ตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาด ข้อเสีย

ตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาด ข้อเสีย

ตลาดแข่งขันไม่สมบรูณ์
         ตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์ ตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์เป็นลักษณะของตลาดสินค้าอุตสาหกรรมเป็นส่วนใหญ่ ซึ่งในตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์ประกอบด้วยตลาด 3 ลักษณะ คือ ตลาดผูกขาด ตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาด และตลาดผู้ขายน้อยราย เส้นอุปสงค์หรือเส้นราคาและเส้นรายรับส่วนเพิ่มในตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์  ซึ่งประกอบด้วยตลาดทั้งสามลักษณะนั้นมีลักษณะเหมือนกัน  การอธิบายดุลยภาพในตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์จะใช้เส้นอุปสงค์และเส้นรายรับเพิ่มในลักษณะเดียวกัน ซึ่งในบทนี้จะศึกษาลักษณะของตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์ การกำหนดราคาในตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์และศึกษาตลาดผูกขาดก่อน
ลักษณะของตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์
         1. ผู้ขายมีจำนวนไม่มาก ในตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์ลักษณะของตลาดจะตรงกันข้ามกับตลาดแข่งขันสมบูรณ์ ผู้ขายมีจำนวนไม่มาก อาจเนื่องจากเป็นกิจการที่ผูกขาดโดยรัฐ หรือการให้สัมปทานแก่เอกชนโดยรัฐ จำนวนผู้ผลิตไม่มากอาจด้วยเทคโนโลยีการผลิตที่ซับซ้อน การลงทุนที่สูงเกินไป เป็นต้น
         2. ลักษณะสินค้าไม่เหมือนกันทุกประการ สินค้ามีลักษณะคล้ายกันแต่ไม่เหมือนกันอาจจะแตกต่างกันที่คุณภาพ การบริการ การโฆษณา บรรจุ หีบห่อ หรือต่างกันที่ รุ่น
         3. การเข้าหรือออกจากการผลิตทำได้ยาก การเข้าไปผลิตแข่งขัน หรือออกจากการผลิตทำได้ยากเนื่องจาก ต้องมีลิขสิทธิ์ มีเทคโนโลยี และมีการลงทุนที่สูงในการผลิต ดังนั้นการเข้าไปผลิตแข่งขันทำได้ยากและการจะออกจากการแข่งขัน หรือเลิกกิจการก็ทำได้ยาก เช่นกันเนื่องจากการลงทุนที่สูง และสัญญาการลงทุนบางประการ
         4. ความรู้ในเรื่องการตลาดไม่สมบูรณ์ ทั้งผู้ซื้อและผู้ขายไม่มีความรู้เรื่องการตลาดหรือข้อมูลการตลาดอย่างสมบูรณ์ทำให้ราคาแตกต่างกัน
         การกำหนดราคาในตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์ เนื่องจากในตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์ราคามีหลายระดับราคา การกำหนดราคาในตลาดแบบต่าง ๆ ก็จะกำหนดราคาแตกต่างกัน

ตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาด ข้อเสีย

          https://www.l3nr.org/posts/261204

ตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาด ข้อเสีย

    เมื่อกล่าวถึงการบริหารธุรกิจแบบผูกขาดนี้ อาจจะไกลตัวมาก ๆ สำหรับผู้ประกอบการรายเล็กถึงกลางอย่างพวกเรา เพราะตลาดที่เรามีส่วนร่วมส่วนใหญ่จะเป็นตลาดผู้ขายน้อยราย (Oligipoly) เช่น ผู้ให้บริการเครือข่ายโทรศัพท์มือถือ, เครื่องบิน, น้ำมัน, รถยนต์ เป็นต้น และตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาด (Monopolistic Competition) เช่น สบู่, อุปกรณ์ช่าง, เสื้อผ้า, ปากกา, ระบบออนไลน์, เครื่องใช้ไฟฟ้า เป็นต้น

ข้อดีของตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาดคืออะไรบ้าง

(1) มีผู้ผลิตและผู้บริโภครายย่อยๆเป็นจำนวนมาก (2) ผู้ผลิตรายใหม่มีอิสระในการเข้ามาแข่งขัน/ผู้ผลิตรายเก่ามีอิสระในการปิดกิจการ ลักษณะที่ใกล้เคียงกับตลาดผูกขาด สินค้าของผู้ผลิตแต่ละรายมีลักษณะแตกต่างกันเล็กน้อย สินค้าเหล่านั้นยังคงใช้ทดแทนกันได้เป็นอย่างดี

ตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาดคืออะไรบ้าง

ตลาดกึ่งแข่งขัน กึ่งผูกขาด คือ ตลาดที่มีผู้ขายเป็นจ านวนมาก จึงท าให้ผู้ขายแต่ละรายมีอิทธิพลต่อ ราคาสินค้าในตลาดน้อยมาก และท าให้ การด าเนินนโยบายของผู้ขายรายหนึ่ง ๆ ไม่กระทบต่อผู้ขายรายอื่น ๆ ในตลาด สินค้าในตลาดนี้มีลักษณะแตกต่างกัน แต่สามารถใช้ทดแทนกันได้

ข้อเสียของตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์ คืออะไร

1. ผู้ขายมีจำนวนไม่มาก ในตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์ลักษณะของตลาดจะตรงกันข้ามกับตลาดแข่งขันสมบูรณ์ ผู้ขายมีจำนวนไม่มาก อาจเนื่องจากเป็นกิจการที่ผูกขาดโดยรัฐ หรือการให้สัมปทานแก่เอกชนโดยรัฐ จำนวนผู้ผลิตไม่มากอาจด้วยเทคโนโลยีการผลิตที่ซับซ้อน การลงทุนที่สูงเกินไป เป็นต้น

ดุลยภาพในระยะสั้นของตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาดคือข้อใด

จุดดุลยภาพระยะสั้นของผู้ขายในตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาดอยู่ณ จุดที่ SMC = MRd โดยราคาจะอยู่ณ จุดที่เส้น dd ตัดกับ DD โดยดุลยภาพระยะสั้นผู้ขายอาจจะได้ กําไรเกินปกติ (excess profit) กําไรปกติ (normal profit) หรือขาดทุน (loss) ก็ได้ โดย ผู้ผลิตจะผลิตต่อไปตราบเท่าที่ AVC ของผู้ผลิตยังน้อยกว่าหรือเท่ากับราคาที่ขายได้