เงินเดือน 25,000 หัก ประกันสังคม เท่า ไหร่

  • 13 ม.ค. 2565
  • 2.9k

สำนักงานประกันสังคม เอาใจมนุษย์เงินเดือนส่งข้อมูลเพื่อ เช็กให้ชัวร์อีกครั้ง ทำงานกันมาทั้งเดือน รายได้ต่อเดือนเท่านี้ มนุษย์เงินเดืนจะต้องจ่ายประกันสังคมเท่าไหร่กันแน่

ผู้ประกันตนมาตรา 33

คือ ลูกจ้างที่ทำงานในสถานประกอบการที่มีลูกจ้าง ตั้งแต่ 1 คนขึ้นไป ผู้ประกันตนต้องมีอายุ ตั้งแต่ 15 ปีบริบูรณ์ขึ้นไป
และ อายุไม่เกิน 60 ปีบริบูรณ์

ยกตัวอย่าง เงินเดือน 10,000 บาท จะถูกหักเพื่อนำส่งประกันสังคม (10,000 x 5%) = 500 บาท

เงินเดือน 15,000 บาท จะถูกหักเพื่อนำส่งประกันสังคม (15,000 x 5%) = 750 บาท

กรณีเงินเดือนเกิน 15,000 บาท ให้รายงานค่าจ้างตามจริง สำนักงานประกันสังคมจะคำนวณเงินสมทบฐานค่าจ้างสูงสุดไม่เกิน 15,000 บาท เช่นเงินเดือน 25,000 บาทจะถูกหักเพื่อนำส่งประกันสังคม (15,000 x 5%) = 750 บาท

เพดานสูงสุดอยู่ที่ 750 บาท

ข้อแนะนำสำหรับบรรดานายจ้าง อย่าลืม 
ส่งเงินสมทบตรงตามตามค่าจ้างจริงทุกเดือน เพื่อรักษาสิทธิประโยชน์แก่ลูกจ้างที่อยู่ในมาตรา 33

นายจ้างและลูกจ้าง จะต้องจ่ายเงินสมทบในอัตราที่เท่ากัน คือ ร้อยละ 5 ต่อเดือน
โดยการคำนวณเงินสมทบ จะคำนวณจากค่าจ้างที่ลูกจ้างได้รับ
-ต่ำสุดเดือนละ 1,650 บาท สูงสุดเดือนละ 15,000 บาท
-หากค่าจ้างไม่ถึง 1,650 บาท ให้คำนวณจากฐานค่าจ้าง 1,650 บาท
*หากค่าจ้างเกินกว่า 15,000 บาท ให้คำนวณจากฐานค่าจ้าง 15,000 บาท

หมายเหตุ : ปกติแล้วการนำส่งประกันสังคมมาตรา 33 จะเป็นหน้าที่ของนายจ้างที่จะต้องนำส่งให้พนักงาน ซึ่งเราสามารถเช็กเงินสะสมประกันสังคมได้ว่า บริษัทได้ส่งให้เราครบถูกต้องไหม

ทั้งนี้ หากบริษัทฯ ไม่ได้ส่งให้เราตามที่แจ้งแนะนำให้รีบติดต่อสำนักงานประกันสังคมพื้นที่ๆ รับผิดชอบต่อไป

ทั่วไป

13 ม.ค. 2565 เวลา 12:40 น.87.3k

อัพเดทจาก "สำนักงานประกันสังคม" เกี่ยวกับเงินเดือนของผู้ประกันตนมาตรา 33 ต้องถูกหักจ่าย "ประกันสังคม" เท่าไหร่กันบ้าง เช็คเลย

อัพเดทจาก "สำนักงานประกันสังคม" เกี่ยวกับเงินเดือนของผู้ประกันตนมาตรา 33 ต้องถูกหักจ่าย "ประกันสังคม" เท่าไหร่กันบ้าง เช็คเลยที่นี่ 

สำหรับ ประกันสังคม ผู้ประกันตนมาตรา 33 คือ ลูกจ้างที่ทำงานในสถานประกอบการที่มีลูกจ้างตั้งแต่ 1 คนขึ้นไป ผู้ประกันตนต้องมีอายุตั้งแต่ 15 ปีบริบูรณ์ขึ้นไปและอายุไม่เกิน 60 ปีบริบูรณ์

เงินเดือนเท่านี้จ่าย "ประกันสังคม" เท่าไหร่?

1.เงินเดือน 10,000 บาท : นำส่งประกันสังคม 10,000 x 5% เท่ากับ 500 บาท

2. เงินเดือน 15,000 บาท : นำส่งประกันสังคม 15,000 x 5% เท่ากับ 750 บาท

3.เงินเดือนมากกว่า 15,000 บาท รายงานตัวเลขเงินเดือนตามจริง อย่างไรก็ตาม สำนักงานประกันสังคมจะคำนวณเงินสมทบฐานค่าจ้างสูงสุดไม่เกิน 15,000 บาท หากเงินเดือนมากกว่าจำนวนดังกล่าวก็จะถูกหักนำส่งประกันสังคมเท่ากับ 750 บาท ซึ่งเป็นอัตราเพดานสูงสุด 

นายจ้างอย่าลืม : นายจ้างและลูกจ้าง จะต้องจ่ายเงินสมทบในอัตราที่เท่ากัน คือ ร้อยละ 5 ต่อเดือน โดยการคำนวณเงินสมทบ จะคำนวณจากค่าจ้างที่ลูกจ้างได้รับต่ำสุดเดือนละ 1,650 บาท สูงสุดเดือนละ 15,000 บาท 

หากค่าจ้างไม่ถึง 1,650 บาท ให้คำนวณจากฐานค่าจ้าง 1,650 บาท และหากค่าจ้างเกินกว่า 15,000 บาท ให้คำนวณจากฐานค่าจ้าง 15,000 บาท

สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมที่สายด่วน 24 ชั่วโมง โทร.1506 หรือเว็บไซต์ www.sso.go.th

ที่มา : สำนักงานประกันสังคม

ผู้ประกันตนมาตรา 33 หรือ ลูกจ้าง ที่ทำงานในสถานประกอบการที่มีลูกจ้าง ตั้งแต่ 1 คนขึ้นไป โดยผู้ประกันตนต้องมีอายุตั้งแต่ 15 ปีบริบูรณ์ขึ้นไป และ อายุไม่เกิน 60 ปีบริบูรณ์ ในแต่ละเดือนนายจ้าง จะต้องหักเงินสมทบจากเงินเดือนเราไปทุกเดือน เพื่อส่งเข้ากองทุนประกันสังคม ให้เราได้รับสิทธิประโยชน์ต่าง ๆ แต่ทุกคนเคยรู้กันหรือไม่คะว่า เรามีเงินเดือนเท่านี้ จะถูกนายจ้างหักเงินสมทบไปเท่าไหร่ ? เพื่อไม่ให้เสียสิทธิ มีค่า นิวส์ จึงสรุปรายละเอียดมาฝากค่ะ

1.ผู้ประกันตนที่มีเงินเดือน 10,000 บาท จะถูกหักเพื่อนำส่งประกันสังคม (10,000 x 5%) = 500 บาท

2.ผู้ประกันตนที่มีเงินเดือน 15,000 บาท จะถูกหักเพื่อนำส่งประกันสังคม (15,000 x 5%) = 750 บาท

3.กรณีเงินเดือนเกิน 15,000 บาท ให้รายงานค่าจ้างตามจริง สำนักงานประกันสังคมจะคำนวณเงินสมทบฐานค่าจ้างสูงสุดไม่เกิน 15,000 บาท เช่น

เงินเดือน 25,000 บาทจะถูกหักเพื่อนำส่งประกันสังคม (15,000 x 5%) = 750 บาท เป็นต้น

เพดานสูงสุดอยู่ที่ 750 บาท

ในส่วนของนายจ้างต้องอย่าลืมส่งเงินสมทบตรงตามค่าจ้างจริงทุกเดือนเพื่อรักษาสิทธิประโยชน์แก่ลูกจ้างที่อยู่ในมาตรา 33 ซึ่งนายจ้างและลูกจ้าง จะต้องจ่ายเงินสมทบในอัตราที่เท่ากัน คือ ร้อยละ 5 ต่อเดือน โดยการคำนวณเงินสมทบ จะคำนวณจากค่าจ้างที่ลูกจ้างได้รับ ดังนี้

  • ต่ำสุดเดือนละ 1,650 บาท สูงสุดเดือนละ 15,000 บาท
  • หากค่าจ้างไม่ถึง 1,650 บาท ให้คำนวณจากฐานค่าจ้าง 1,650 บาท
  • และหากค่าจ้างเกินกว่า 15,000 บาท ให้คำนวณจากฐานค่าจ้าง 15,000 บาท

หมายเหตุ : ปกติแล้วการนำส่งประกันสังคมมาตรา 33 จะเป็นหน้าที่ของนายจ้างที่จะต้องนำส่งให้พนักงาน ซึ่งเราสามารถเช็กเงินสะสมประกันสังคมได้ว่า บริษัทได้ส่งให้เราครบถูกต้องไหม

ทั้งนี้ หากบริษัทไม่ได้ส่งให้สำนักงานประกันสังคมตามที่แจ้ง แนะนำให้รีบติดต่อสำนักงานประกันสังคมพื้นที่รับผิดชอบ

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

แปลภาษาไทย ไทยแปลอังกฤษ โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน lmyour แปลภาษา ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv แปลภาษาอาหรับ-ไทย แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip แอพแปลภาษาอาหรับเป็นไทย ค้นหา ประวัติ นามสกุล ห่อหมกฮวกไปฝากป้า หนังเต็มเรื่อง ไทยแปลอังกฤษ ประโยค Terjemahan เมอร์ซี่ อาร์สยาม ล่าสุด แปลภาษาจีน กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น ่้แปลภาษา Google Translate ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย พร บ ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 วิธีใช้มิเตอร์วัดไฟดิจิตอล สหกรณ์ออมทรัพย์กรมส่งเสริมการปกครอง ส่วนท้องถิ่น ห่อหมกฮวก แปลว่า Bahasa Thailand Thailand translate mu-x มือสอง รถบ้าน การวัดกระแสไฟฟ้า ด้วย แอมมิเตอร์ การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 4 ก่อนจะนิ่งก็ต้องกลิ้งมาก่อน เนื้อเพลง ก่อนจะนิ่งก็ต้องกลิ้งมาก่อน แคปชั่น พจนานุกรมศัพท์ทหาร ภูมิอากาศ มีอะไรบ้าง สถาบันพัฒนาบุคลากรท้องถิ่น อาจารย์ ตจต อเวนเจอร์ส ทั้งหมด เขียน อาหรับ แปลไทย ใบรับรอง กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน Google map Spirited Away 2 spirited away ดูได้ที่ไหน tor คือ จัดซื้อจัดจ้าง กินยาคุมกี่วัน ถึง ปล่อยในได้ ธาตุทองซาวด์เนื้อเพลง บช.สอท.ตำรวจไซเบอร์ ล่าสุด บบบย มิติวิญญาณมหัศจรรย์ ตอนจบ รหัสจังหวัด อําเภอ ตําบล ศัพท์ทางทหาร military words สอบ O หยน