งแปลว่า การรวมใจกัน การประชุมรวมกัน เพื่อขบคดปัญหาโดยอาศย
การค้นคว้าเป็นหลักฐาน
จากความหมายของคาวา ‚สัมมนา‛ ดังกล่าวข้างต้น อาจกล่าวได้วา ลักษณะของการ



สัมมนาเป็นกิจกรรมที่แบ่งออกเป็น 2 วิธี คือการประชุม และวธีการสอน ทั้งสองวธีนคล้ายคลึง


ี้

ึ่

กัน ซงต่างก็มเป้าหมายหลักที่มลักษณะเป็นการประชุม โดยมรปแบบของการกิจกรรมที่


ยืดหยุ่น เหมาะสมกับสถานการณ์ และวตถุประสงค เป็นกระบวนการกลุ่ม รวมผู้สนใจที่ม ี






ู้

ความรทางวชาการใกล้เคยงกัน มาแสดงความคดเหน อภิปราย ถกเถียง โต้ตอบพูดคย
ปฏิสัมพันธ์ ซึ่งกันและกัน สรางสรรคทัศนะใหมๆ อันจะสามารถนาแนวความคดนนๆไปใช้ให ้

ั้




เกิดประโยชน์ได้

1.2 จุดมุ่งหมายของ “การสัมมนา”
เพื่อให้การสัมมนาได้บรรลุผลตามความต้องการในทางธุรกิจหรือการเรียนการสอน ใน
ุ่
การสัมมนาจึงมีความมงหมายเพื่อ...

(1). อบรม ฝึกฝน ชี้แจง แนะนํา สั่งสอน ปลูกฝังทัศนะคติและใหคําปรึกษา ในเรื่องที่
เกี่ยวข้อง
(2). พิจารณา สํารวจ ตรวจสอบปัญหา หรือประเด็นต่างๆ ที่หยิบยกขึ้นมา เพื่อทําความ
ู้
เข้าใจในเรื่องที่ต้องการร

(3). เสนอสาระน่ารู้ นาสนใจ ที่ทันสมัย และเหมาะสมกับสถานการณ์
(4). แสวงหาข้อตกลง ด้วยวิธีการอภิปราย แลกเปลี่ยนความคิดเห็นอย่างเสรี ซัก-ถาม
ถกเถียง ปรึกษาหารือ ภายใต้หัวข้อที่กําหนด
(5). การตัดสินใจหรือกําหนดนโยบาย หรือแนวทางสําหรับนําไปปฏิบัติ

1
https://www.google.co.th, 16 มิถุนายน 2558.
รายวิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา (602309) หลักสูตรพุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา 15

(6). ให้ได้ข้อสรุปผลของการนําเสนอหัวข้อ หรือการวิจัย

1.3 องค์ประกอบของการสัมมนา
ดังที่ได้กล่าวมาแล้วว่า ‚การสัมมนา‛ เป็นวิธีการประชุมและการสอนรูปแบบหนง ที่ม ี
ึ่
กลุ่มบุคคลมาร่วมแสดงความคิดเห็น โดยใช้หลักการ เหตุผล ประสบการณ์และความรู้ นํามา

ั้
เสนอแนะ แลกเปลี่ยน เพื่อประโยชน์ร่วมกัน ในการแก้ปัญหานนๆ ให้สําเร็จลุล่วงไปด้วยดี
หรือนําแนวทางที่ได้จากการสัมมนาไปปรับปรุง แก้ไข และพัฒนาการดําเนินงานการสัมมนาม ี

องค์ประกอบ ดังต่อไปนี้...
1.องค์ประกอบด้านเนื้อหา

2.องค์ประกอบด้านบุคลากร

3.องค์ประกอบด้านสถานที่ เครื่องมือ และอุปกรณ์ต่างๆ

4.องค์ประกอบด้านเวลา

5.องค์ประกอบด้านงบประมาณ

ข้ออธิบายเพิ่มเติมแต่ละประเดน
1. องค์ประกอบด้านเนื้อหา ได้แก่สาระหรือเรื่องราวที่จะนํามาจัดสัมมนาประกอบด้วย..

1.1 จุดมุ่งหมายของการจัดสัมมนา จําเป็นที่จะต้องมีหรือเขียนจุดมุ่งหมายของ

การจัดสัมมนาไว้ให้ชัดเจน เพื่อคณะกรรมการผู้ดําเนินการจัดสัมมนา ผู้เข้าร่วมสัมมนา

วิทยากร และบุคคลอื่นๆที่เกี่ยวข้อง จะได้เข้าใจและดําเนินการสัมมนาให้เป็นไปตาม

จุดมุ่งหมายที่วางไว้ การเขียนจุดมุ่งหมายจึงมักจะกําหนดเพื่อให้ได้เรื่องราวหรือสาระอย่างใด

อย่างหนึ่ง เช่น
-เพื่อกําหนดและสํารวจปัญหาเรื่องใดเรื่องหนึ่ง

ึ่
-เพื่อให้ได้แนวทางในการแก้ปัญหาเรื่องใดเรื่องหนง
-เพื่อศึกษาค้นคว้าวิจัยที่จําเป็นระหว่างสมาชิก

-เพื่อแลกเปลี่ยนผลงานค้นคว้าวิจัยระหว่างสมาชิก


-เพื่อร่วมกันพิจารณา หาข้อสรุปจากผลงานค้นควาวิจัยนั้น
1.2 เรื่องที่จะนํามาจัดสัมมนา ผู้จัดสัมมนาควรจะได้ใช้ดุลยพินิจ พิจารณาให้ดีว่า

จะเลือกเรื่องอะไรที่จะนํามาจัดสัมมนา จึงจะได้ประโยชน์ คุ้มค่าสิ่งที่ควรคํานึงถึงในการ

พิจารณาเกี่ยวกับ ‚เรื่อง‛ เพื่อใช้ในการจัดสัมมนา ได้แก่

- ควรเป็นเรื่องที่ต้องการศึกษาปัญหาและแนวทางแก้ไข ที่เกี่ยวข้องกับ

งานหรือเรื่องที่กําลังศึกษาอยู่
- มีความทันสมัยสอดคล้องกับสภาวะของสังคม

รายวิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา (602309) หลักสูตรพุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา 16

- สามารถกําหนดปัญหาได้

- เป็นเรื่องที่ไม่กว้างหรือแคบจนเกินไป ควรเป็นเรองที่มีขอบเขตเฉพาะ
ื่
จะสามารถกําหนดปัญหา และแนวทางการดําเนินการจัดสัมมนาได้ชัดเจน

- ‚ชื่อเรื่อง‛ เมื่อได้แนวปัญหาของเรื่องที่จะสัมมนาแล้ว ก็ควรกําหนดชื่อ

เรื่อง ควรเป็นชื่อที่มีลักษณะสั้น กะทัดรัด มีความกระชับ เข้าใจง่าย ชัดเจนและตรงความหมาย

ถ้าหากเป็นการสอนสัมมนา ผู้เข้าร่วมสัมมนาต้องช่วยกันคิด ในการเลือกเรื่องที่จะนํามาสัมมนา

ควรเป็นเรื่องที่เป็นปัญหาที่เกี่ยวข้อง หรือเป็นเรื่องที่ต้องการศึกษาอย่าให้แคบหรือกว้างเกินไป
1.3 หัวข้อเรื่อง เมื่อได้ชื่อเรื่องมาแล้ว ควรกําหนดหัวข้อเรื่อง เกี่ยวกับความรู้

หรือเรื่องราวต่างๆที่สัมพันธ์กับเรื่องที่จัดสัมมนา เพื่อจะได้เห็นทิศทางของปัญหาได้และยังเป็น

กรอบของแนวความคิดของเรื่องที่สัมมนา ให้มีขอบเขตมากขึ้น นอกจากนี้ยังสามารถกําหนด

แนวทางการดําเนินการจัดสัมมนา ได้ชัดเจนและยังเป็นแนวทางในการคิดหาหนทางต่อไปอีก

ู้
ว่าผู้เข้าร่วมสัมมนา จะได้อะไรจากการจัดสัมมนา มีแนวทางของความรหรือเทคนิคอะไรบ้าง

ทั้งยังมีผลต่อไปถึงการจัดหา หรือเชิญวิทยากรที่มความรู้ความสามารถ และประสบการณ์
โดยเฉพาะมาบรรยาย อภิปราย

1.4 กําหนดการสัมมนา นับเป็นเรื่องที่จําเป็นที่ผู้จัดสัมมนาควรจะได้วางแผน

กําหนดและจัดทํา กําหนดการสัมมนาควรระบุ...

- ชื่อหน่วยงาน หรือกลุ่มบุคคล ผู้ดําเนินการจัดสัมมนา
- ชื่อเรื่องสัมมนา

- วัน เดือน ปี (ที่จัดสัมมนา)

- เวลา

- สถานที่

1.5 ผลที่ได้จากการสัมมนา เป็นเรื่องที่ผู้จัดสัมมนาคาดหวังว่า ผู้เข้าร่วมสัมมนา
ได้รับประโยชน์อย่างไรบ้าง อาจเป็นทั้งเชิงปริมาณและคุณภาพ

2. องค์ประกอบด้านบุคคลกร หมายถึงบุคคลที่เกี่ยวข้องกับการจัดสัมมนา

2.1 บุคลากรฝ่ายจัดการสัมมนา ได้แก่ บุคคลหรือคณะกรรมการที่มีหน้าที่ในการ

จัดสัมมนา ให้บรรลุวัตถุประสงค์ที่วางไว้ ได้แก่

- ประธาน และรองประธาน
- เลขานุการ และผู้ช่วยเลขานุการ

- กรรมการฝ่ายทะเบียน

รายวิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา (602309) หลักสูตรพุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา 17

- กรรมการฝ่ายเอกสาร

- เหรัญญิก และผู้ช่วยเหรัญญิก
- ฝ่ายพิธีกร

- ฝ่ายสถานที่ และวัสดุอุปกรณ์

- ฝ่ายอาหาร และเครื่องดื่ม

- ฝ่ายประชาสัมพันธ์

- ฝ่ายปฏิคม
- ฝ่ายรักษาพยาบาล

- ฝ่ายประเมินผล

- ที่ปรึกษา


2.2 วิทยากร หมายถึง บุคคลที่ทําหนาที่บรรยาย อภิปรายหรอถ่ายทอดความรู้




ประสบการณ์ โดยใช้เทคนิควธี รวมทั้งสื่อต่างๆใหแก่ผู้เข้ารวมสัมมนาด้วยความจรงใจ ดังนน

ั้


วิทยากรจึงเป็นบุคคลที่มีความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์ หรอมความเชี่ยวชาญเฉพาะ
ทาง

2.3 ผู้เข้ารวมสัมมนา เป็นผู้ที่มความสนใจในปัญหาหรอประสบปัญหา หรอ



ุ่
ต้องการแสวงหาแนวคิดใหม่ๆหรือมีความมงหมายที่จะแลกเปลี่ยนประสบการณ์ ความคดเหน


ทัศนคติ ตลอดจนการถ่ายทอดความรู้ความสามารถซึ่งกันและกัน

3. องค์ประกอบด้านสถานที่ เครื่องมือ และอุปกรณ์ต่างๆ
3.1 ห้องประชุมใหญ่ ต้องกําหนดที่นั่งได้ว่า สามารถบรรจุผู้เข้าร่วมประชุมได้

ทั้งหมดจํานวนกี่ที่นั่ง

3.2 ห้องประชุมย่อย ควรอยู่ใกล้กัน หรือในบริเวณเดียวกันกับห้องประชุมใหญ่
3.3 ห้องรับรอง เป็นห้องที่ใช้สําหรับรับรองวิทยากร แขกพิเศษ เพื่อให้ได้

พักผ่อนหรือเตรียมตัวก่อนการสัมมนา

3.4 ห้องรับประทานอาหารว่าง

3.5 ห้องรับประทานอาหาร

ื่
3.6 อุปกรณ์ด้านโสตทัศนูปกรณ์ ได้แก่ ไมโครโฟนชนดติดตั้งและติดตัว เครอง

ื่


ขยายเสียง เครื่องฉายภาพข้ามศรีษะ เครื่อง ว.ดี.ทัศน และอุปกรณ์ด้านแสง เสียงอื่นๆ เครอง
ฉายสไลด์ จอภาพ กล้องถ่ายรูป ฯลฯ เป็นต้น

รายวิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา (602309) หลักสูตรพุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา 18


ื่
ื่

3.7 อุปกรณ์เครองมอประเภท เครองคอมพิวเตอร เครองพิมพ์ดีด เครองถ่าย
ื่
ื่


ื่
เอกสาร เครองถอดเทป และวสดุอื่นๆ ที่จะเป็นในการจัดทําเอกสารประกอบคาบรรยาย
เอกสารสรุปผลการจัดสัมมนา ตลอดจนเอกสารและแบบฟอร์มอื่นๆ ที่จําเป็นในการสัมมนา
3.8 อุปกรณ์ด้านเครื่องเขียน เครื่องเขียนที่จําเป็นต้องใช้ในงานสัมมนา

4. องค์ประกอบด้านเวลา ควรวางแผนให้ดีวาควรจะใช้วัน เวลาใด จัดการสัมมนา จึงจะ

ี้
เหมาะสม เพื่อให้เกิดความสะดวกแก่ทุกฝ่าย จึงควรคํานึงถึงในเรื่องต่อไปน
4.1 ระยะเวลาสําหรับเตรียมการ

4.2 การเชิญวิทยากร เป็นเรื่องสําคัญมากเรื่องหนงที่ผู้จัดสัมมนาควรจะวางแผน
ึ่
ให้ดี เพราะวิทยากรบางคน เป็นผู้มีชื่อเสียงมากมักจะไม่ค่อยว่าง บางคนต้องจองตัวล่วงหน้า

เป็นปี บางคนต้องใช้เวลากว่า 1,2,3 หรือ 4 เดือน ในบางครั้งถึงกับต้องเลื่อนวันจัดสัมมนา

ออกไป เพื่อจะให้ตรงกับวันที่วิทยากรว่าง
4.3 เวลาที่ใช้ในการสัมมนา ขึ้นอยู่กับ ‚เรื่องที่สัมมนา‛ และ ‚หัวข้อเรื่องที่เกี่ยว

กข้องกับเรื่องที่สัมมนา‛ ว่ามีขอบเขตกว้างมากน้อยเพียงใด

5. องค์ประกอบด้านงบประมาณ ในการดําเนินงานจัดสัมมนา ย่อมมีค่าใช้จ่ายในการ

ดําเนินงาน คณะผู้ดําเนินงานจัดสัมมนา จะต้องวางแผนค่าใช้จ่ายให้ดี ด้วยความรอบคอบ
เพื่อให้การประมาณค่าใช้จ่ายทั้งหมดของงานอยู่ในภาวะเพียงพอ ไม่ขาดหรือการจัด

งบประมาณมากเกินไป ทําให้เงินเหลือมาก ‚การจัดทํางบประมาณ‛ ได้แก่

5.1 ให้แต่ละฝ่ายที่ทําหน้าที่รับผิดชอบทํางาน จัดทํางบประมาณการค่าใช้จ่ายที่

ต้องใช้จ่ายทั้งหมดของฝ่ายตนเองออกมาในรูปของบัญชีค่าใช้จ่าย นําเสนอให้กับฝ่ายเหรัญญิก


และที่ประชุมเพื่อพิจารณาถึงความเหมาะสมสําหรบค่าใช้จ่ายแต่ละรายการของแต่ละฝ่าย
ก่อนที่จะอนุมัติ

5.2 ค่าใช้จ่ายต่างๆที่เกี่ยวกับวัสดุอุปกรณ์ที่จําเป็นต้องจัดซื้อ ควรจะได้ม ี

รายการราคาตามที่ตลาดขาย ทั้งนี้เพื่อการประมาณค่าใช้จ่ายจะได้ผิดพลาดน้อย

5.3 เมื่อการวางแผนเกี่ยวกับค่าใช้จ่าย ของแต่ละฝ่ายได้รับความเห็นชอบ จากที่

ประชุม ก็ให้จัดทํางบประมาณรวมทั้งโครงการ แล้วนําไปใส่ในโครงการ เพื่อเสนอฝ่ายบริหาร

อนุมัติ

รายวิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา (602309) หลักสูตรพุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา 19

ตัวอย่าง

การวางแผนงบประมาณค่าใช้จ่ายในการด าเนนงานของฝ่ายสวัสดิการ


ค่าใช้จ่ายในการดาเนนการของฝ่ายสวัสดิการ

ค่าอาหารกลางวัน@75 บาท จ านวน 400 คน 30,000.-บาท

ค่าของว่าง@30 บาท จ านวน 400 คน 2 ครั้ง 24,000.-บาท

ค่าดอกไม้ 5 ที่ๆ ละ 700 บาท 3,500.-บาท

ค่ารถ 1,500.-บาท

เบ็ดเตลด 5,900.-บาท

รวม 64,900.-บาท

ตัวอย่าง


การวางแผนงบประมาณค่าใช้จ่ายในการด าเนนงานทั้งหมดของการจัดสัมมนาซึ่งจะ
น าไปไว้ในโครงการ เพื่อพิจารณาอนุมัติ

งบประมาณ

ค่าใช้จ่ายของ....

ฝ่ายสวัสดิการ 59,000.-บาท

ฝ่ายเลขานุการ 3,000.-บาท

ฝ่ายเหรัญญิก 1,000.-บาท
ฝ่ายประชาสัมพันธ์ 5,000.-บาท

ฝ่ายทะเบียน 7,000.-บาท
ฝ่ายเอกสาร 40,000.-บาท

ฝ่ายสถานท 7,000.-บาท
ี่

เบ็ดเตลด 12,200.-บาท
รวม 134,200.-บาท

ข้อสังเกต

ในการวางแผนงบประมาณค่าใช้จ่ายของการจัดสัมมนาทั้งหมด ควรดําเนนการดังน
ี้

1.จัดประชุม จัดทําแผนงบประมาณค่าใช้จ่ายของฝ่ายตนขึ้นมา เพื่อพิจารณาอนุมัติ

2.เมื่องบประมาณของแต่ละฝ่ายได้รับการอนุมัติแล้ว จะต้องนํางบประมาณค่าใช้จ่าย

ของแต่ละฝ่ายมาใส่ในโครงการ ให้แยกค่าใช้จ่ายที่คาดว่าจะเพิ่มขึ้นของแต่ละฝ่าย

รายวิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา (602309) หลักสูตรพุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา 20

3.อาจแนบรายละเอียดค่าใช้จ่ายโดยรายละเอียด ส่งโครงการเพื่อให้ฝ่ายบริหาร

พิจารณาอนุมัติ
4.ในกรณีที่แต่ละฝ่ายต้องการเบิกเงินจากเหรัญญิก เพื่อนําไปใช้จ่ายในฝ่ายของตน

เหรัญญิกต้องทําบัญชีรายรับ-รายจ่าย

5.เอกสารทุกฉบับ ควรมี ‚สําเนา‛ คู่ฉบับด้วย เพื่อเก็บไว้เป็นหลักฐาน

5.4 การสรรหางบประมาณ เพื่อใช้จ่ายในการดําเนนการสัมมนา อาจสรรหาได้

โดย - หน่วยงาน หรือองค์การธุรกิจได้มีการจัดสรรงบประมาณเพื่อการนี้ขึ้นมา โดยเฉพาะทั้งนี้

โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อพัฒนาบุคลากรของหนวยงานหรือองค์การธุรกิจ

1.4 ขั้นตอนและลักษณะการสัมมนา

1.4.1 ขั้นตอนของการสัมมนา http://edu.msu.ac.th/seminar คือ

(1). นําหัวข้อเรื่องมาสัมมนา

(2). ประชุมแบบบรรยาย หรืออภิปราย

(3). แบ่งกลุ่มย่อย ร่วมกันอภิปราย

(4). ประเมินผลการจัดสัมมนา

(5). สรุปรายงานผล
1.4.2. ลักษณะทั่วไปของการสัมมนา http://edu.msu.ac.th/seminar คือ

(1). คล้ายกับการประชุม

(2). มีการยืดหยุ่นตามความเหมาะสม

ู้
(3). เป็นองค์ความรและปัญหาทางวิชาการ

(4). เป็นกระบวนการรวมผู้ที่สนใจในความรู้ทางวชาการที่มีระดับใกล้เคียงกัน

หรือแตกต่างกัน มาสร้างสรรค์องคความรู้ใหม่
(5). เป็นกิจกรรมที่เร่งเร้าให้ผู้เข้าร่วมสัมมนา มีความกระตือรือร้น

(6). จะอาศัยหลักกระบวนการกลุ่ม ( Group Dynamic หรือ Group Process)

(7). มีโอกาสพูดคุย โต้ตอบซักถาม แสดงความคิดเห็นต่อกันทุกคน

(8). มีผลประโยชน์ร่วมกันในระดับนานาชาติ
(9). ฝึกการเป็นผู้นําและผู้ตาม ในกระบวนการเรียนรู้แบบ Learning by doing

และ Individual learning

(10). ได้พัฒนาทักษะการพูด การฟัง การคิด และการนําเสนอ ความเชื่อ

ความคิดและความรู้อื่น ๆ ตลอดจนการเขียนรายงาน เป็นต้น

รายวิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา (602309) หลักสูตรพุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา 21

(11). เล็งถึงกระบวนการที่จะได้รับมากกว่าผลที่จะได้รับจากการสัมมนา

1.5 ลักษณะของการสัมมนาที่ด

2
ได้มีผู้รู้กล่าวถึงลักษณะของการสัมมนาที่ดีไว้ดังน
ี้
สมพร ปันตระสูตร (2525 : 3) ได้กล่าวถึงลักษณะของการสัมมานาที่ดีไว ้

ดังน ี้


1. กําหนดจุดมุ่งหมายในการสัมมนาใหแน่ชัดว่าต้องการจะได้ผลอย่างไรในการ
สัมมนาครั้งน ี้

ู้
2. จัดการสัมมนาเพื่อเสริมความรและประสบการณ์ใหม่แก่สัมมนาสมาชิก
3. จัดให้มีโอกาสสัมมนาสมาชิกได้แลกเปลี่ยนความรู้ความคิดเห็นและ
แลกเปลี่ยนประสบการณ์กันอย่างกว้างขว้าง

4. ให้สมาชิกได้มีโอกาสร่วมกันแก้ปัญหาที่มีมาก่อนการสัมมนา หรือปัญหาที่

เกิดขึ้นระหว่างการสัมมนาให้มากที่สุด

5. มีอุปกรณ์ในกี่สัมมาเพียบพร้อม เช่น หนังสือ เอกสาร สถานที่ วิทยาการ

เครื่องมือโสตทัศนูปกรณ์ เครื่องเขียนและอื่นๆที่จําเป็น

6. กําหนดช่วงเวลาในการสัมมนาให้เหมาะสมกับหัวข้อปัญหาที่จัดสัมมนา
7. สัมมนาสมาชิกมีบุคลิกภาพทางประชาธิปไตยสูง กล่าวคือสมาชิกต้องใจ

กว้างที่จะรับฟังเหตุและผลของผู้เข้าร่วมสัมมนาอื่นอย่างกว้างขวาง แม้ไม่ตรงกับความคิดเห็น

ของตน

8. ผู้ดําเนินการจัดการสัมมนามคุณภาพ มีความเป็นผู้นํา และสันทัดจัดเจน

ในการจัดการสัมมนา
9. ผลที่ได้รับจากกาจัดการสัมมนาสามารถนําไปเป็นแนวทางทําประโยชน์ได้

อย่างแท้จริง อย่างน้อยก็ต้องสมารถคลี่คลายปัญหาที่นําเข้าสู่การสัมมนาได้

10. มีการเผยแพร่ผลลการสัมมนาสู่สาธารณชนตามควรแก่กรณี

นิรันดร์ จุลทรัพย์ (2524 : 280 – 281) กล่าวว่าการสัมมนาที่ดีควรม ี

ลักษณะดังนี้คือ
1. มีจุดมุ่งหมายในการจัดสัมมนาอย่างชัดเจน และสมาชิกทุกคนทั้ง

คณะกรรมการจัดสัมมนา ผู้เข้าสัมมนา ตลอดจนวิทยาการ ควรจะได้รับทราบจุดมุ่งหมายน ี้

ด้วย

2
https://www.gotoknow.org/posts/173831, 20 มิถุนายน 2558.
รายวิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา (602309) หลักสูตรพุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา 22

2. มีกาจัดที่ช่วยเสริมความรู้ใหแก่ผู้เข้าร่วมสัมมนาอย่างแท้จริง

3. มีการเปิดโอกาสให้ผู้เข้าสัมมนาได้แลกเปลี่ยนความคิดเห็นและความรซึ่งกัน
ู้
และกัน

4. มรการเปิดโอกาสให้ผู้เข้าสัมมนาได้ร่วมกันแก้ปัญหาที่มีการสอดคล้องกับ

จุดมุ่งหมายที่กําหนดให ้

5. ผู้เข้าสัมมนามีความศรัทธาในวิธีการแห่งปัญญาเป็นเครื่องมือในการตัดสิน

ปัญหาต่างๆ (Intellectual Method)

6. ผู้เข้าสัมมนามีวญญาณแห่งความเป็นประชาธิปไตย กล่าวคือ เคารพและ
ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น มีมารยาทในการพูดและการฟัง ปฏิบัติตามกติกาของการ

สัมมนาเป็นต้น

7. ผู้เข้าสัมมนาทุกคนมีความกระตือรือร้นที่จะทํางานรวมกัน เพื่อให้บรรลุตาม

จุดมงหมายที่วางไว ้
ุ่
8. มีผู้นําที่ดีทั่งในการเตรียมการและการดําเนินการสัมมนา

9. มีการจัดการที่ดี คือ จัดผู้บรรยายหรือผู้อภิปรายที่น่าสนใจ ดําเนินรายการ


ต่างๆ เป็นไปตามกําหนดการอย่างต่อเนื่อง ไม่ติดขัด สับสน ผู้เข้าสัมมนาได้รับการต้อนรบ
อย่างอบอุ่น ตลอดจนได้รับการประชาสัมพันธ์ชี้แจงรายละเอียด กระบวนการต่างๆ ตลอด

การสัมมนาอย่างชัดเจน
10. มีอุปกรณ์สําคัญสําหรับใช้ประกอบสัมมนา และอํานวยความสะดวกต่อการ

สัมมนาอย่างครบถ้วน เช่น หนังสือหรือเอกสารต่างๆ อุปกรณ์การเขียน เครองมืออุปกรณ์
ื่
โสตทัศนูปกรณ์ สถานที่ห้องประชุมใหญ่ ห้องประชมกลุ่มย่อย ห้องรับประทานอาหาร เป็น

ต้น

11. ผลที่ได้จาการสัมมนา สามารถนําไปใช้ประโยชน์ได้อย่างแท้จริง ทั้งแก่ตัว
สมาชิกเองและแก่หน่วยงานหรือสถาบันที่เกี่ยวข้อง

1.6 หลักการและแนวคิดในการจัดสัมมนา

ลักษณะการสัมมนาเท่าที่ผมเคยสัมผัส มีไม่น้อยที่ไม่มประสิทธิภาพ ไมก่อเกิดมรรคผล


ที่คุ้มค่ากับเงินที่เสียไป ดังนั้น หลักการและแนวคิดในการจัดสัมมนา คือ ....
การสัมมนา เป็นกระบวนการประชุมกลุ่มบุคคลที่เป็นที่นยมจัดกันมากในสังคมไทย

ไม่ว่าจะเป็นหน่วยงานของรัฐหรือเอกชน โดยหลักการแล้วเป็นการระดมความคดเพื่อการแก้ไข

ื่

ปัญหา หรอการพัฒนา แลกเปลี่ยนเรยนรระหวางกลุ่มคนที่มความสนใจในเรองเดียวกัน หรอ

ู้



รายวิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา (602309) หลักสูตรพุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา 23





ตกอยู่ในภาวะปัญหา หวอกเดียวกัน โดยมากมกนยมจัดกันตามโรงแรมใหญ่ๆ หรหรา หรอ

สถานที่ตากอากาศที่มีบรรยากาศดี เพื่อให้เกิดความคิดที่โปร่ง แล่นสามารถพูดคุยกันได้โดยไม ่
ต้องพะวงเรื่องอื่นๆ บางทีสัมมนาเสรจก็พักผ่อนกันไปในตัว กลายเป็นที่สังสรรคของเพื่อนฝูง


อีกทางหนึ่งด้วย มีคนคิดคํานวณกันว่า ประเทศไทยน่าจะใช้เงินงบประมาณในการจัดสัมมนา

ต่อปีสูงเป็นอันดับต้นๆ ของเอเชียเลยทีเดียว แต่เมื่อสัมมนาแล้วจะได้มรรคผลแคไหนนนไมได้
ั้

บอกไว ้

ลักษณะการสัมมนาเท่าที่ผมเคยสัมผัส มไมนอยที่ไมมประสิทธิภาพ ไมก่อเกิดมรรค





ุ้

ผลที่คมคากับเงินที่เสียไป ส่วนใหญ่พูดบรรยายหมดไปวนหนงๆ แล้วก็ออกเที่ยว สมาชิก

ึ่
สัมมนาไม่ได้นําเอาความรู้ แนวคิด ที่ได้ไปใช้ประโยชนในการพัฒนาตน องคกร หรอสังคมแต่






ั้

ู้
อย่างไร ขอใหได้ชื่อวาได้ไปสัมมนากันเท่านน ส่วนผู้จัดสัมมนาก็ไมคอยมความรในการจัด

ู้



สัมมนากันมากนก ไมรวา หลักการสัมมนาที่แท้จรงเป็นอย่างไร รปแบบที่เหมาะสมกับเรอง
ื่


สัมมนาควรจัดแบบใด และเรื่องที่สัมมนาก็ไม่ค่อยจะเกิดประโยชน์อย่างแท้จริง

ี้

วนนผมจึงขอนาเอาหลักการแนวคดในการจัดสัมมนามาบอกกล่าวกันในเชิงทฤษฎี



เพื่ออย่างน้อยจะเป็นประเด็นให้ฉุกคิดกันบ้างว่า ถ้าจะจัดสัมมนาอะไร ควรจะได้คานงหลักการ
แนวคดที่ถูกต้องกันบ้าง เพื่อใหเกิดความคมคาในการสัมมนา บ้านเมองเราจะได้พัฒนา



ุ้

ก้าวหน้าไปอย่างจริงจังกันเสียที เสียดายเงินงบประมาณชาติ เสียดายเวลา และเสียดายความรู้
ความคิดของวิทยากร และของสมาชิกที่อุตส่าห์ระดมกัน

1.7 หลักการและแนวคิดส าคัญในการสัมมนา
3
1. กระบวนการกลุ่ม สัมมนาเป็นการประชุมของกลุ่มคนที่มความสนใจเรองเดียวกัน

ื่


อยู่ในแวดวงเดียวกันมารวมคด รวมทํางานกันเพื่อไปสู่จุดหมายเดียวกัน เช่น แก้ไขปัญหา

ั่


สร้างสรรคผลงานรวมกัน คดหาแนวทาง แนวปฏิบัติงาน เป็นต้น นนหมายความวาการจัด



สัมมนาผู้จัดก็ควรใหสมาชิกได้ปะทะสังสรรครวมคด รวมทําเป็นกลุ่ม จะจัดแบบมกลุ่มใหญ่





กลุ่มย่อย ตามระยะเวลาที่เหมาะสมในการสัมมนา กระบวนการกลุ่มมอิทธิพลมากต่อ


ผลสําเรจ และหากได้ควบคมกระบวนการกลุ่มใหมความเข้มข้น จรงจัง มกรอบ ทิศทาง







เป้าหมายที่ชัดเจน มผู้นากลุ่มที่เก่งในการกระตุ้นใหสมาชิกกลุ่มระดมความคด พูดคย หรอ




ปฏิบัติงานเข้มแข็ง มบรรยากาศประชาธิปไตย แลกเปลี่ยนความร ความคดอย่างมเหตุผล
ู้





เคารพกติกาของกลุ่ม และรับผิดชอบ ตลอดจนมเลขานการกลุ่มบันทึกการประชุมกลุ่มอย่างม ี
ั้


ประสิทธิภาพ ได้ประเด็นสําคญ ก็ย่อมเกิดมรรคผลได้อย่างแนนอน ดังนนผู้จัดก็ควรหา

3
https://www.gotoknow.org/posts/173831, 20 มิถุนายน 2558.
รายวิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา (602309) หลักสูตรพุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา 24




วทยากรกลุ่มที่เก่งๆ และเข้าใจธรรมชาติของสมาชิก สามารถใหข้อมลและความกระจ่างใน
ขั้นตอน ก็จะเกิดประโยชน์คุ้มค่า




ึ่

2. แนวคดการสรางวธีการคดแก่สมาชิก คณคาของการสัมมนาอย่างหนงก็คอ



ความคิดที่ได้จากสมาชิกซึ่งเกิดจากการระดมความคิด (Brainstorming) หรือพายุแห่งความคด


ึ่






ซงถ้าสมาชิกมวธีการคดที่มประสิทธิภาพก็ย่อมได้ความคดที่มคณภาพ เพราะ ‚ความคดคอ



ึ่


ั้

หวใจของการสัมมนา‛ ดังนน ควรมการชี้แนะที่ดี ซงได้จากวทยากรที่มแนวคดที่ดี ควรม ี
เป้าหมาย กรอบ ขอบเขตที่ชัดเจน จะได้ไมฟุ้งซานจับประเด็นการพูดคยไมได้ และอีกอย่าง










หนงก็คอ ต้องมข้อมลที่ดี คาวาข้อมลที่ดี หมายถึงต้องมความหลากหลาย มความถูกต้อง

ึ่

นาเชื่อถือ และมเพียงพอแก่การนามาคด ตัดสินใจ เพราะฉะนนการทําเอกสารประกอบการ




ั้

สัมมนาจึงต้องมการจัดการที่ดี เพื่อใหมคณภาพพอที่จะนามาใช้พูดคยกันได้ แต่






นอกเหนือไปจากนั้น สมาชิกที่ดีก็จําเป็นต้องแสวงหาข้อมลมาก่อน หรอรวบรวมประสบการณ์

ของตนมาล่วงหน้าเพื่อประกอบกับการคิด ตัดสินใจด้วย
3. แนวคิดการสร้างแรงจูงใจในการสัมมนา การจัดสัมมนาที่ดีและให้ได้ผลจําเป็นต้อง
สรางแรงจูงใจใหสมาชิกมความต้องการ กระตือรอรนที่จะทุ่มเททํางาน แก้ไขปัญหาใหลุล่วง






หรืออยากจะอยู่ประชุมสัมมนาโดยตลอด ไมแอบหนออกไป ช็อปปิ้ง หรอนอนเล่นในหองของ




โรงแรม ทําใหสัมมนาเสีย ลองสังเกตง่ายๆ ถ้าเป็นช่วงวนแรกพิธีเปิดผู้คนจะแนนหนาแต่พอ



ั้


เวลาเนิ่นนานไปวันที่สอง –สาม ก็หนีหายกันไปหมด บางครงวนแรกช่วงบ่ายก็หนกลับแล้วถ้า
สัมมนานั้นน่าเบื่อ

ื่
แรงจูงใจในการจัดสัมมนาที่เห็นได้ชัดทางกายภาพก็หนไมพ้นเรองสถานที่จัดสัมมนา




ซึ่งหมายถึงห้องประชุมดูทันสมัย สะอาด สวยงามอาจไมจําเป็นต้องดูหรหราแต่เนนการเอื้อต่อ


การประชุมที่ดูไมแออัด คบแคบ เครองปรบอากาศเปิดเย็นฉ่ํา มอุปกรณ์เครองแสง สี เสียง
ื่
ื่




้ํ


ภาพ พรอมครบครนทันสมยไมติดขัด ใช้การไมคอยจะได้ จะลุกเข้าหองนาหองท่าก็สะดวก






ื่
เพราะอยู่ใกล้ ห้องน้ําสะอาดสะอ้าน กลิ่นหอม ด้านอาหารวาง อาหารเครองดื่มอรอย เพียงพอ
และตักรับประทานได้สะดวก รวดเร็ว ส่วนห้องพักก็สะดวกถ้าจัดในโรงแรมไม่ต้องเดินทางไกล


ห้องพักสะอาดสะอ้าน กว้างขวาง มีมินิบาร์ และเครื่องบันเทิงจําเป็นเช่น โทรทัศน วทยุ เคเบิล



แล้วแต่พอใหได้พักผ่อนส่วนตัวบ้าง ตลอดจนบรการต่างๆ ที่มรองรบความต้องการของผู้เข้า


สัมมนาได้ครบถ้วน จนไปถึงกายภาพภายนอก ที่ดูโอ่โถง สวยงาม ตั้งอยู่ใจกลางเมองบ้าง




หรอในสถานที่ธรรมชาติอันงดงาม มไมดอกไมประดับ และอื่นๆ ช่วยใหบรรยากาศในการ

สัมมนาดี น่าประทับใจ
รายวิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา (602309) หลักสูตรพุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา 25


ึ่
ึ่
ื้
ส่วนแรงจูงใจที่สําคญอีกอย่างหนงก็คอเนอหาสาระการสัมมนาซงประกอบด้วย



กระบวนการสัมมนาที่เป็นระบบเรียบรอย บรรยากาศเป็นกันเอง มกระบวนการกลุ่มก่อใหเกิด


การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และได้ข้อยุติเช่นแนวคิดแนวปฏิบัติที่ชัดเจน สามารถนาไปใช้ประโยชน ์

ได้ บรรลุจุดมุ่งหมายที่วางไว้ แน่นอนบุคคลสําคัญที่จะก่อให้เกิดสภาพเช่นน คอ วทยากร ผู้จัด

ี้
สัมมนา ที่จะควบคุม ดําเนินงานให้เป็นไปตามแผนที่วางไว ้





ความจรงยังมแนวคดอีกหลายประการที่จะช่วยใหเกิดแรงจูงใจจนสามารถทําใหการ
สัมมนาเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ต่อเนื่อง เช่น การจัดแสดงประกอบ การสาธิต การนาทัศน



ศึกษาหรือไปดูของจรง สภาพจรงในหวข้อที่เกี่ยวข้อง และการจัดแสดงและขายสินคา (อย่าง



หลังเหนบ่อยครบ แต่ต้องระวงเพราะสมาชิกมวแต่ซอของหนาหองสัมมนาจนไมเป็นอัน




ื้


ี่
ประชุมสัมมนากันก็มีบ่อย) จากที่กล่าวมานี้ก็น่าจะมองเห็นสภาพการจัดสัมมนาทเกิดขึ้น
ี้




ในปจจุบันว่าสอดคลองกับหลกการแนวคดเหลานหรือไม ผมอยากให้เกิดความ




ุ้
ี่

ตระหนัก ใคร่ครวญว่า ต่อไปจะจัดสัมมนาอะไร ขอให้คานงประโยชนทจะไดคมคากับ

เงินงบประมาณที่เสียไปหรือไม่

1.8 วิธีการจัดสัมมนา
4
สัมมนา หมายถึง การประชุมเพื่อแลกเปลี่ยนความรู้และความคิดเห็น เพื่อหาข้อสรุปใน
ื่
เรื่องใดเรองหนึ่ง ผลชองการสัมมนาถือว่า เป็นเพียงข้อเสนอแนะ ผู้ที่เกี่ยวข้องจะนําไปปฏิบัติ
ตามหรือไม่ก็ได้ จุดมุ่งหมายของการ ‚การสัมมนา‛
1. อบรม ฝึกฝน ชี้แจง แนะนํา สั่งสอน ปลูกฝังทัศนคติและให้คําปรึกษา ในเรื่องที่
เกี่ยวข้อง
2. พิจารณา สํารวจ ตรวจสอบปัญหาหรือประเด็นต่างๆ ที่หยิบยกขึ้นมา เพือ่ทําความ
เข้าใจในเรื่องที่ต้องการร
ู้
3. เสนอแนะน่ารู้ น่าสนใจ ที่ทันสมัยและเหมาะสมกับสถานการณ์
4. แสวงหาข้อตกลง ด้วยวิธีการอภิปราย แลกเปลี่ยนความคิดเห็นอย่างเสรี ซัก-ถาม
ถกเถียง ปรึกษาหารือ ภายใต้หัวข้อที่กําหนด
5. ให้ได้ข้อสรปผลของการนําเสนอหัวข้อ หรือการวิจัย

ประโยชน์ของการจัดสัมมนา
1. ผู้จัดสัมมนาหรือผู้เรียนสามารถจัดสัมมนาได้อย่างมีประสิทธิภาพ

4
https://www.gotoknow.org/posts/13249, 21 มิถุนายน 2558.
รายวิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา (602309) หลักสูตรพุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา 26

2. ผู้เข้าร่วมสัมมนา ได้รับความรู้ แนวคิดจากการสัมมนา สามารถนําไปปรับใช้ในการ

ทํางานและชีวิตส่วนตัวได้
3. ผลจากการที่ผู้เข้าร่วมสัมมนาได้รับความรู้และความสามารถมากขึ้นจากการสัมมนา

ช่วยทําให้ระบบและวิธีการทํางานมีประสิทธิภาพสูงขึ้น

4. การจัดสัมมนาจะช่วยแบ่งเบาภาระการปฏิบัติงานของผู้บังคับบัญชา เพราะผู้ได้

บังคับบัญชาได้รับการสัมมนา ทําให้เข้าใจถึงวิธีการปฏิบัติงานตลอดจนปัญหาต่างๆ และ

วิธีการแก้ไขปรับปรุงและพัฒนางานให้ได้ผลดี
5. เป็นการพัฒนาผู้ปฏิบัติงานให้พร้อมอยู่เสมอ ที่จะก้าวไปรับตําแหน่งที่สูงกว่าเดิม

หรืองานที่จําเป็นต้องอาศัยความรู้ทางด้านเทคโนโลยีใหม่ ๆ ซึ่งผู้ปฏิบัติงานจะไม่รู้สึกลําบากใน

การปรับตัว เพราะได้รับความรู้ใหม่ ๆ ตลอดเวลา

6. เป็นการส่งเสริมความก้าวหน้าของผู้ปฏิบัติงาน เพราะโดยปกติแล้วการพิจารณา

เลื่อนตําแหน่ง ผู้ที่ได้รับการสัมมนาย่อมมีโอกาสได้รับการพิจารณาก่อน
7. เกิดความคิดริเรมสร้างสรรค์ เป็นผลให้เกิดแรงบันดาลใจมุ่งกระทํากิจกรรมอันดีงาม
ิ่
ให้สังคม

8. สามารถสร้างความเข้าใจอันดีงามต่อเพื่อนร่วมงาน มีมนุษย์สัมพันธ์ เกิดความ

ร่วมมือร่วมใจในการทํางาน สามารทํางานเป็นทีมได้เป็นอย่างดี

9. เกิดความกระตือรือร้น กล้าคิด กล้าทํา กล้าตัดสินใจ มีความรับผิดชอบ รู้จักยอมรับ
ความคิดเห็นของผู้อื่น รู้จักใช้ดุลยพินิจวิเคราะห์ปัญหา สามารถแก้ปัญหาในการทํางานและเกิด

ภาวะผู้นํา

1.9 องค์ประกอบของ “การจัดสัมมนา”

1.ด้านเนื้อหา ได้แก่ สาระหรือเรื่องราวที่จะนํามาจัดสัมมนา ซึ่งประกอบด้วย

1.1 จุดมุ่งหมายของการจัดสัมมนา ว่าจัดเพื่ออะไร

ี่
ุ้
1.2 เรื่องที่จะนํามาจัดสัมมนา ต้องเป็นเรื่องมมีประโยชน์และคมค่าต่อการจัด
1.3 หัวข้อเรื่อง เพื่อให้เห็นทิศทางของปัญหาหรือกรอบความคิดในเรื่องที่จะ

สัมมนา
1.4 กําหนดการสัมมนา ชื่อหน่วยงานหรือบุคคล ผู้ดําเนินการจัดสัมมนา ชื่อเรื่อง


สัมมนา วน/เดือน/ปี ที่จัดสัมมนา เวลา สถานที่

รายวิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา (602309) หลักสูตรพุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา 27

1.5 ผลที่ได้รับจากการจัดสัมมนา เป็นเรื่องที่ผู้จัดสัมมนาได้คาดหวังว่า การจัด

สัมมนาจะทําให้ผู้เข้าร่วมสัมมนาได้รับประโยชน์อย่างไรบ้าง อาจเป็นทั้งเชิงปริมาณและ
คุณภาพ จึงเป็นเรื่องที่ผู้จัดสัมมนาจะต้องเขียนผลที่ได้รับไว้ด้วย

2.ด้านบุคลากร หมายถึง บุคคลที่เกี่ยวข้องกับการจัดสัมมนา หมายถึง บุคคลที่

เกี่ยวข้องกับการจัดสัมมนา

2.1 บุคลากรฝ่ายการจัดสัมมนา ได้แก่ บุคคลหรือคณะกรรมการที่มีหน้าที่ในการ

จัดสัมมนาให้บรรลุจุดประสงค์ที่วางไว้ แบ่งได้เป็นฝ่ายด้วยกัน ดังน ี้


2.2 วิทยากร หมายถึง บุคคลที่ทําหนาที่บรรยาย อภิปรายหรอถ่ายทอดความร ู้
ุ่




ประสบการณ์ โดยใช้เทคนควธีการต่าง ๆ ใหแก่ผู้เข้ารวมสัมมนาด้วยความจรงใจ และมงหวง


ให้ผู้เข้าสัมมนาได้รับความรู้ และประสบการณ์อย่างเต็มที่ ดังนั้นผู้ที่เป็นวิทยากรต้องเป็นบุคคล
ที่มีความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์ หรือมีความเชี่ยวชาญเฉพาะทาง หรอเกี่ยวข้องกับ

เรื่องที่จัดสัมมนา
3.ด้านสถานที่ เครื่องมือ และอุปกรณ์ต่าง ๆ
3.1 ห้องประชุมใหญ่ หมายถึง ห้องประชุมรวมที่ใช้บรรยาย อภิปรายหรือ

สัมมนาที่จะต้องกําหนดที่นั่งได้ว่า สามารถบรรจุคนได้กี่ที่นั่ง และใช้ที่ใด สถานที่ตั้งอยู่ที่ไหน

สําหรับเป็นแหล่งจัดสัมมนา


3.2 ห้องประชุมย่อย หมายถึง เป็นห้องประชุมที่มขนาดกลางหรือขนาดเล็ก
3.3ห้องรับรอง หมายถึง เป็นห้องที่ใช้สําหรับรองรบวิทยากร แขกพิเศษ เพื่อให ้

ได้รับการพักผ่านหรือเตรียมตัวก่อนการสัมมนา

3.4 ห้องรับประทานอาหารว่าง

3.5 ห้องรับประทานอาหาร

3.6 อุปกรณ์ด้านโสตทัศนูปกรณ์ ได้แก่ ไมโครโฟนชนิดตั้งและติดตัว เครื่อง
ขยายเสียง เครื่องฉายภาพข้ามศีรษะ เทปบันทึกเสียง เครื่อง วี.ดี. ทัศน์ อุปกรณ์ด้านแสงและสี

ยงต่าง ๆ เครื่องฉายสไลด์ จอภาพ กล้องถ่ายรูป ฯลฯ

3.7 อุปกรณ์เครื่องมือประเภท เครื่องคอมพิวเตอร เครื่องพิมพ์ดีด เครื่องถ่าย

เอกสาร เครื่องถอดเทป

3.8 อุปกรณ์ด้านเครื่องเขียน ที่จําเป็นในการสัมมนา เช่น กระดาษขาว แผ่น

โปร่งใส เครื่องเขียนต่าง ๆ



4.ด้านเวลา วน เวลาที่ใช้ในการสัมมนา ที่ผู้จัดสัมมนาควรมการวางแผนไวอย่างดีวา

ควรใช้ วัน เวลาใดในการจัดสัมมนาจึงจะเหมาะสมและสะดวกแก่ทุกฝ่าย เวลาในการจัดสัมมนา
รายวิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา (602309) หลักสูตรพุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา 28





ู้
หากใช้เวลาน้อยเกินไปก็จะทําให้ไมได้ความรความคดเหนที่กวางขวางมากพอแต่หากใช้เวลา

มากเกินไปก็อาจทําใหการสัมมนานาเบื่อได้ เวลาที่ใช้ในการสัมมนา ที่ผู้จัดสัมมนาควรมการ


วางแผนไว้อย่างดีว่าควรใช้ วน เวลาใดในการจัดสัมมนาจึงจะเหมาะสมและสะดวกแก่ทุกฝ่าย







ู้
เวลาในการจัดสัมมนาหากใช้เวลานอยเกินไปก็จะทําใหไมได้ความรความคดเหนที่กวางขวาง
มากพอแต่หากใช้เวลามากเกินไปก็อาจทําให้การสัมมนาน่าเบื่อได้
5.ด้านงบประมาณ หรอการจัดทํางบประมาณ ในการดําเนนงานสัมมนา ย่อมม ี






ั้

คาใช้จ่ายในการดําเนนงาน ดังนนผู้จัดสัมมนาต้องมการจัดสรรวางแผนคาใช้จ่ายใหดี ด้วย

ความรอบคอบ เพื่อให้การประมาณค่าใช้จ่ายทั้งหมดของงานอยู่ในภาวะที่เพียงพอ ไมขาดหรอ


มากจนเกินไป หรอการจัดทํางบประมาณ ในการดําเนนงานสัมมนา ย่อมมคาใช้จ่ายในการ



ดําเนนงาน ดังนนผู้จัดสัมมนาต้องมการจัดสรรวางแผนคาใช้จ่ายใหดี ด้วยความรอบคอบ



ั้

เพื่อให้การประมาณค่าใช้จ่ายทั้งหมดของงานอยู่ในภาวะที่เพียงพอ ไม่ขาดหรือมากจนเกินไป
5.1 ให้แต่ละฝ่ายทําหน้าที่รับผิดชอบทํางาน จัดทํางบประมาณที่ต้องใช้จ่าย
ทั้งหมดของฝ่ายของตนทั้งหมดออกมาในรูปของบัญชีค่าใช้จ่าย และเสนอให้ฝ่ายเหรัญญ ิ
พิจารณาถึงความเหมาะสมก่อนอนุมัติ
5.2 เมื่อการวางแผนเกี่ยวกับค่าใช่จ่าย ของแต่ละฝ่ายได้รบความเหนชอบจากที่


ประชุม ก็จัดให้ทํางานงบประมาณรวมทั้งหมดทั้งโครงการ แล้วนาไปใส่ในโครงการ เพื่อเสนอ


ฝ่ายบรหารอนมติ ได้แก่ สาระหรอเรองราวที่จะนามาจัดสัมมนา ซงประกอบด้วย หมายถึง



ึ่
ื่


บุคคลที่เกี่ยวข้องกับการจัดสัมมนา เวลาที่ใช้ในการสัมมนา ที่ผู้จัดสัมมนาควรมการวางแผนไว ้
อย่างดีว่าควรใช้ วัน เวลาใดในการจัดสัมมนาจึงจะเหมาะสมและสะดวกแก่ทุกฝ่าย เวลาในการ






ู้
จัดสัมมนาหากใช้เวลานอยเกินไปก็จะทําใหไมได้ความรความคดเหนที่กวางขวางมากพอแต่
หากใช้เวลามากเกินไปก็อาจทําใหการสัมมนานาเบื่อได้ หรอการจัดทํางบประมาณ ในการ






ั้


ดําเนนงานสัมมนา ย่อมมคาใช้จ่ายในการดําเนนงาน ดังนนผู้จัดสัมมนาต้องมการจัดสรร

วางแผนค่าใช้จ่ายให้ดี ด้วยความรอบคอบ เพื่อให้การประมาณคาใช้จ่ายทั้งหมดของงานอยู่ใน
ภาวะที่เพียงพอ ไม่ขาดหรือมากจนเกินไปการจัดทําเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการสัมมนา ได้แก่
1. โครงการสัมมนาและแผนปฏิบัติงาน โดยปกติจะมีส่วนประกอบ ดังน โดยปกติจะม ี
ี้
ส่วนประกอบ ดังน ี้
1.1 ชื่อโครงการการสัมมนา
1.2 หลักการและเหตุผล
1.3 วัตถุประสงค

1.4 เป้าหมาย
รายวิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา (602309) หลักสูตรพุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา 29

1.5 ลักษณะโครงการ

1.6 วิธีดําเนินการ
1.7 ระยะเวลาการดําเนินงาน

1.8 สถานที่ดําเนินการ

1.9 งบประมาณ

1.10 การติดตามและประเมินผล

1.11 ผลที่คาดว่าจะได้รับ
2. เอกสารประกอบการสัมมนา ในการจัดสัมมนา สิ่งที่ควรปฏิบัติอย่างยิ่งก็คอ การแจก

เอกสารประกอบการสัมมนา ไห้แก่ผู้เข้าร่วมสัมมนา เอกสารประกอบการสัมมนา จะเป็นข้อมล

ื่



ที่สําคญเกี่ยวข้องกับสภาพปัญหาหรอหนทางในการแก้ปัญหาที่เกี่ยวข้องกับหวข้อเรองที่จัด
สัมมนา เอกสารประกอบการสัมมนาเป็นเพียงลู่ทางหรอส่วนที่เสรมของหวข้อสัมมนาไมใช่




เนื้อหาทั้งหมดของการสัมมนา


3.รายชื่อผู้เข้ารวมสัมมนาและหนงสือเชิญเข้ารวมสัมมนา ในการจัดสัมมนาต้องมการ



ู้

ปรึกษาหารือกันก่อนถึงผู้ที่จะเข้าร่วมการสัมมนา ทั้งนี้ผู้เข้าร่วมควรมพื้นฐานความรที่ใกล้เคยง
กัน จะทําให้การสัมมนาบรรลุผลได้ดียิ่งขึ้น



ในการจัดสัมมนาต้องมการปรกษาหารอกันก่อนถึงผู้ที่จะเข้ารวมการสัมมนา ทั้งน ี้

ผู้เข้าร่วมควรมีพื้นฐานความรู้ที่ใกล้เคียงกัน จะทําให้การสัมมนาบรรลุผลได้ดียิ่งขึ้น เมอทราบ
ื่


รายชื่อของผู้ที่จะเข้ารวมสัมมนาแล้ว สิ่งที่ต้องกระทําต่อไป คอ การทําหนงสือเชิญผู้เข้ารวม


สัมมนา

1.10 ประโยชน์ของการสัมมนา
1). เกิดความคิดสร้างสรรค์ในกลุ่มผู้เข้าร่วมสัมมนา
2). บทสรุปแนวทางแก้ปัญหาจากการสัมมนา มาจากข้อมูลที่หลากหลาย

3). เกิดความผูกพันธ์ สามัคคี ในการทํางานรวมกัน

4). ผลจากการสัมมนา เมื่อนําไปปฏิบัติมีแนวโน้มประสบความสําเร็จมากกวา วิธีการ
ปฏิบัติที่เกิดการการตัดสินใจตามลําพังของใครคนใดคนหนึ่ง
5). ฝึกให้เกิดภาวะผู้นํา และการทํางานร่วมกันเป็นกลุ่ม

รายวิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา (602309) หลักสูตรพุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา 30

บทที่ 2

องค์ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
5

2.1. ความหมายของศาสนา : ศาสนา คือ วิถีชีวิตที่มุ่งสู่ความเป็นจริงสูงสุด/ความรอดพ้น‛

2.1.1 นิยามของศาสนา มีหลากหลายแนวความคิด ที่อธิบายนิยามของศาสนา ได้แก่




2.1.1.1 คาวา ‚Religion‛ มาจากคาภาษาลาตินวา ‚Religio‛ (Ligo + ligare)




หมายถึง ‚ข้อผูกมัด/พันธสัญญา‛ (Bond) ที่เป็นหลักใหมนษย์สู่ความเป็นจรงสูงสุดอาศยจารต


พิธี (Rites) หลักความเชื่อ (Beliefs) และบรรทัดฐาน (Norm) (Upanee, n.y.)




2.1.1.2 ศาสนา คอ วถีชีวต (Way of life) (เดือน คาดี, 2545) ที่ประกอบด้วย
ความเชื่อและเหตุผล ที่มุ่งสู่ความจริงเพื่อความรอดพ้น จึงมีลักษณะ ‚เน้นวิถีสู่ความรอดพ้น‛
2.1.1.3 ศาสนาเป็นระบบความเชื่อที่พัฒนาให้มีเหตุผลมากขึ้น (สมภาร พรมทา,
2546)
2.1.1.4 ศาสนา เป็นปรากฎการณ์ในสังคมมนุษย์ ซึ่งจะต้องมีองค์ประกอบสําคญ

อย่างน้อยสามประการ คือ มโนภาพเรื่องเหนือธรรมชาติ ระบบศีลธรรมและพิธีกรรม (กีรติ บุญ

เจือ, 2522: 240)

2.1.1.5 ศาสนาไมใช่เพียงความเชื่อศรทธาเท่านน แต่ยังมการสนองตอบทาง


ั้

อารมณ์และปฏิบัติ ตามความรู้สึกต่อความเป็นจริงสูงสุดด้วย (อิมรอน มะลูลีม, 2539)
ุ่


2.1.1.6 ศาสนา หมายถึง การที่มนษย์มงสู่ความเป็นจรงสูงสุด (ความรอดพ้น)
ด้วยความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กับความเป็นจริงสูงสุด (Ubanee, n.y.)
2.1.1.7 ศาสนา มีนิยามที่สําคัญสองแนว ได้แก่ (Angeles, 1981: 246)



ก. ศาสนา เป็นการอ้างอิงต่อภาวะที่เหนอธรรมชาติ (ศาสนา คอ ความ



เชื่อศรัทธาและการนมัสการต่อความเป็นจรงสูงสุดที่อยู่เกินขอบเขตโลกแหงผัสสะ ที่สรางและ
ควบคุมสรรพสิ่งให้ดํารงอยู่ตามพระประสงค์)


ข. ศาสนา เป็นการอ้างอิงแนวคดที่ยึดมนษย์เป็นศนย์กลาง (ศาสนา คอ


ความพยายามของมนุษย์ที่จะบรรลุสู่ความรอดพ้น)
2.1.1.8 ศาสนาเป็นเรองของศลธรรม เป็นเรองของความรสึก เป็นเรองของการ
ื่
ื่
ื่

ู้
เน้นกฎเกณฑ์ และข้อบังคับให้ปฏิบัติ (Edwards, 1972)

5
http://franciswut03-2.blogspot.com, 22 มิถุนายน 2558.
รายวิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา (602309) หลักสูตรพุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา 31


ึ่

ึ่

2.1.1.9 ศาสนา คอ ความเชื่อ ความศรทธาของมนษย์ ที่มต่ออํานาจหนงซงอยู่


ั่


นอกเหนอไปจากตัวมนษย์ อันเป็นแหล่งที่เขาแสวงหาเพื่อความมนคงของชีวต. (Galloway
อ้างใน อิมรอน, 2539)

2.1.1.10 ศาสนา คอ ชีวตแหงการสรางความสัมพันธ์กับความเป็นจรงสูงสุด




(Moore cited in William, 1973)
2.1.1.11 ศาสนา คอ ความเชื่อในภาวะที่เป็นจิต (Taylor cited in William,

1976)

จากการนาเสนอตัวอย่างนยามของศาสนาดังกล่าว เหนได้วามส่วนที่เป็น





สาระสําคัญ คือ ศาสนา เป็นการเน้นประสบการณ์การดํารงอยู่ของมนษย์ ในฐานะที่มนษย์มอยู่


(Being) เพื่อแสวงหาความสมบูรณ์สูงสุดของชีวต อย่างไรก็ตาม มนษย์สํานกตนวา ความ





สมบูรณ์ของชีวิตไม่ได้อยู่ในสภาพชีวตที่ตนเป็นอยู่ในภาวะปัจจุบัน มนษย์ไมสามารถบรรลุถึง


ั้
ความสมบูรณ์นี้ในตัวเอง และด้วยศักยภาพของตนเท่านั้น มนุษย์ต้องแสวงหาความสมบูรณ์นน
ด้วยการสร้างความสัมพันธ์กับความเป็นจริงสูงสุด (Absolute Being) ในรายละเอียดที่แตกต่าง
กันไปของแต่ละศาสนา
2.1.2 ข้อสังเกตเกี่ยวกับนิยามของศาสนา


แมนยามของคาวาศาสนา จะมหลากหลาย แต่สิ่งที่เราควรใส่ใจคอแก่นแท้ของศาสนา





ื่
คือ การมุ่งสู่ความรอดพ้น ไม่ใช่ในระดับความคด ความเข้าใจ แต่ศาสนาเป็นเรองระดับจิตใจที่
มนุษย์มีความปรารถนาที่จะบรรลุความบรมสุขเที่ยงแท้ ถาวร นิรันดร อย่างไรก็ตาม ‚ความเชื่อ
ึ้

ทื่อ ๆ อย่างเดียวไมเคยช่วยใหเราเกิดความซาบซงในอะไรได้‛ (สมภาร พรมทา, 2546: 17)



ึ้
ื้
แต่ต้องอาศยการไตรตรองเนอหาคาสอนด้วยจิตใจอย่างลึกซงและนาไปปฏิบัติในการดําเนน



ชีวิตประจําวัน ศาสนาจึงพยายามตอบปัญหาที่มอยู่ในใจของมนษย์ตั้งแต่เรมต้นประวติศาสตร์
ิ่




คอ เหตุผลและที่มาของสิ่งต่างๆ โดยความเชื่อศรทธา และใช้สติปัญญาทําความเข้าใจต่อคา


สอน (ความจริง) ที่ได้รบจากองคศาสดา ซงเชื่อวาได้รบมอบหมายจากพระเจ้า/ความเป็นจรง





ึ่

สูงสุดให้เผยแสดงแก่มนุษย์ หรือองค์ศาสดา ที่เชื่อว่าได้บรรลุถึงสัจธรรมอย่างแท้จรง (อิมรอน,
2539)
William B. Williamson (1976) ได้ศกษาวเคราะหศาสนาตามนยามต่างๆ และ




ได้แยกประเภทของนิยามศาสนาไว้ 5 ลักษณะ คือ

1) การนิยามศาสนา ด้วยการกําหนดความหมาย (มโนภาพ) ของคา (Term) ที่
เป็นอัตลักษณ์เฉพาะของศาสนา (เน้นความแตกต่างของศาสนากับศาสตร์อื่นๆ)
รายวิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา (602309) หลักสูตรพุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา 32


2) การนิยามศาสนา แบบพจนานุกรม ด้วยการกําหนดความหมายและการนาคา

(ศาสนา) ไปใช้กับส่วนที่เกี่ยวข้อง (เน้นความหมายเพื่อการนําคําไปใช้)
3) การนิยามศาสนา ด้วยการเน้นจุดประสงค์/จุดหมายของศาสนา (เน้นจุดหมาย

ของศาสนา)


4) การนิยามศาสนา ด้วยการเน้นความเกี่ยวข้อง สัมพันธ์กับสิ่งอื่น (เนนศาสนา
ในฐานะที่เท่าเสมอกับศาสตร์/ความจริงอื่นๆ)


5) การนิยามศาสนา ด้วยการเปรียบเทียบ หรือการยกตัวอย่างเพื่อเนนถึงความ
คล้ายคลึง ระหว่างศาสนากับสิ่งที่นํามาเปรียบเทียบ (เน้นศาสนาในเชิงรูปธรรม)



อย่างไรก็ตาม การพิจารณานยามและการจําแนกประเภทของนยามศาสนา ก็
ื่
ื้



ประสบปัญหา เนองจากไมสามารถครอบคลุมเนอหาของคาวา ‚ศาสนา‛ ได้ จึงจําเป็นต้อง


พิจารณานยามของศาสนา โดยนาหลากหลายแนวคด/นยามมาพิจารณา เพื่อจะได้อธิบาย


ศาสนาได้ครบถ้วนที่สุด

2.2. ประเภทของศาสนา


ิ่
ื่
นักวิชาการด้านศาสนศาสตร มความเข้าใจวาแนวคดเรองศาสนา เรมต้นตั้งแต่ยุคก่อน





ประวติศาสตรและก่อนวฒนธรรมมนษย์ (Prehistoric and Primal cultures) (David, 1994)



แมวาในปัจจุบัน มแนวโนมที่จะกําหนดศาสนาสากล เป็น 11 ศาสนา ได้แก่ ศาสนาโซโรอัส




เตอร์ (Zoroastrianism) ยูดาห (Judaism) พราหมณ์-ฮนดู (Brahma-Hinduism) เต๋า (Taoism)
ขงจื้อ (Confucianism) พุทธ (Buddhism) เชน (Jainism) ครสต์ (Christianity) อิสลาม

(Islamism) สิกข์ (Sikhism) ชินโต (Shinto)

นักศาสนศาสตร์ได้แบ่งประเภทของศาสนาได้หลายรูปแบบ ตั้งแต่ศาสนาในสมยโบราณ
ศาสนาตามแหล่งกําเนิด ศาสนาก่อน/หลังวฒนธรรม/อารยธรรม ฯลฯ อย่างไรก็ตาม ในที่นขอ
ี้

นําเสนอสามรูปแบบ ได้แก่
2.2.1 การแบ่งประเภทของศาสนา ตามรูปแบบวิวัฒนาการของศาสนา การแบ่งประเภท
ของศาสนาตามรูปแบบนี้ สามารถแบ่งศาสนาได้สองประเภท คือ (เดือน คําดี, 2545)

2.2.1.1 ศาสนาตามธรรมชาติ (Natural Religion) หมายถึง ศาสนาที่นบถือ
้ํ

ธรรมชาติ มีความรู้สึก สํานึกว่าสิ่งต่างๆ ตามธรรมชาติที่ปรากฎ เช่น แมนา ภูเขา ป่าไม ฯลฯ



ื่

มวญญาณสิงสถิตอยู่ (David, 1994) จึงต้องแสดงความเคารพนบถือ เนองจากมนษย์ได้เหน





ปรากฏการณ์ต่างๆ ตามธรรมชาติรอบตัว จึงคดและเชื่อวาทุกอย่างต้องมผู้ทําใหเกิดขึ้น ใน


ั้
ธรรมชาตินนมสิ่งศกดิ์สิทธิ์ที่อยู่เหนอธรรมชาติคอยควบคม นเป็นการแสดงออกของศาสนา

ี่


รายวิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา (602309) หลักสูตรพุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา 33



ึ่



ดั้งเดิม และเป็นขั้นแรกที่มนษย์แสดงออกซงความสํานกคดเกี่ยวกับสิ่งเหนอธรรมชาติ หรอ
แนวคิดวิญญาณนิยม (Animism) นั่นเอง

2.2.1.2 ศาสนาที่มการพัฒนาเป็นองคกร (Organized Religion) หมายถึง





ศาสนาที่มีวัฒนาการมาโดยลําดับ (จากข้อ 1.1) เป็นศาสนาที่มการจัดรปแบบ มการควบคมให ้


ั้
เป็นระบบ มการก่อตั้งในรปแบบสถาบันขึ้น บางครงเรยกวาศาสนาทางสังคม (Associative






Religion) มการจัดระบบความเชื่อตอบสนองความจําเป็นทางสังคม มการคานงถึงความ
ึ่

เหมาะสมแก่สภาวะสังคมเป็นหลัก และกลายเป็นส่วนหนงของสังคม ก่อรปเป็นสถาบันทาง

ศาสนาขึ้น อันเป็นแหตุทําใหศาสนาประเภทน มระบบและเป็นสถาบันถาวรในสังคมสืบมา ม ี
ี้

ระบบและรปแบบของตัวเอง เช่น ศาสนายิว ศาสนาครสต์ ศาสนาอิสลาม ศาสนาฮนดูและ



ศาสนาพุทธ เป็นต้น

2.2.2 การแบ่งประเภทของศาสนา โดยพิจารณาจากผู้นบถือศาสนา การแบ่งศาสนา
ตามรูปแบบนี้ สามารถแบ่งศาสนาได้สามประเภท คือ
ึ่
2.2.2.1 ศาสนาเผ่า (Tribal Religion) หมายถึง ศาสนาของคนในเผ่าใดเผ่าหนง
ซึ่งเป็นความเชื่อของชนกลุ่มในเผ่า เช่น ศาสนาของคนโบราณเผ่าต่างๆ ที่ได้พัฒนาการขึ้นเป็น
ศาสนาของชาติ มี แปดศาสนา คือ ศาสนาฮินดู ศาสนาเชน ศาสนายูดาย ศาสนาชินโต ศาสนา


ื่
ขงจื้อ ศาสนาสิกข์ และศาสนาโซโรอัสเตอร เนองจากเรมต้นของศาสนานนๆ มการนบถือใน
ั้
ิ่

ิ่



ึ่
ชาติใดชาติหนงหรอเผ่าหนงมาก่อน เช่น ศาสนาฮนดู เรมต้นมผู้นบถือกันเฉพาะชาวอินเดีย
ึ่





ศาสนาโซโรอัสเตอร เรมต้นมผู้นบถือเฉพาะชนเผ่าเปอรเซย ศาสนายูดาย เรมต้นมผู้นบถือ

ิ่

ิ่

ู่


ิ่
เฉพาะในหมู่ชาวอิสราเอล ศาสนาชินโต เรมต้นมการนบถือเฉพาะในหมชาวญี่ปุ่น และศาสนา
ขงจื้อ เริ่มต้นมีผู้นับถือเฉพาะในหมู่ชาวจีน

2.2.2.2 ศาสนาโลก (World Religion ) หมายถึง ศาสนาที่มผู้นบถือ ไมได้จํากัด


ึ่

ั้
วงอยู่เฉพาะกลุ่มบุคคลกลุ่มใด กลุ่มหนง หรอชาติใดชาติหนงเท่านน แต่มผู้นบถือศาสนา
ึ่


กระจัดกระจายไปทั่วโลก ได้แก่ ศาสนาพุทธ ศาสนาคริสต์ และศาสนาอิสลาม

2.2.2.3 ศาสนากลุ่ม (Segmental Religion ) หมายถึง ศาสนาที่ถือกําเนดจาก
ศาสนาใหญ่ๆ หรือมีลักษณะเป็นนกายย่อยของศาสนาหนง ซงเกิดขึ้นจากสาเหตุความกดดัน
ึ่
ึ่

ทางสังคม เช่น การเหยียดสีผิว สิทธิทางกฎหมายความไมเท่าเทียมกัน เป็นต้น กลุ่มบุคคลที่

ึ่

ี้

เสียเปรียบทางสังคมมีความประสงค์ที่จะแก้ปัญหาเหล่าน และธํารงไวซงวฒนธรรมของตนเอง
จึงฟื้นฟูลัทธิศาสนา และระบบทางสังคมใหเป็นของตัวเองขึ้นมาใหม ทําการรวบรวมผู้คนที่



ประสบภาวะเช่นเดียวกัน และทําการเผยแผ่ศาสนาและวฒนธรรมในต่างแดน เช่น กลุ่มชาว
รายวิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา (602309) หลักสูตรพุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา 34





พุทธในอินโดนีเซีย กลุ่มมุสลิมดําในอเมรกา กลุ่มโซโรอัสเตอรในอินเดีย กลุ่มฮนดูในอาฟรกา
ใต้ เป็นการรวมสมาชิกกลุ่มเข้าด้วยกัน อาศัยศาสนาเป็นศูนย์รวมจิตใจให้เป็นกลุ่มเดียวกัน



ี้

2.2.3 การแบ่งศาสนาตามหลักคาสอนการแบ่งศาสนาตามรปแบบน ได้รบการยอมรบ
อย่างกว้างขวาง ด้วยการแบ่งศาสนาออกเป็นสองประเภท ได้แก่

ึ่
2.2.3.1 ศาสนาประเภทเทวนยม (Theistic Religion ) หมายถึง ศาสนาซงม ี
หลักการและคาสอนที่วาความเป็นจรงสูงสุด (Supreme/Absolute Being) เป็นแก่นคาสอน






ได้แก่ ศาสนาพราหมณ์-ฮนดู ศาสนาสิกข์ ศาสนายูดาห ศาสนาโซโรอัสเตอร ศาสนาครสต์


ึ่


ั้
ศาสนาอิสลาม บางครงมการรวบรวมเอาศาสนาเต๋าและศาสนาขงจื้อเข้าไปด้วย ซงมขึ้นอยู่ที่
การตีความและอธิบายศาสนาทั้งสองดังกล่าว
2.2.3.2 ศาสนาประเภทอเทวนยม (Atheistic Religion) หมายถึง ศาสนาที่ม ี




หลักการและมคาสอนที่เนนมนษย์เป็นศนย์กลางคาสอน ได้แก่ ศาสนาเชน ศาสนาพุทธ และ



ึ่


ศาสนาขงจื้อ (แล้วแต่การตีความ) ซงมคาสอนที่ปฏิเสธบทบาทและความสําคญของความเป็น


ื่
จริงสูงสุดที่มีลักษณะเป็น ‚อัตตา/ตัวตน‛ (Absolute person) แต่เน้นเรองการกระทําของมนษย์





โดยตรง คอ เนนเฉพาะความรที่ ‚เป็นจรง มประโยชนและเหมาะสมต่อกาละเทศะ‛ (สุเชาวศ์
ู้
พลอยชุม, 2546: 11) เพื่อบรรลุความรอดพ้น

2.3. ลักษณะของศาสนา
การอธิบายลักษณะของศาสนา จะนําเสนอตามการแบ่งประเภทของศาสนาตามรปแบบ

ของหลักคาสอน (หวข้อ 2.3) ซงแบ่งศาสนาเป็นสองประเภท คอ ศาสนาแนวเทวนยมและอ




ึ่
เทวนิยม
2.3.1 ศาสนาประเภทเทวนิยม
2.3.1.1 แนวคําสอน ศาสนาแนวเทวนิยม มีแนวคําสอนที่สําคัญดังน ี้
ก. เชื่อว่ามีความเป็นจริงสูงสุด/พระเจ้า ซึ่งมีลักษณะเป็นพระผู้เป็นบุคคล
ที่มีอยู่ (Absolute person) ผู้ทรงสรรพานุภาพ ทรงสร้างสรรพสิ่ง ทรงบํารงเลี้ยง ทรงรกษาและ


ทรงปกครองสรรพสิ่งอยู่ตลอดเวลา

ข. เชื่อว่าความเป็นจริงสูงสุดมีองค์เดียว (Monotheism) หรอหลายบุคคล
แต่เป็นหนึ่งเดียวกัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งเชื่อในความเป็นจริงสูงสุด/พระเจ้า ที่ทรงสรางสรรพสิ่ง

ทรงเป็นบ่อเกิดและทรงอยู่เบื้องหลังสถานการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้น






ั่
ค. คาสอนของศาสนาเนนใหมนษย์มความเชื่อมนอยู่กับความเป็นจรง
สูงสุด/พระเจ้า โดยเน้นว่า
รายวิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา (602309) หลักสูตรพุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา 35




1) ทุกสรรพสิ่ง เกิดจากการสรางสรรคของความเป็นจรงสูงสุด/พระเจ้า
พระองค์เป็นพื้นฐานและบ่อเกิดของสรรพสิ่ง








2) พระองคทรงเป็นผู้กําหนดวถีชีวตของมนษย์ มคาสอนวามนษย์เกิด

จากการสร้างสรรค์ของพระองค์ ฉะนั้น ความเชื่อในรปนจึงผูกพันมนษย์ใหอยู่กับความเป็นจรง



ี้
สูงสุด/พระเจ้า


3) มนุษย์ต้องมีความเชื่อศรัทธาต่อความเป็นจรง/พระเจ้าอย่างสิ้นเชิงวา
ี้



พระองค์ทรงเป็นผู้ประทานชีวต และด้วยความเชื่อนเอง มนษย์จึงต้องสํานกตนวา ชีวตมนษย์



ต้องพึ่งพิง และสํานึกในพระมหากรุณาธิคุณของพระองค์อยู่เสมอ
2.3.1.2 วิวัฒนาการ : การพึ่งพิง/อาศัยสิ่งเหนือธรรมชาติ เพื่อเข้าถึงสัจธรรมจาก






แนวคาสอนดังกล่าวที่นาเสนอข้างต้น ทําใหเหนววฒนาการของศาสนาแนวเทวนยม ตาม

เกณฑ์การแยกประเภทของความเชื่อ ดังนี้ (เดือน คําดี, 2545)


ก. เอกเทวนยม (Monotheism) มความเชื่อวาทุกสิ่งที่มอยู่ เกิดจากการ


ั้

ั้

สร้างสรรค์ของความเป็นจริงสูงสุด/พระเจ้าเพียงองคเดียวเท่านน ฉะนน จึงถือวาพระเจ้าเพียง

ี้



องคเดียวที่สามารถสรางสรรคทุกสิ่งทุกอย่างขึ้นในโลก คาสอนเช่นนพบได้ในศาสนายูดาย
ศาสนาคริสต์และอิสลาม

ข. พหุเทวนิยม (Polytheism) มีความเชื่อต่อความเป็นจรง/เทพเจ้าหลาย
องค์ โดยถือว่าสรรพสิ่งเกิดจากเทพเจ้าหลายองค์ ทรงบัญชาให้เป็นไปโดยแต่ละองค์ทรงปฏิบัติ

ี้

หน้าที่ต่างๆ กัน คําสอนเช่นน พบได้ในศาสนาฮนดู และศาสนาชินโต ความเชื่อแนวพหเทวน ิ

ยมน มหลายลัทธิ/ศาสนาด้วยกันที่ถือวามเทพเจ้าพื้นดิน มหาสมทรและพระอาทิตย์ เป็นต้น

ี้


ลักษณะต่างๆ (Aspects) ของสิ่งต่างๆ ในธรรมชาติแต่ละประเภท จะต้องมเทพเจ้าประจํา


ทั้งสิ้น นอกจากนั้น เทพเจ้ายังมีหน้าที่ตรวจดูความประพฤติของมนษย์ แมในบางวฒนธรรมยัง


มความเชื่อเกี่ยวกับเทพเจ้าวา เป็นเทพประจําบ้านเรอน ประจําหมบ้าน ประจําเผ่า เพื่อทํา
ู่



หน้าที่คอยพิทักษ์มนุษย์เหล่านั้น



ค. สรรพเทวนยม (Pantheism) มความเชื่อวา ความเป็นจรง/เทพเจ้า



ึ่
และจักรวาลเป็นอันหนงอันเดียวกัน จนไมอาจจะแยกออกจากกันได้ ทุกสิ่งที่มอยู่นน อยู่ใน
ั้
ความควบคุมดูแลของเทพเจ้า ทุกสิ่งมีเทพเจ้าประจํา/สิงสถิตอยู่ทั้งสิ้น เช่น ดวงอาทิตย์ ก็มีเทพ








สุรยัน ดวงจันทรก็มเทพจันทรา แมนาก็มพระแมคงคา แผ่นดินก็มพระแมธรณี ต้นไมก็มรกข

้ํ


เทวดา เป็นต้น

รายวิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา (602309) หลักสูตรพุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา 36

2.3.2 ศาสนาประเภทอเทวนิยม

2.3.2.1 ความหมายของอเทวนิยม คําว่า ‚อเทวนิยม‛ มีความสองประการ คือ
ึ่





ก. ศาสนาประเภทที่มหลักการและหลักคาสอนซงไมมความเป็นจรงสูงสุด/พระ
เจ้าเป็นศูนย์กลาง โดยสอนว่าไม่มีพระเจ้า (God) หรือความเป็นจริงสูงสุดที่สร้างสรรพสิ่ง สรรพ


สิ่งเกิดขึ้น ตั้งอยู่ ดําเนนการและสูญสลายไปตามเหตุปัจจัย หรอสอนเฉพาะความจรง ม ี

ู้
ประโยชน์และเหมาะสมต่อกาละเทศะเฉพาะบุคคลนั้นๆ เนื่องจากมีความคิดว่า การรจักพระเจ้า
(ความเป็นจริงสูงสุด) ไม่มีประโยชน์ต่อความรอดพ้น
ข. แนวคิดวัตถุ/สสารนิยมที่ปฏิเสธความมีอยู่ของความเป็นจรงสูงสุด/พระเจ้า ที่









ไมอาจพิสูจนได้ด้วยวธีการทางวทยาศาสตร กล่าวคอ การยอมรบเฉพาะความเป็นจรงที่รบร ู้

ั้
และพิสูจน์ความจริงได้ด้วยวิธีการทางวทยาศาสตรเท่านน จากการพิจารณาความหมายของอ




ื่






เทวนยม ทําใหเราเข้าใจได้วา นกวทยาศาสตรก็ได้ชื่อวาเป็นอเทวนยมด้วย เนองจากเนอหา
ื้

ั้
และเรองที่นกวทยาศาสตรพิสูจนทดลองนน ไมเกี่ยวกับความเป็นจรงสูงสุด/พระเจ้า



ื่




ื่
นักวิทยาศาสตร์มีแนวโน้มอยู่ในกลุ่มวตถุ/สสารนยม เนองจากสนใจศกษาคนควาเฉพาะความ








ั้



เป็นจรง (ข้อเท็จจรง) ที่สามารถพิสูจนได้ตามวธีการทางวทยาศาสตรเท่านน จึงสรปได้วา
อเทวนิยมเน้นความเป็นจริงที่พิสูจน์ได้ในชีวตปัจจุบันน มากกวาความเป็นจรงที่เป็นความเชื่อ
ี้



ที่ไปผูกพันอยู่กับภาวะเหนือธรรมชาติ
2.3.2.2 วิวัฒนาการ : การขจัดอวชชาภายในตนเอง สู่การรแจ้งต่อสัจธรรมด้วย

ู้
การบําเพ็ญเพียรอย่างจริงจัง ศาสนาอเทวนิยมพัฒนาขึ้นมาจากการปฏิเสธอํานาจภายนอกตัว
ุ่




มนุษย์ หรือปฏิเสธการมีอยู่/บทบาทของภาวะที่อยู่เหนือธรรมชาติ หนมามงเนนใหความสําคญ


ทางจิตใจภายในตัวตนของมนุษย์เอง คิดวาภายในตัวตนของมนษย์มคณวเศษแฝงอยู่ ความดี





ความชั่ว อันตรายและความปลอดภัยก็มอยู่ในตัวของมนษย์เอง ถ้าคนหาความจรงภายใน


ตนเอง จะทําให้ขจัดอวิชชา จนสามารถพบ ทําให้เข้าใจโลก และชีวิต จึงแสวงหาความจริงโดย
ก. การบําเพ็ญทุกขกิริยา (Self Mortification) หมายถึง การทรมานตนเอง เพื่อ


ื่


แสวงหาคณวเศษ เนองจากมความเชื่อวาการเซนสังเวยสิ่งเหนอธรรมชาติ ไมได้เป็นวธีที่ดี






พอที่จะพบและเข้าใจความจรง แต่เชื่อวาต้องด้วยการแสวงหาคณวเศษในตนเอง โดยเฉพาะ


การกําจัดกิเลสภายในจิต อาศัยการทรมานร่างกาย ซึ่งต้องอาศัยความเพียรแรงกล้า และความ
อดทนเป็นพิเศษ เช่น การนอนบนหนาม ย่างตัวบนเตาไฟ อดอาหาร เฆี่ยนตีตนเองอยู่เสมอ
เป็นต้น จะช่วยขจัดกิเลสและพบสัจธรรมของชีวิต

ข. การประพฤติตนอย่างผู้ศกดิ์สิทธิ์ (Holy Life) เป็นพัฒนาการจากขั้นแรก
เนื่องจากมนุษย์มีวิวัฒนาการทางปัญญาสูงขึ้น อาศัยประสบการณ์และความเพียรพยายาม เพื่อ
รายวิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา (602309) หลักสูตรพุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา 37





คนหาสัจธรรมของชีวต โดยการไมต้องอ้างอิงอํานาจของสิ่งเหนอธรรมชาติ แต่พยายามใช้

สติปัญญาไตรตรองอย่างรอบคอบ จนสามารถเข้าถึงความรอดพ้นได้ แล้วนาผลการคนควาที่



ตนได้ประสบมานั้น ประกาศสั่งสอนมนุษย์อื่นๆ ให้รู้ตามไปด้วย

2.4. องค์ประกอบของศาสนา




จากตัวอย่างนยามของศาสนาที่ได้นาเสนอไปข้างต้น ทําใหเข้าใจวาศาสนาเป็น





ปรากฏการณ์ทางจิต เป็นวถีชีวตมนษย์ ศาสนาจึงเป็นบ่อเกิดของคณคาและวฒนธรรม ซงม ี
ึ่

ความสัมพันธ์ เชื่อมโยงกับประวัติศาสตร์มนุษยชาติ นักวิชาการด้านศาสนศาสตร ได้วเคราะห ์






องค์ประกอบของศาสนาที่หลากหลาย แต่องคประกอบสําคญม 5 ประการ (เดือน คาดี, 2545)
ได้แก่
2.4.1 ศาสดา หมายถึง ผู้ก่อตั้ง/สถาปนาศาสนา หรือให้หลักคําสอนเพื่อบรรลุความรอด
พ้น/สัจธรรม ซี่งมีลักษณะแตกต่างไปตามประเภทของศาสนา ได้แก่

2.4.1.1 ศาสดาศาสนาแนวเทวนยม หมายถึง พระเจ้าที่เสด็จมาเป็นมนษย์



หรอศาสนทูตของพระองค ซงดําเนนตามพระประสงค ที่จะช่วยเหลือกอบกู้มนษย์ใหพ้นบาป




ึ่
หรือความทุกข์ทรมาน จึงได้แสดงพระองค์ให้ปรากฏแก่มนุษย์ในลักษณะต่างๆ กล่าวคือ

ก. ศาสดาที่เป็นพระเจ้า/เทพเจ้าที่เสด็จลงมาเป็นมนษย์ (Divine Incarnation)
หมายถึง องค์พระเจ้า หรือเทพเจ้าที่เสด็จลงมาเป็นมนุษย์ ทรงสถาปนา/ปฏิรูป/ปกครองศาสนา
ด้วยพระองคเอง ได้แก่ พระนารายณ์อวตาร (พระวษณุ) ซงเป็นพระเจ้าในศาสนาพราหมณ์-
ึ่





ฮินดู (ตรีมูรติ /Trimurti) พระเยซูคริสตเจ้าในศาสนาครสต์ ซงครสตชนเชื่อวาพระองคเป็นพระ
ึ่

เจ้า (พระบุตรในพระตรเอกภาพ /Trinity) ผู้เสด็จมาบังเกิดเป็นมนษย์ นอกจากนน ใน

ั้


พระพุทธศาสนา แนวมหายานแบบทิเบตก็เชื่อในเรื่องการบังเกิดเป็นมนุษย์ด้วย คือ เชื่อวาองค ์
ทะไลลามะ ผู้เป็นประมุขทางศาสนจักรและอาณาจักรของทิเบต เป็นพระอวโลกิเตศวรโพธิสัตว์
ที่เสด็จมาบังเกิดเป็นมนุษย์
ข. ศาสดาที่เป็นนักพรตหรือฤาษี (Seers) ซึ่งบําเพ็ญตบะอย่างแรงกล้า สามารถ
ได้เห็น ได้ยินเสียงทิพย์ขณะจิตใจสงบ จดจําคําของพระเจ้า/เทพเจ้าได้ และนํามาจารกเป็นลาย


ลักษณ์อักษร กลายเป็นคัมภีรทางศาสนาขึ้น เช่น คมภีรพระเวท ซงเป็นศรติ (Sruti) หมายถึง
ึ่



พระดํารัสของพระเจ้าที่ตรัสแก่พวกพราหมณ์ ให้นํามาสอนแก่มนุษย์ต่อๆ กันไป
ค. ศาสดาที่เป็นประกาศก (Prophets) หมายถึง ผู้ประกาศข่าวดี หรอคาสอน


ของพระเจ้า และทํานายเหตุการณ์ต่างๆ ที่จะเกิดกับมนษย์ในโอกาสต่างๆ เช่น โมเสส ใน

ศาสนายูดาห์ ศาสดาพยากรณ์/ประกาศกไม่ได้ตั้งศาสนาขึ้นมาใหม แต่ได้นาพระดํารสของพระ



รายวิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา (602309) หลักสูตรพุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา 38

เจ้าให้คนทั่วไปปฏิบัติตาม ในศาสนาคริสต์ถือว่าศาสดาพยากรณ์/ประกาศกทุกท่านในศาสนายู











ดาห คอ ผู้เตรยมทางไวสําหรบพระเยซครสตเจ้า ใน ศาสนาอิสลามก็ยอมรบวามศาสดา
พยากรณ์/ประกาศก (นะบี) มาแล้วเป็นอันมาก เช่น โมเสส ในศาสนายูดาห และพระเยซครสต



เจ้าในศาสนาคริสต์ ศาสดาพยากรณ์หรือนะบีเหล่านั้น คือ ศาสดาพยากรณ์/ประกาศกของพระ


เจ้า แต่ในศาสนาอิสลามถือว่านะบีมุฮัมมัด เป็นศาสดาองคสุดท้าย ทําหนาที่เป็นศาสนทูตของ
พระเจ้า

2.4.1.2 ศาสดาศาสนาแนวเทวนยม หมายถึง มนษย์ผู้คนพบหลักสัจธรรมด้วย



ตนเอง หรือรวบรวมหลักธรรมคําสอน แล้วนามาประกาศเผยแผ่แก่ผู้อื่น และตั้งศาสนาของตน
ขึ้น โดยสอนให้พึ่งตนเอง ไมต้องกราบไหววงวอนขอพรจากสิ่งเหนอธรรมชาติ เพื่อความรอด




พ้น ได้แก่
ู้

ก. ศาสดาที่ตรสรด้วยตนเอง (Enlightened One) ด้วยความพากเพียร ตัดสละ
บําเพ็ญตน จนพบความจริงของชีวิต ได้แก่ พระสัมมาสัมพุทธเจ้า
ข. ศาสดาที่บําเพ็ญพรต จนบรรลุสัจธรรม (Extremist) เน้นการสละโลก และการ



บําเพ็ญพรตแบบทรมานตนด้วยหลักอหงสาอย่างยิ่งยวด จนพบความจรงของชีวต ได้แก่
ศาสดาในศาสนาเชน ที่เรียกว่า ตีรถังกร มีอยู่ 24 องค์ องค์สุดท้ายนามว่า มหาวระ (Mahavira,

ราวปี 599 ก่อน ค.ศ.) ที่สอนใหปฏิเสธเทวนยมแบบพราหมณ์ ยืนยันวาชีวตเป็นไปตามชะตา




กรรมนิยม (Fatalism)
ค. ศาสดาที่เป็นนกปราชญ์ (Scholastic Sages) ได้แก่ ศาสดาที่ไมได้ออกบวช


เป็นสมณะ หรือนักพรต แต่ดําเนินชีวิตอยู่อย่างผู้ครองเรอน แต่สนใจในศาสนา และการปฏิบัติ



เข้าใจสัจธรรมแตกฉาน รวบรวมระบบจรยธรรม หลักปฏิบัติตนในครอบครวและสังคม เช่น
ขงจื้อ หรือเล่าจื้อ เป็นต้น



2.4.2 พระคมภีรหมายถึง รองรอยที่เป็นลายลักษณ์อักษร บันทึกพระดํารส/พระวาจา


ของพระเจ้า รวมทั้งคาสอน ธรรมปฏิบัติของศาสดา และสานศษย์ที่สําคญ หรอข้อความที่




ึ่
บันทึกเหตุการณ์เกี่ยวกับศาสนาที่ท่องจํา แล้วจดบันทึก เป็นลายลักษณ์อักษรในเวลาต่อมา ซง
จัดไว้เป็นหมวดหมู่ตามลักษณะของแต่ละศาสนา



2.4.2.1 ศาสนาแนวเทวนยม พระคมภีรเป็นรองรอยถึงพระวจนะหรอคาสั่งของ



พระเจ้าแล้ว นอกจากนนยังเป็นการบันทึกประวติศาสตรของมนษยชาติที่สัมพันธ์กับพระเจ้า


ั้





ด้วย พระคมภีรของศาสนาแนวเทวนยม ได้แก่ อเวสตะ (The Avesta, ศาสนาโซโรอัสเตอร)



พระเวท (The Vedas, ศาสนาพราหมณ์-ฮนดู) โตราหและทัลมด (The Torah and Talmud,
ศาสนายูดาห์) ไบเบิ้ล (The Bible, ศาสนาคริสต์) อัลกุรอาน (The Quran, ศาสนาอิสลาม) และ
รายวิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา (602309) หลักสูตรพุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา 39





ครนถะสาหพ (The Granth, ศาสนาสิกข์) และ โคยิกิ นฮอนงิ เยนงิ-ชิกิ มนโย-ชุ (Ko-Ji-Ki
Nihon-Gi Yengi-Shiki Munyo-Shu, ศาสนาชินโต)




2.4.2.2 ศาสนาแนวอเทวนยม พระคมภีร เป็นบันทึกคาสอนของศาสดาที่สอน

เรื่องธรรมชาติของโลก และชีวต รวมทั้งลําดับเหตุการณ์ที่ศาสดาแสดงหลักธรรมคาสอน และ

บุคคลผู้ที่เกี่ยวข้อง อธิบายสภาวะธรรมชาติ และการกระทําของมนุษย์ และยังรวมถึงหลักธรรม

ปฏิบัติในการเป็นศาสนกชนด้วย พระคมภีรของศาสนาแนวอเทวนยม ได้แก่ เต๋า เต็ก เก็ง



(Tao Te Ching, ศาสนาเต๋า) เก็งและชู (The Ching and Shu, ศาสนาขงจื้อ) พระไตรปิฎก
(The Tripitaka, ศาสนาพุทธ) และ อาคมะ (The Agama, ศาสนาเชน)




2.4.3 ศาสนบรกร (นกบวชหรอสาวก) หมายถึง ผู้ที่พระเจ้าทรงเลือกสรร หรอผู้สละ
ตนเองเพื่อภารกิจของศาสนาที่ตนนับถือ และประกาศตนเป็นสาวก หรือผู้ภักดีต่อองค์ศาสดา


ศาสนาแนวเทวนิยม ศาสนบริกร คือ ผู้ที่พระเจ้าทรงเลือกสรร ใหดําเนนภารกิจ


ของศาสนา มหนาที่เกี่ยวข้องกับชีวตของคนทั้งปวง ตั้งแต่เกิดจนตาย การเป็นผู้นาในการ




ประกอบศาสนกิจต่างๆ เป็นผู้กําหนดรปแบบพิธีกรรม วนเวลา ในการประกอบศาสนกิจ โดย

ผ่านกระบวนการฝึกฝนอบรมอย่างเข้มข้น ศาสนบริกรของศาสนาแนวเทวนยมมทั้งการถือโสด

และการมีครอบครัวได้ ขึ้นกับหลักปฏิบัติของแต่ละศาสนา



ศาสนาแนวอเทวนยม ศาสนบรกร คอ ผู้เข้าสู่ธรรมวนยปฏิบัติตามหลักของ



ั้
ศาสดา/ศาสนา มีการฝึกฝน อบรม ขัดเกลาชีวิตมุ่งสู่ความรอดพ้น นอกจากนนยังต้องทําหนาที่
ฝึกฝนอบรมศาสนิกชน ช่วยเหลือสังคม และเป็นผู้นําในการประกอบศาสนกิจ

2.4.4 ศาสนสถานหมายถึง สถานที่เกิดขึ้นของศาสนา อันเกี่ยวกับชีวตของพระศาสดา

เช่น สถานที่ประสูติ สถานที่แสดงหลักธรรมคาสอน รวมทั้งสถานที่ประชุมกลุ่มสาวกใน

ระยะแรก โดยมรองรอยหลักฐานทางประวติศาสตรรบรองวาเป็นปูชนยสถาน เนองจากเป็น






ื่



สถานที่ที่เกี่ยวข้องกับพระศาสดา และการเกิดขึ้นของศาสนา เช่น วหารทองคา แหงเมอง

อมฤตสระ ในแคว้นปัญจาบ (ศาสนาสิกข์) เป็นต้น
ื่

2.4.5 สัญลักษณ์หรือพิธีกรรม (ศาสนพิธี) แต่ละศาสนาย่อมมพิธีกรรมเป็นเครองหมาย
ึ่

หรือสัญลักษณ์แตกต่างกันไป โดยใช้สิ่งที่เป็นรูปธรรมแทนสิ่งที่เป็นนามธรรม ซงมความหมาย
ึ่

อันละเอียดลึกซงโดยผ่านศาสนพิธี และศลปกรรมต่างๆ ที่รวมความเป็นหนงเดียวกันของศา
ึ้
ั้
ี้

สนก เมอพบสัญลักษณ์เหล่าน ทําใหเข้าใจในทันทีวาเป็นเรองของศาสนานนๆ เช่น พบ

ื่
ื่

ธรรมจักร ก็ทราบได้ว่าเป็นสัญลักษณ์ของศาสนาพุทธ เป็นต้น


ศาสนพิธี (พิธีกรรม) เป็นสัญลักษณ์อย่างหนงที่เชื่อมสัมพันธ์ระหวางมนษย์กับศาสนา
ึ่

ซึ่งอาจจะเป็นพิธีกรรมที่ปฏิบัติเป็นส่วนบุคคล หรือส่วนรวม ได้แก่ สวดภาวนาส่วนตัว หรอการ
รายวิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา (602309) หลักสูตรพุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา 40






รวมศาสนพิธีในโบสถ์/วด/มสยิด ซงมบรรยากาศแหงความศกดิ์สิทธิ์อยู่ด้วย ศาสนพิธี

ึ่

ื่
(พิธีกรรม) เป็นสัญลักษณ์ทางศาสนา เนองจาก เป็นแนวทางการรกษาศาสนธรรม และเป็น


เครื่องมือส่งเสริมความเชื่อศรทธาตามหลักคาสอนในศาสนา ทําใหเกิดความสัมพันธ์กับความ

จริงในศาสนา โดยเฉพาะอย่างยิ่งเป็นเครื่องหมายที่แสดงออกที่เห็นได้ชัดเจนที่สุดเป็นรปธรรม

เครองหมายศาสนาแบ่งออกได้หลายประเภทตามหลักการของศาสนานนๆ เช่น ด้าน
ั้
ื่

ประติมากรรม สถาปัตยกรรมและจิตรกรรม เป็นต้น แต่ละศาสนาจะต้องมศาสนพิธีของตนเอง

ึ่
ซงเป็นเครองหมายหรอสัญลักษณ์แตกต่างกันไปตามประเภทรปแบบและอุดมคติของ

ื่
แต่ละศาสนา

รายวิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา (602309) หลักสูตรพุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา 41

บทที่ 3

องค์ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวพระพุทธศาสนา

3.1 ความหมายของค าว่าพุทธะและพุทธศาสนา
6
5 ปี 6 เดือน ที่ผ่านมาความหมายของคาวา





พุทธะและพุทธศาสนาวนที่พระรตนตรยครบองค 3

ในพระพุทธศาสนา พุทธะ ตามภาษาบาลี พุทฺธ

แปลว่า "ผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน" หมายถึงบุคคลผู้ตรสร ู้
อริยสัจ 4 แล้วอย่างถ่องแท้

พระสัมมาสัมพุทธเจ้า เป็นพระบรมศาสดา

ของพระพุทธศาสนา ทั้งฝ่ายเถรวาท และมหายาน

ต่างก็นับถือพระพุทธเจ้าว่าเป็นศาสดาของตนเหมือนกัน แต่รายละเอียดปลีกย่อยต่างกัน

-ฝ่ายเถรวาท ใหความสําคญกับพระพุทธเจ้าองคปัจจุบัน คอ พระโคตมโคดมพุทธเจ้า




และกล่าวถึงพระพุทธเจ้าในอดีตกับในอนาคตบ้างแต่ไม่ให้ความสําคัญเท่า


-ฝ่ายมหายาน นับถือพระพุทธเจ้าของฝ่ายเถรวาททั้งหมด และมการสรางพระพุทธเจ้า



เพิ่มเติมขึ้นมาจนบางองค์มีลักษณะคล้ายเทพเจ้าของศาสนาฮินดูตามคมภีรฝ่ายพุทธ ถือกันวา




พระพุทธเจ้า พระโคตมโคดม พระองคดํารงพระชนมชีพอยู่ระหวาง 80 ปีก่อนพุทธศกราช
จนถึงเริ่มพุทธศักราช ซึ่งเป็นวันปรินิพพาน ตรงกับ 543 ปีก่อนครสตกาลตามตําราไทยอ้างอิง

ปฏิทินสุริยคติไทย และปฏิทินจันทรคติไทย และ 483 ปีก่อนคริสตกาลตามปฏิทินสากล
"พระพุทธศาสนา"
ึ่



ู้
คาวา พระพุทธศาสนา ประกอบด้วยคาวา พุทธะ ซงแปลวา ผู้ร กับคาวา ศาสนา ที่




ื่


แปลวา คาสั่งสอน รวมกันเข้าเป็น พุทธศาสนา แปลวา คาสั่งสอนของผู้ร เมอพูดวา พุทธ
ู้



ศาสนา ความเข้าใจก็ต้องแล่นเข้าไปถึงลัทธิปฏิบัติ และคณะบุคล ซึ่งเป็นผู้ปฏิบัติในลัทธิปฏิบัติ






ั้
ึ่
นน ไมใช่มความหมายแต่เพียงคาสั่งสอน ซงเป็นเสียงหรอเป็นหนงสือ หรอเป็นเพียง
ั้

ี้

ตํารบตําราเท่านน พระพุทธศาสนาที่เราทั้งหลายในบัดนได้รบนบถือและปฏิบัติเนองมาจาก

ื่
ื่
อะไร คือเราได้อะไรจากสิ่งที่เรียกว่า พระพุทธศาสนา นั้นมานับถือปฏิบัติในบัดน เมอพิจารณา
ี้

ดูแล้วก็เหนวา เราได้หนงสือ อย่างหนง บุคคล อย่างหนง หนงสือนนก็คอตําราที่แสดง



ึ่
ึ่

ั้


ี้
พระพุทธศาสนา บุคคนั้นก็คือพุทธศาสนิกที่แปลว่าผู้นับถือพระพุทธศาสนา พุทธศาสนกนมใช่

6
http://www.phutthathum.com, 21 มิถุนายน 2558.
รายวิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา (602309) หลักสูตรพุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา 42



ึ่


หมายเพียงแต่คฤหสถ์ หมายความถึงทั้งบรรพชิตคอนกบวช และคฤหสถ์คอผู้ซงนบถือ


ู่



ึ่
พระพุทธศาสนา พูดอีกอย่างหนงได้แก่ พุทธบรษทคอหมของผู้นบถือ พระพุทธเจ้า ดังที่

ี้





เรยกวา ภิกษ ภิกษณี อุบาสก อุบาสิกา แต่ในบัดนภิกษณีไมมแล้ว ก็มภิกษกับสามเณรและ







อุบาสกอุบาสิกา หรอบุคคที่เรยกวา พุทธมามกะ พุทธมามกา ก็รวมเรยกวาพุทธบรษทหรอ







ี้

พุทธศาสนิกทั้งหมด คอในบัดนมหนงสือซงเป็นตําราพระพุทธศาสนา และมบุคคลซงป็นพุทธ

ึ่
ึ่



ั่
ี้


ศาสนิกหรือเป็นพุทธบรษท ทั้ง 2 อย่างน หนงสือก็มาจากบุคคลนนเอง คอ บุคคลที่เป็นพุทธ
ี้
ศาสนิกหรือเป็นพุทธบริษัทได้เป็นผู้ทําหนงสือขึ้น และบุคคลดังกล่าวนก็ได้มสืบต่อกันเรอยมา
ื่


ตั้งแต่สมัยพุทธกาล และสืบต่อมาตั้งแต่จากที่เกิดของพระพุทธศาสนา มาจนถึงในต่างประเทศ



ของประเทศนั้น ดังเช่นในประเทศไทยในบัดนี้ คือว่าได้มพุทธศาสนกหรอพุทธบรษทสืบต่อกัน



ี้


มา จึงมาถึงเราทั้งหลายในบัดนี้ และเราทั้งหลายในบัดนก็ได้เป็นพุทธศาสนกคอพุทธบรษทใน

ปัจจุบัน และคนรุ่นต่อ ๆ ไปก็จะสืบต่อไปอีก
เมื่อทราบว่า เราในบัดนี้ได้ทราบพระพุทธศาสนาจากหนงสือและจากคณะบุคคลซงเป็น

ึ่
พุทธศาสนิก ดั่งที่กล่าวมาโดยย่อนี้แล้ว ก็ควรจะทราบต่อไปว่า เมื่อศึกษาจากหนังสือและบุคคล

ที่เป็นพุทธศาสนกชนที่เป็นครบาอาจารย์ต่อ ๆ กันมา จึงได้ทราบวาต้นเดิมของ


พระพุทธศาสนานั้น ก็คือ "พระพุทธเจ้า"




คําว่า พระพุทธะ แปลวา พระผู้ร ในภาษาไทยเราเติมคาวา เจ้า เรยกวา พระพุทธเจ้า

ู้
คอเอาความรของท่านมาเป็นชื่อ ตามพุทธประวติที่ทราบจากหนงสือทางพระพุทธศาสนา
ู้



ดังกล่าวนั้น พระพุทธเจ้าก็เป็นบุคคลคือเป็นมนุษย์เรานี่เอง ซึ่งมีพระประวัติดั่งที่แสดงไวในพระ

พุทธประวติ แต่วาท่านได้คนควาหาความร จนประสบความรที่เป็นโลกุตระ คอความรที่เป็น
ู้

ู้




ู้
ื่
ั้
ส่วนเหนือโลก หมายความง่าย ๆ ว่า ความรู้ที่เป็นส่วนโลกิยะหรือเป็นส่วนโลกนน เมอประมวล

ู้
ู้
เข้าแล้วก็เป็นความรที่เป็นในด้านสรางบ้าง ในด้านธํารงรกษาบ้าง ในด้านทําลายบ้าง ผู้รเอง

และความรู้นั้นเองก็เป็นไปในทางคดีโลก ซึ่งต้องเป็นไปตามคติธรรดาของโลก ต้องแก่ ต้องเจ็บ
ต้องตาย เพราะต้องเกี่ยวข้องอยู่กับโลก นอกจากนี้ยังเป็นทาสของตัณหาคือความดิ้นรนทะยาน
อยากของใจ ถึงจะเป็นเจ้าโลกแต่ไม่เป็นเจ้าตัณหา ต้องเป็นทาสของตัณหาในใจของตนเอง จึง



ู้
เรยกวายังเป็นโลกิยะ ยังไมเป็นโลกุตตรคออยู่เหนอโลก แต่ความรที่จะเป็นโลกุตระ คออยู่




ั้
เหนอโลกได้นนจะต้องเป็นความรที่ทําใหหลุดพ้นจากกิเลสและกองทุกข์ดั่งกล่าวได้

ู้


พระพุทธเจ้าเป็นมนษย์คนแรกที่ได้ปฏิญญาพระองควาเป็นผู้ตรสรพระธรรม ซงทําใหเป็น


ู้
ึ่

โลกุตระคืออยู่เหนือโลก คือทําให้ท่านผู้รู้นั้นเป็นผู้พ้นจากกิเลสและกองทุกข์ดั่งกล่าวนน ท่านผู้
ั้
ั้
ึ่
ประกอบด้วยความรู้ดั่งกล่าวมาน และประกาศความรนนสั่งสอน ได้ชื่อวาเป็นพระพุทธเจ้า ซง
ี้

ู้
เป็นต้นเดิมของพระพุทธศาสนา
รายวิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา (602309) หลักสูตรพุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา 43

พระธรรม ทีแรกก็เป็นเสียงที่ออกมาจากพระโอษฐ์ของพระพุทธเจ้า เป็นเสียงที่ประกาศ

ความจริงให้บุคคลทราบธรรมะที่พระองค์ได้ตรัสรู้ เพราะฉะนั้น เสียงที่ประกาศความจรงแก่โลก


ึ่
ี้






นก็เรยกกันวาพระธรรมส่วนหนง หรอเรยกวาพระพุทธศาสนา คอเป็นคาที่ออกมาจากพระ
โอษฐ์ของพระพุทธเจ้า เป็นคาสั่ง เป็นคาสอน ข้อปฏิบัติที่คาสั่งสอนนนชี้ ก็เป็นพระธรรมส่วน
ั้



ู่
ึ่
หนึ่ง ผลของการปฏิบัติก็เป็นพระธรรมส่วนหนึ่ง เหล่านเรยกวาพระธรรม หมชนได้ฟังเสียงซง
ี้



ออกจากพระโอษฐ์ของพระพุทธเจ้า ได้ความรพระธรรมคอความจรงที่พระพุทธเจ้าทรงสั่งสอน

ู้



จนถึงได้บรรลุโลกุตตรธรรม ธรรมะที่อยู่เหนอโลกตามพระพุทธเจ้า เรยกวา พระสงฆ์ คอหม ู่


ู้
ของชนที่เป็นสาวกคอผู้ฟังของพระพุทธเจ้า ซงเป็นผู้รพระธรรมตามพระพุทธเจ้าได้ พระสงฆ์
ึ่
ุ่


ู้

ดังกล่าวนเรยกวาพระอรยสงห มงเอาความรเป็นสําคญเหมอนกัน ไมได้มงวาจะต้องเป็น



ุ่

ี้

ื่
ู้

คฤหสถ์หรอจะต้องเป็นบรรพชิต และเมอรพระธรรมของพระพุทธเจ้าก็ประกาศตนนบถือ



พระพุทธเจ้า ที่มศรทธาแก่กล้าก็ขอบวชตาม ที่ไมถึงกับขอบวชตามก็ประกาศตนเป็นอุบาสก


อุบาสิกา จึงได้เกิดเป็นบริษัท 4 ขึ้น คือ ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา ในบรษท 4 น หมของ
ี้
ู่



ภิกษุก็เรียกว่าพระสงฆ์เหมือนกัน แต่เรียกว่าสมมติสงฆ์ สงฆ์โดยสมมติ เพราะว่าเป็นภิกษตาม
ื่







พระวนยด้วยวธีอุปสมบทรบรองกันวาเป็นอุปสัมบันหรอเป็นภิกษขึ้น เมอภิกษหลายรปมา


ประชุมกันกระทํากิจของสงฆ์ก็เรียกว่า สงฆ์
ึ่



พระพุทธเจ้า พระธรรม พระสงฆ์ที่เป็นอรยสงฆ์ทั้ง 3 น รวมเรยกวา พระรตนตรย ซง

ี้

เป็นสรณะที่พึ่งอย่างสูงสุดในพระพุทธศาสนา
ั้
ความเป็นอริยสงฆ์นนเป็นจําเพาะตน ส่วน

หมแหงบุคคลที่ดํารงพระพุทธศาสนาสืบต่อมาก็
ู่

คือพุทธบริษัทหรือพุทธศาสนกดังกล่าวมาข้างต้น

ในพุทธบรษทเหล่าน ก็มภิกษสงฆ์นแหละเป็น
ี้
ี่



ึ่


บุคคลสําคญ ซงเป็นผู้พลีชีวตมาเพื่อปฏิบัติดํารง


รกษาพระพุทธศาสนา นาพระพุทธศาสนาสืบ ๆ
ี้
ต่อกันมา จนถึงในบัดน
- การศกษาพุทธประวติ ควรเรยนร ู้





เกี่ยวกับลักษณะสังคมของชมพูทวปในสมย
พุทธกาลพอสังเขปเพื่อความเข้าใจและสามารถจะจําเนอหา ตลอดจนสถานที่ตั้งของเมองต่าง

ื้


ื่
ๆ รวมทั้งชื่อกษตรย์ผู้ปกครองแต่ละแควนได้โดยไมสับสน และเมอคนส่วนใหญ่นกถึง



พระพุทธศาสนาหรือพระพุทธเจ้า ก็จะนึกถึงประเทศอินเดียเป็นส่วนใหญ่ในฐานะที่เป็นดินแดน
ที่เป็นจุดกําเนดของพระพุทธเจ้า แต่ตามภูมศาสตรในสมยพุทธกาลนนยังไมมการแบ่งแยก




ั้


รายวิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา (602309) หลักสูตรพุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา 44


ี้
ี้

ดินแดนเหล่านเป็นประเทศอินเดีย เนปาล หรอประเทศใด แต่รวมเรยกดินแดนส่วนนวาเป็น

7
‚ชมพูทวีป‛
ในสมัยพุทธกาล คือสมัยที่พระพุทธเจ้ายังด ารงพระชนม์ชีพอยู่นั้น ชมพูทวีปยังมิได้แบ่งเป็นประเทศ
ต่าง ๆ ดังกล่าวมาข้างต้น หากแบ่งเป็น นครรัฐ หรือ แคว้น ต่าง ๆ เท่าที่พบหลักฐานปรากฏ มี 21 แคว้น ดังนี้

แคว้น เมืองหลวง ชื่อ ที่ตั้งในปัจจุบัน ปกครองโดย
ในอดีต ปัจจุบัน

1 มคธ ราชคฤห ์ ราชคีระ มณฑลพิหาร พระเจ้าพิมพิ
สาร, พระเจ้า

อชาตศัตรู

2 โกศล สาวัตถ ี สะเหต มณฑลโอธ พระเจ้ามหา

มะเหต โกศล, พระ

เจ้าปเสนทิ
โกศล

3 วัชช ี เวสาลี หรือ เบสาร์ บนฝั่งตะวันออกของแมน้ า มีการปกครอง

ไพศาล ี คันธกะ แบบสามัคคี
ธรรม

4 วังสะ โกสัมพ ี อัลลาฮา ใต้แม่น้ ายมุนา พระเจ้าอุเทน
บัด

5 อวันตี อุชเชนี อุชเชน ทางตะวันออกเฉียงเหนือ พระเจ้าจัณฑ
ของแคว้นอัสกะ ปัตชติปกครอง

6 สักกะ กบิลพัสดุ์ รัมมินเด แขวงเปชวาว์ เขตประเทศ พระเจ้าส ุ
เนปาล ทโธทนะ

7
https://th.wikipedia.org/wiki/ประวัติศาสนาพุทธ, 21 มิถุนายน 2558.
รายวิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา (602309) หลักสูตรพุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา 45

(ราชวงศ์
ศากยะ)

7 โกลิยะ เทวทหะ - เขตประเทศเนปาล ราชวงศ์โกลิยะ
หรือ ราม

คาม

8 มัลละ กุสินารา กาเซีย บริเวณที่แม่น้ าคันธกะ มัลละกษัตริย์

หรือ กุสาวดี บรรจบกัน

9 กาส ี พาราณส ี เบนาเรส บริเวณแม่น้ าคงคากับ -

แม่น้ ายมุนาบรรจบกัน

10 คันธา ตักกสิลา - ลุ่มแม่น้ าสินธุตอนบน -

ระ

11 อังคะ จัมปา ภคัล มณฑลเบงกอล -

ปรุมณ

12 เจติ โสตถิวดี - ถัดจากแคว้นอวันตีไปทาง -

ตะวันออกเฉียงใต้

13 กุรุ อันทปัตถ ์ - มลฑลปัญจาบ -

14 ปัญจา กัมปิลละ - มลฑลอัครา -
ละ

15 กัมโพ ทวารกะ - ใต้แคว้นคันธาระ -
ชะ

มัจฉะ สาคละ - ระหว่างแม่น้ าสินธุกับ -
16
แม่น้ ายมุนาตอนบน

17 สุร มถุระมัตตรา - ระหว่างแม่น้ าสินธุกับ -
เสนะ แม่น้ ายมุนาตอนล่าง

รายวิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา (602309) หลักสูตรพุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา 46

18 อัสสกะ โปตล ิ - ลุ่มแม่น้ าโคธาวารี -

19 ภัคคะ สุสุงมารคีระ - - -

20 วิเทหะ มิถิลา - - -

อังคุต อาปณะ
21
ตราปะ

......จนถึงสมัยเจ้าชายสุทโธทนะ หรือพระเจ้าสุทโธทนะ แห่งนครกบิลพัสดุ์ กับ เจ้าหญิง



สิริมหามายา หรือ พระนางสิริมหามายาแหงกรงเทวทหะได้อภิเษกสมรสแล้วทรงปกครองกรง

กบิลพัสดุ์แห่งแควนสักกะ และทรงใหกําเนดพระ



ราชโอรสคือ เจ้าชายสิทธัตถะ ทั้งสองพระองคจึง

ทรงเป็นพระพุทธบิดาและพระพุทธมารดา

ั้
พระนางสิรมหามายานน ทรงอธิษฐานตั้ง
ปณิธานเพื่อเป็นพระพุทธมารดาครงสมยอดีต

ั้



ู้
กาลในยุคของพระวปัสสีพุทธเจ้ามาตรสร นบแต่
ั่
นั้นจึงทําให้พระนางมีมโนมนในการบําเพ็ญบารม ี
เพื่อการที่จะได้เป็นพระพุทธมารดาของพระ
โพธิสัตว์ซึ่งจะมาตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้าในอนาคต



พระนางทรงเป็นสตรที่ทรงมบุญญาธิการ ทรง


บรบูรณ์พรอมด้วยอิตถีลักษณะ งดงามด้วยสิร ิ


สมบัติแหงเบญจกัลยาณีเป็นรตนกัลยา ทรงม ี


ความเป็นเยี่ยมในธรรมที่มนษย์ปกติธรรมดามได้ม ทรงงดงามด้วยจรยวตรอันบรบูรณ์ ทรง




สมบูรณ์ด้วย การบริจาคทาน ทรงถืออุโบสถศีล
ื่

จนเมอเจ้าชายสุทโธทนะเจรญวยได้ 16 พระชันษา พระเจ้าสีหหนราชบิดาแหงศาก





ยวงศ์จึงมีพระประสงค์จะให้ครองราชย์ต่อจากพระองค์ จึงได้ให้พราหมณ์ได้ออกคนหาอิสตรที่ม ี
ลักษณะพรอมบรบูรณ์เพื่ออภิเษกแก่ราชโอรสเจ้าชายสุทโธทนะ จนพราหมณ์ได้พบกับเจ้า





หญิงสิริมหามายาผู้เป็นธิดาพระราชาชนาธิปแหงกรงเทวทหะ พราหมณ์จึงได้ถวายสรอยพระ
ึ่

ั้
ศอเพื่อเป็นของหมน พระนางจึงขอใหพราหมณ์ได้เจรจากับพระราชบิดาของพระนางซงพระ

ราชบิดาทรงมพระบรมราชานญาต ทั้ง 2 ราชวงศจึงได้ตกลงจัดพิธิอภิเษกสมรสแก่เจ้าชายสุ


ู่
ู่
ทโธทนะและเจ้าหญิงสิรมหามายาท่ามกลางหมญาติทั้งสองฝ่ายเป็นที่ยิ่งใหญ่ โดยมหมทวย


รายวิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา (602309) หลักสูตรพุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา 47



ื่

เทพเป็นสักขีพยานเข้ารวมพิธีเมออภิเษกสมรถแล้วพระเจ้าสุทโธทนะได้เป็นกษตรย์ปกครอง
แคว้นสักกะ
ในสมัยนั้นสักกะเป็นแควนเล็ก ๆ ไมมกําลังทหารกล้าแข็ง อยู่ภายใต้การปกครองของ







ึ่
แควนโกศล คอ ตกเป็นประเทศราชซงพระเจ้ามหาโกศลกษตรย์แหงแควนโกศลได้ใหอํานาจ



การปกครองแก่พระเจ้าสุทโธทนะตามสมควร ดังนนจึงมการปกครองแบบประชาธิไตยแบบสืบ
ั้


สันตติวงศ์ ต่อมาภายหลังเมื่อเจ้าชายสิทธัตถะ เจ้าชายนันทะและเจ้าชายราหล ทรงออกผนวช


หมดแล้ว ระบอบการปกครองจึงเปลี่ยนเป็นแบบสามคคธรรม คอ เจ้าศากยะผลัดเปลี่ยนกัน

8
ปกครองแคว้น วาระละ 1ปี

1. แคว้นมหารัฐมคธ หรือ แควนมคธ เมืองหลวงชื่อ ราชคฤห์ กษัตริย์ผู้ปกครองคือ

พระเจ้าพิมพิสาร ทรงปกครองโดยระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ ต่อมาเมื่อพระราชโอรสคือ

พระเจ้าอชาตศัตรู กระทําปิตุฆาต ฆ่าพระราชบิดา ตามคํายุยงของพระเทวทัต และขึ้นเสวย

ราชย์เป็นกษัตริย์ปกครองสืบต่อมา พระองค์ทรงปกครองในระบอบเดิม หลังพุทธกาลเล็กน้อย
พระเจ้าอชาตศัตรูทรงย้ายเมืองหลวงจากราชคฤหไปตั้ง ณ เมืองปาตลีบุตร และรบชนะแควน


วัชชี ได้แคว้นนี้เป็นเมืองขึ้น

8
https://www.gotoknow.org/posts/373665, 22 มิถุนายน 2558.
รายวิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา (602309) หลักสูตรพุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา 48

2. แคว้นมหารัฐโกศล หรือ แควนโกศล เมืองหลวงชื่อ สาวัตถี กษัตริย์ผู้ปกครองคือ

พระเจ้ามหาโกศล และพระราชโอรส คือ พระเจ้าปเสนทิโกศล ปกครองสืบต่อมาพระเจ้ามหา
โกศลเป็นกษัตริย์รุ่นเดียวกับ พระเจ้าสุทโธทนะ แห่งแคว้นสักกะ(ราชวงศ์ศากยะ) ส่วนพระ



เจ้าปเสนทิโกศลทรงเป็นพระสหายกับพระเจ้าพิมพิสารแห่งแควนมคธ มหาลีแหงแคว้นวัชชี

พันธุละแห่งแคว้นมัลละ เจ้าชายสิทธัตถะแห่งแควนสักกะ (แคว้นสักกะเป็นเมืองขึ้นอยู่ในอาณัติ
การปกครองของแคว้นโกศล)


3. แคว้นมหารัฐวังสะ หรือ แควนวังสะ เมืองหลวงชื่อโกสัมพี กษัตริย์ผู้ปกครองคือ พระ
เจ้าอุเทน กรุงโกสัมพีเป็นศูนย์กลางการค้าสําคัญในสมัยพุทธกาล มีการติดต่อกับแคว้นโกศล




แควนมคธ แควนมัลละ และแคว้นอวนตี
4. แคว้นมหารัฐอวันตี หรือ แคว้นอวนตีเมืองหลวงชื่ออุชเชนี กษัตริย์ผู้ปกครองคือ พระ

เจ้าจัณฑปัตโชติ เคยติดต่อกับแคว้นมคธ และทําสงครามกับแคว้นวังสะ

ื่
5. แคว้นมหารัฐวัชชี หรือ แควนวัชชี เมืองหลวงชอเวสาลี มีการปกครองแบบสามัคค ี

ึ่
ธรรม ซงบางท่านเรียกว่าการปกครองแบบ สาธารณรัฐประชาธิปไตยยุคแรก แคว้นที่ใช้การ

ปกครองแบบนี้มีในสมัยพุทธกาลมีหลายรัฐ เช่น แคว้นสักกะ แควนมัลละ เป็นต้น
หลังสมัยพุทธกาลเล็กน้อย แคว้นวชชีพ่ายแพ้แก่พระเจ้าอชาตศัตรู จึงถูกรวมการ

ปกครองเข้ากับแคว้นมคธ

3.2 การศึกษาพุทธประวัติและพุทธศาสนา
9
พุทธประวัติ / ประวัติของพระบรมศาสดา

สกุลก าเนดและปฐมวัย

ก่อนพุทธศักราช 80 ปี พระนางสิริมายา ราชธิดาของกษัตริย์โกลิยวงค์ผู้ครองกรุงเทวท

หะ พระมเหสีของพระเจ้าสุทโธทนะ กษัตริย์ผู้ครองกรุงกบิลพัสดุ์ ทรงประสูติพระโอรส เมื่อวัน


ึ่

ศุกร์ ขึ้น 15 ค่ํา เดือน 6 ปีจอ ณ สวนลุมพินีวน ซงตั้งอยู่ระหว่างกรงกบิลพัสดุ์กับกรุงเทวทหะ
(ปัจจุบัน คือ ตําบลรุมมินเด ประเทศเนปาล)

9
https://chaiyanann.wordpress.com, 22 มิถุนายน 2558.
รายวิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา (602309) หลักสูตรพุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา 49


การสัมมนาพระพุทธศาสนามีกี่ขั้นตอน อะไรบ้าง

1 ขั้นเตรียมการ ก าหนดหัวข้อ กิจกรรมที่จะจัดสัมมนา สื่อ / อุปกรณ์ จัดเตรียมสถานที่ ก าหนดตัววิทยากร วัน / เวลา / ที่จะจัดสัมมนา 2 ขั้นดาเนินการ บอกหลักเกณฑ์การสัมมนา ดาเนินการสัมมนาตามที่กาหนดไว้ 3 ขั้นสรุป รวบรวมข้อมูลทั้งหมด สรุป สาระส าคัญ แนวคิด และข้อเสนอแนะ ทั้งหมดที่ได้จากการสัมมนา ประโยชน์ของการสัมมนา

สัมมนาทางพระพุทธศาสนาหมายถึงอะไร

การสัมมนา คือการประชุมเพื่อแลกเปลี่ยนความรู้และความคิดเห็น เพื่อหาข้อสรุปในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง โดยใช้หลักการ วิธีการ หรือกระบวนการอย่างใดอย่างหนึ่ง ในชั้นนี้ เป็นการจัดสัมมนาพระพุทธศาสนาเกี่ยวกับการแก้ปัญหาและการพัฒนา โดยเน้นไปที่การพัฒนาสังคมและการจัดระเบียบสังคม โดยใช้หลักการ วิธีการ หรือกระบวนการทางพระพุทธศาสนา ผล ...

การสัมมนาหมายถึงอะไร

ความหมายของการสัมมนา o การสัมมนาเป็นการประชุมรูปแบบหนึ่งที่มีวัตถุประสงค์เพื่อแลกเปลี่ยน ความรู้ ความคิด และหาข้อสรุป หรือข้อเสนอแนะในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง ผลสรุปที่ได้ถือว่าเป็นเพียงข้อเสนอแนะ ส่วนผู้ที่เกี่ยวข้องจะน าไปปฏิบัติ ตามหรือไม่ก็ได้ (ราชบัณฑิตยสถาน, 2546)

ประโยชน์ของการจัดสัมมนามีอะไรบ้าง

1.ได้ร่วมแชร์ไอเดียใหม่ๆ เกี่ยวกับการการพัฒนาองค์กร ยิ่งถ้าได้วิทยากรที่มีความรู้ ก็จะได้ประโยชน์สูงสุดจากการจัดงานด้วยเช่นกัน 2.สร้างความสามัคคีในองค์กร การเช่าห้องประชุม เพื่อจัดงานสัมมนาช่วยให้บุคลากรในองค์กร ได้มีความใกล้ชิดสนิทสนมกันมากขึ้นร่วมงานกันได้ดี ความก้าวหน้าขององค์กรก็จะดียิ่งขึ้น