งานวิจัยเกี่ยวกับสุขภาพผู้สูงอายุ 2564

การจัดการความรู้ รวมบทความผู้สูงอายุ ปีพศ. 2562-2564

Show

บทความ ปีพศ 2562

บทความเดือน มกราคม 2562

การสร้างเสริมความแตกฉานด้านสุขภาพ

สง่างามตามวัย

บทความเดือน กุมภาพันธ์  2562

heatstroke

ผักริมรั้ว

บทความเดือน มีนาคม 2562

การแก้ไข ปัญหาปัสสาวะเล็ด

บทความเดือน เมษายน  2562

การใช้ยาในผู้สูงอายุ

บทความเดือน พฤษภาคม 2562

สมุนไพรไทย-สมองเสื่อม

อาหารช่วยชลอเข่าเสื่อม

บทความเดือน มิถุนายน  2562

การส่งเสริมการมีเพศสัมพันธ์ในผู้สูงอายุ 

บทความเดือน กรกฎาคม 2562

ทำอย่างไรให้ห่างไกลสมองเสื่อม

สมาธิบำบัด SKT

 

บทความปี พศ.  2563

บทความเดือน มกราคม 2563

โรงเรียนผู้สูงอายุ

ยิ้มรับวัยทอง

บทความเดือน กุมภาพันธ์  2563

เล่นเกมวันละนิดพิชิตอัลไซเมอร์

การส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุด้วยหลัก 3 อ

 

บทความเดือน มีนาคม 2563

การจัดสิ่งแวดล้อมให้ปลอดภัยสำหรับผู้สูงอายุ 

การป้องกันโรคหลอดเลือดสมองในผู้สูงอายุ

บทความเดือน เมษายน  2563

COVID 19 การดูแลตนเองของผู้สูงอายุ

การดูแลผู้สูงอายุให้ปลอดภัยในช่วงระยะเวลาการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสCOVID-19

บทความเดือน พฤษภาคม 2563

การออกกำลังกายในคนเป็นเบาหวาน ประเภท 2

ผลไม้กับผู้สูงวัย

บทความเดือน มิถุนายน  2563

แนวโน้มการพัฒนาระบบการดูแลสุขภาพผู้สุงอายุในอนาคต

การพยาบาลผู้สูงอายุมะเร็งระยะสุดท้ายที่บ้าน

บทความเดือน กรกฎาคม 2563

ภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุ

อาหารชะลอไตเสื่อมในผู้สูงอายุ

 

บทความปี พศ.  2564

บทความเดือน กุมภาพันธ์  2564

การออกกำลังกายสำหรับผู้สูงอายุที่เป็นโรคความดันโลหิตสูง

พิชิตเบาหวานด้วยอาหารแลกเปลี่ยน

ภาวะเท้าแบนในผู้สูงอายุ

บทความเดือน กรกฎาคม 2564

การป้องกันโรคติดเชื้อโควิด 19 ของผู้สูงอายุในชุมชน

บทความเดือน กันยายน 2564

การดูแลสุขภาพช่องปากในผู้สูงอายุ

งูสวัดในผู้สูงอายุ

ลมแดด

คลิปผู้สูงอายุ

ศึกษาวิจัยและรวบรวมความรู้เกี่ยวกับผู้สูงอายุทั้งไทยและต่างประเทศ และส่งเสริมการพัฒนารูปแบบการดำเนินการด้านผู้สูงอายุสำหรับใช้ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุไทย ตลอดจนเผยแพร่ความรู้และวิทยาการเกี่ยวกับผู้สูงอายุให้แก่สังคมโดยรวม

รู้จักเรามากขึ้น

รายงานสถานการณ์ผู้สูงอายุไทย

งานวิจัยเกี่ยวกับสุขภาพผู้สูงอายุ 2564

SITUATION OF THE THAI ELDERY 2021

November 7, 2022

งานวิจัยเกี่ยวกับสุขภาพผู้สูงอายุ 2564

รายงานสถานการณ์ผู้สูงอายุไทย พ.ศ. 2564

November 7, 2022November 7, 2022

รายงานวิชาการ

ผลวิจัย

งานวิจัยเกี่ยวกับสุขภาพผู้สูงอายุ 2564

ข้อเสนอเชิงวิชาการ การพัฒนาทักษะการทำงาน (RE-SKILL and UP-SKILL) เพื่อสร้างหลักประกันรายได้ผู้สูงอายุ

November 7, 2022

การจัดทำข้อเสนอกลไกและแนวทางในการดำเนินงานเพื่อส่งเสริมการพัฒนาทักษะฝีมือแรงงานสูงอายุนี้ อยู่บนฐานของกรอบด้านยุทธศาสตร์ชาติที่ให้ความสำคัญกับการพัฒนาศักยภาพคนตลอดช่วงวัย และการเตรียมรองรับสังคมสูงวัย รวมถึงแผนงานบูรณาการเตรียมความพร้อมเพื่อรองรับสังคมสูงวัยที่มีเป้าหมายเพื่อสร้างความมั่นคงทางเศรษฐกิจให้กับผู้สูงอายุ และได้ดำเนินการอยู่แล้ว นำโดยกระทรวงแรงงาน โดยมีรายละเอียด ตั้งแต่ในขั้นของการกำหนดนโยบายและแผน ไปจนถึงการสร้างกลไกมารองรับการดำเนินงานตามนโยบายและแผนดังกล่าว ประกอบไปด้วย 5 ข้อเสนอ ดังนี้ ข้อเสนอที่ 1: การพัฒนาแผนระดับชาติเพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงเชิงโครงสร้างการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของประเทศ โดยเฉพาะในกลุ่มผู้สูงอายุ เช่นเดียวกับที่สิงคโปร์เคยเปลี่ยนแปลงนโยบายและโครงสร้างองค์กรเพื่อขับเคลื่อน FutureSkills ในปี ค.ศ. 2014 ทั้งนี้ ประเทศไทยควรเร่งให้เกิดการขับเคลื่อนงานด้านการพัฒนาและยกระดับทักษะแรงงานสูงอายุในฐานะอีกกลุ่มกำลังแรงงานที่สำคัญของประเทศโดยจัดทำ “แผนระดับชาติด้านการพัฒนาและยกระดับทักษะแรงงานสูงอายุ” โดยแผนดังกล่าวจะกำหนดให้การพัฒนาทักษะการทำงานให้กับผู้สูงอายุต้องดำเนินไปควบคู่กับการส่งเสริมการจ้างงานด้วยทั้งในรูปแบบการจ้างงานต่อเนื่อง การจ้างงานใหม่ การประกอบอาชีพอิสระ (ทั้งแบบเต็มเวลาและบางเวลา) และการสร้างผู้ประกอบการสูงอายุ ข้อเสนอที่ 2: การจัดตั้งคณะทำงานแบบ Multi-agency Task Force เพื่อขับเคลื่อนงานด้านการพัฒนาและยกระดับทักษะผู้สูงอายุแบบบูรณาการและเป็นระบบเดียวกันทั้งประเทศ โดยในโมเดลทดลองเสนอให้มีการจัดตั้ง “คณะทำงานบูรณาการเพื่อพัฒนาและยกระดับทักษะแรงงานสูงอายุ” ซึ่งอาจจะมอบหมายให้กระทรวงแรงงานเป็นเจ้าภาพในการตั้งคณะทำงาน หรือจัดตั้งหน่วยงานขึ้นมาใหม่เพื่อรับผิดชอบเรื่องการพัฒนาทักษะของแรงงานสูงอายุโดยตรง เช่น สถาบันพัฒนาฝีมือแรงงานสูงอายุ เป็นต้น องค์ประกอบของคณะทำงานในเบื้องต้นควรประกอบด้วย กระทรวงและหน่วยงานภายใต้กระทรวงที่ดำเนินงานภายใต้แผนบูรณาการเตรียมความพร้อมเพื่อรองรับสังคมสูงวัย ในด้านส่งเสริมการทำงานของผู้สูงอายุอยู่แล้ว ในขณะเดียวกันก็ควรบูรณาการการทำงานกับหน่วยงานอิสระด้านการกำหนดสมรรถนะการทำงาน และสภาวิชาชีพต่างๆ รวมถึงควรมีภาคเอกชนเข้าร่วมด้วยในฐานะเป็นอีกตัวแสดงหลักในการกำหนดทิศทางการพัฒนาทักษะของประเทศ และสามารถเชื่อมโยงความต้องการของนายจ้างกับลูกจ้างได้ ซึ่งหน่วยงานต่างๆ ที่เป็นองค์ประกอบของคณะทำงาน มีดังนี้ กระทรวงแรงงาน: […]

งานวิจัยเกี่ยวกับสุขภาพผู้สูงอายุ 2564

ข้อเสนอเชิงวิชาการการพัฒนาทักษะการทำงาน (Re-skill and Up-skill) เพื่อสร้างหลักประกันรายได้ผู้สูงอายุ

November 7, 2022

งานวิจัยเกี่ยวกับสุขภาพผู้สูงอายุ 2564

การบริหารจัดการระบบการดูแลผู้ป่วยระยะกลาง (Intermediate Care) ข้อเสนอสู่การปฏิบัติ

November 7, 2022

งานวิจัยเกี่ยวกับสุขภาพผู้สูงอายุ 2564

การเรียนรู้นโยบายการสูงวัยในที่เดิมจากแนวปฏิบัติที่เหมาะสม: การถอดบทเรียนจากประสบการณ์ของประเทศญี่ปุ่นและสิงคโปร์สู่การขับเคลื่อนนโยบาย ด้านการจัดการที่อยู่อาศัยสำหรับผู้สูงอายุในประเทศไทย

November 7, 2022November 7, 2022

“การสูงวัยในที่อยู่อาศัยเดิม” (Ageing in Place) เป็นแนวคิดที่ใช้อธิบายเมื่อบุคคลรู้สึกถึงความมั่นคง (security) และความคุ้นเคย (familiarity) ต่อที่อยู่อาศัยและชุมชนของตัวเอง (Wiles et al., 2012) จนกระทั่งนำไปสู่การตัดสินใจที่จะอยู่อาศัยในบ้านเดิม สภาพแวดล้อมเดิม หรือชุมชนเดิมของตัวเองให้นานที่สุด เท่าที่ความสามารถและวัยจะเกื้อหนุนให้ทำได้ นอกจากนี้ “การสูงวัยในที่อยู่อาศัยเดิม” ยังหมายความรวมถึงความสามารถในการเข้าถึงและได้รับบริการและการสนับสนุนต่าง ๆ ที่จำเป็นต่อสภาพร่างกายและรูปแบบการดำรงชีวิตของผู้สูงอายุที่เปลี่ยนแปลงไป (Colello, 2007) ทั้งนี้ เพื่อที่จะสามารถดำรงอัตลักษณ์ (identity) คงความรู้สึกไม่พึ่งพาและเป็นอิสระ (independence and autonomy) รวมถึงรักษาคุณภาพชีวิต (quality of life) ของผู้สูงอายุ แม้ว่าการสูงวัยในที่อยู่อาศัยเดิมเป็นแนวคิดที่มีการกล่าวถึงอย่างกว้างขวางและมีความพยายามที่จะนำไปสู่ปฏิบัติในบางหน่วยงานของภาครัฐ อย่างไรก็ตาม การสูงวัยในที่อยู่อาศัยเดิมยังคงไม่ใช่แนวทางหลักที่ภาครัฐโดยรวมให้ความสนใจและมุ่งที่จะขับเคลื่อนให้เกิดผลในทางปฏิบัติ ดังนั้น แนวคิด “การสูงวัยในที่อยู่อาศัยเดิม” ยังคงต้องการการให้ความสำคัญและการผลักดันจากภาครัฐ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในแง่งบประมาณและการลงทุน เพื่อสนับสนุนให้แนวคิดดังกล่าวกลายเป็น “แนวทางหลัก” (mainstream approach) ทั้งในแง่ภารกิจและเป้าหมายต่อการดำเนินงานของทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง (เพิ่งอ้าง) ดังนั้น การเรียนรู้เชิงนโยบาย (policy learning) เพื่อแปลงแนวคิดและถอดประสบการณ์จากแนวปฏิบัติที่เหมาะสมในต่างประเทศ […]

ข่าว บทความ

กิจกรรม และเกร็ดความรู้สำหรับผู้สูงอายุ

งานวิจัยเกี่ยวกับสุขภาพผู้สูงอายุ 2564

หนังสือชุดองค์ความรู้เรื่อง สูงวัยในถิ่นเดิม

September 12, 2022September 12, 2022

หนังสือชุดองค์ความรู้เรื่อง สูงวัยในถิ่นเดิม มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย (มส.ผส.) ได้รับทุนสนับสนุนจาก สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.)   การเตรียมเข้าสู่วัยสูงอายุด้านที่อยู่อาศัยที่เหมาะสมทั้งทางกายภาพและสิ่งแวดล้อม เป็นประเด็นสำคัญที่สังคมให้ความสนใจในการพัฒนาที่พักอาศัยแบบ senior complex ซึ่งอาจยังไม่ตอบโจทย์กับผู้สูงอายุไทยส่วนใหญ่ที่มีความต้องการอาศัยในบ้านเดิมของตนเอง แต่ก็มีข้อจำกัดและขาดระบบริการสนับสนุนที่สำคัญ แนวคิด “สูงวัยในถิ่นเดิม” (aging in place) จะช่วยเติมเต็มความต้องการและส่งเสริมให้ผู้สูงอายุสามารถพักอาศัยในบ้านเดิมของตนเองได้อย่างอิสระและมีความปลอดภัย    

bua

September 12, 2022

งานวิจัยเกี่ยวกับสุขภาพผู้สูงอายุ 2564

หนังสือชุดองค์ความรู้เรื่อง สูงวัย ไม่เกษียณ

September 12, 2022September 12, 2022

หนังสือชุดองค์ความรู้เรื่อง สูงวัย ไม่เกษียณ มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย (มส.ผส.) ได้รับทุนสนับสนุนจาก สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.)   มุมมองอันเป็นอคติต่อผู้สูงอายุว่าเป็นผู้รอรับการช่วยเหลือและไม่ช่วยยกระดับและเพิ่มมูลค่าทางเศรษกิจเป็นเรื่องที่สังคมควรให้ความสนใจและปรับเปลี่ยนทัศนคติต่อผู้สูงอายุ “สังคมสูงวัย” ของประเทศไทยนั้น หากภาครัฐและเอกชนสามารถเปิดกว้างและส่งเสริมศักยภาพด้านการทำงานและสร้างรายได้ให้เพียงพอต่อการดำรงชีพของผู้สูงอายุ ไม่เพียงช่วยให้คุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุดีขึ้น แต่จะช่วยขับเคลื่อนเศรษกิจของประเทศและเป็นกำลังสำคัญในการพัฒนาสังคมได้อย่างยั่งยืน    

bua

September 12, 2022

งานวิจัยเกี่ยวกับสุขภาพผู้สูงอายุ 2564

หนังสือชุดองค์ความรู้เรื่อง แก่แบบสบาย สูงวัยแบบสง่า มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย (มส.ผส.) ได้รับทุนสนับสนุนจาก สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.)   ระบบบริการสุขภาพที่มีอยู่ในปัจจุบันจะสามารถรับมือกับ “สังคมสูงวัยอย่างสมบูรณ์” (complete aged society) และการเพิ่มขึ้นของประชากรสูงอายุอย่างรวดเร็วได้มีประสิทธิภาพและทั่วถึงได้อย่างไร ดังที่องค์การสหประชาชาติประกาศให้ปี 2021 – 2030 เป็น “ทศวรรษแห่งการสูงวัยที่มีสุขภาพดี” สามารถยกระดับคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุให้อยู่สบายและสง่างาม