ความสัมพันธ์ relationship คือ

เป็นการแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูลในเอนทิตี้หนึ่งที่มีความสัมพันธ์กับข้อมูลในอีกเอนทิตี้หนึ่ง ในลักษณะหนึ่งต่อหนึ่ง ตัวอย่างเช่น วิชาคณิตศาสตร์ นักเรียน 1 คน จะได้แค่เกรดเดียวเท่านั้น ดังตาราง

ตารางรายชื่อนักเรียน



ตารางสรุปผลสอบวิชาคณิตศาสตร์

 

จากตารางทั้งสองจะเห็นว่า ตารางรายชื่อนักเรียนก็ไม่มีนักเรียนซ้ำกัน ตารางคะแนนก็จะเป็นคะแนนของแต่ละคน ไม่ซ้ำกันอีก แต่ทั้ง 2 ตารางมีเลขประจำตัวนักเรียนทั้งคู่ ซึ่งเลขประจำตัวก็คือสิ่งที่ทำให้ตารางสองตารางนี้สัมพันธ์กัน


สามารถเขียนในรูปแบบของเอนทิตี้และแอททริตี้ได้ดังนี้



และเขียนในรูปแบบของเอนทิตี้ได้ดังนี้





ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อกลุ่ม 1 : N (one-to-many Relationships)

          ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อกลุ่ม (one-to-many Relationships) เป็นการแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูลในเอนทิตี้หนึ่ง ที่มีความสัมพันธ์ข้อมูลหลาย ๆ ข้อมูล ในอีกเอนทิตี้หนึ่ง จะให้เข้าใจง่ายๆ คือข้อมูล 1 เรคอร์ดจากตารางหนึ่งสามารถสัมพันธ์กับข้อมูลในอีกตารางหนึ่งตั้งแต่ 1 เรคอร์ดขึ้นไปจนถึงหลายๆ เรคอร์ด ตัวอย่างดังตาราง


จากตารางจะเห็นว่าห้องสอบ 1 ห้องมีนักเรียนผู้เข้าสอบได้หลายคน

เมื่อแปลงจากตารางให้อยู่ในรูปแบบของ เอ็นทิตี้กับแอททริบิวท์ จะได้ดังรูป


และถ้าหยิบมาเฉพาะเอ็นทิตี้ ก็จะได้ดังนี้





ความสัมพันธ์แบบกลุ่มต่อกลุ่ม (Many-to-many Relationships)

      ความสัมพันธ์แบบกลุ่มต่อกลุ่ม (Many-to-many Relationships) เป็นการแสดงความสัมพันธ์ ของข้อมูลสองเอนทิตี้ในลักษณะกลุ่มต่อกลุ่ม ตัวอย่างเช่น หนังสือ 1 เรื่องจะมีผู้ยืมหนังสือได้มากกว่า 1 คน ในขณะเดียวกัน ผู้ยืมหนังสือ 1 คน ก็สามารถยืมหนังสือได้มากกว่า 1 เรื่อง

ความสัมพันธ์ (Relationships) ของระบบฐานข้อมูล

แนวข้อสอบ

Trending

ความสัมพันธ์ (Relationships) ของระบบฐานข้อมูล

ความสัมพันธ์ (Relationships) ของระบบฐานข้อมูล

ครูคอมออนไลน์สิงหาคม 24, 2020Last Updated: มิถุนายน 2, 2021

12,943 1 minute read

ความสัมพันธ์ relationship คือ
ความสัมพันธ์ (Relationships) ของระบบฐานข้อมูล

ความสัมพันธ์ (Relationships) ของระบบฐานข้อมูล

ความสัมพันธ์ (Relationships) ของระบบฐานข้อมูล หมายถึง ความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี้ เช่น ความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี้นักศึกษา และเอนทิตี้คณะวิชา เป็นลักษณะว่า นักศึกษาแต่ละคนเรียนอยู่คณะวิชาใดคณะวิชาหนึ่ง เป็นต้น ความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี้ จึงอาจแบ่งออกเป็น 3 ประเภท คือ

ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่ง (One-to-one Relationships)
ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่ง (One-to-one Relationships) เป็นการแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูลในเอนทิตี้หนึ่งที่มีความสัมพันธ์กับข้อมูลในอีกเอนทิตี้หนึ่ง ในลักษณะหนึ่งต่อหนึ่ง ตัวอย่างเช่น ผู้เช่า 1 คน สามารถเช่าหนังสือได้เพียง 1 เล่ม หรือ1 ชุดเท่านั้น ในขณะเดียวกัน หนังสือ 1 เล่ม หรือ 1 ชุด ก็จะมีผู้เช่าเพียงคนเดียว เพราะมีเพียงเล่มเดียวหรือชุดเดียวเท่านั้น

ความสัมพันธ์ relationship คือ
ความสัมพันธ์ relationship คือ
ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่ง (One-to-one Relationships)
ความสัมพันธ์ relationship คือ
ความสัมพันธ์ relationship คือ
ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่ง (One-to-one Relationships)

นักศึกษาหนึ่งคนจะมีสูติบัตรเพียงใบเดียวเท่านั้น
สูติบัตรหนึ่งใบก็เป็นของนักศึกษาได้เพียงคนเดียวเท่านั้นเช่นกัน

ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อกลุ่ม (one-to-many Relationships)
ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อกลุ่ม (one-to-many Relationships) เป็นการแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูลในเอนทิตี้หนึ่ง ที่มีความสัมพันธ์ข้อมูลหลาย ๆ ข้อมูล ในอีกเอนทิตี้หนึ่ง ตัวอย่าง เช่น ผู้เช่า 1 คนสามารถเช่าหนังสือได้เพียง 1 เล่มหรือ 1 ชุด แต่หนังสือรหัสเดียวกันสามารถมีผู้เช่ามากกว่า 1 คน เพราะมีหนังสือให้เช่ามากกว่า 1 เล่ม หรือมากกว่า 1 ชุด

ความสัมพันธ์ relationship คือ
ความสัมพันธ์ relationship คือ
ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อกลุ่ม (one-to-many Relationships)
ความสัมพันธ์ relationship คือ
ความสัมพันธ์ relationship คือ
ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อกลุ่ม (one-to-many Relationships)

ลูกค้าหนึ่งคนมีใบเสร็จได้หลายใบ เนื่องจากลูกค้าหนึ่งคนอาจมาซื้อสินค้าหลายครั้ง
ใบเสร็จหนึ่งใบต้องเป็นของลูกค้าเพียงคนเดียวเท่านั้น

ความสัมพันธ์แบบกลุ่มต่อกลุ่ม (Many-to-many Relationships)
ความสัมพันธ์แบบกลุ่มต่อกลุ่ม (Many-to-many Relationships) เป็นการแสดงความสัมพันธ์ ของข้อมูลสองเอนทิตี้ในลักษณะกลุ่มต่อกลุ่ม ตัวอย่างเช่น หนังสือ 1 เรื่องจะมีผู้ยืมหนังสือได้มากกว่า 1 คน ในขณะเดียวกัน ผู้ยืมหนังสือ 1 คน ก็สามารถยืมหนังสือได้มากกว่า 1 เรื่อง

ความสัมพันธ์ relationship คือ
ความสัมพันธ์ relationship คือ
ความสัมพันธ์แบบกลุ่มต่อกลุ่ม (Many-to-many Relationships)
ความสัมพันธ์ relationship คือ
ความสัมพันธ์ relationship คือ
ความสัมพันธ์แบบกลุ่มต่อกลุ่ม (Many-to-many Relationships)

นิสิตสามารถลงทะเบียนเรียนได้หลาย ๆ วิชาพร้อมกันในแต่ละครั้ง และในทางตรงกันข้าม ในแต่ละวิชา 1 วิชา จะประกอบด้วยนิสิตหลายคนมาลงทะเบียนในวิชานั้น

ขอบคุณข้อมูล :: www.satrinon.ac.th, https://cst.tsu.ac.th/

ท่านสามารถติดตามข่าวสารการศึกษา ข่าวเปิดสอบงานราชการ เปิดสอบครูอัตราจ้าง ข่าวเรียกบรรจุ อบรมออนไลน์ โหลดสื่อการสอน หรืออ่านบทความต่าง ๆ เพิ่มเติมได้ที่เว็บไซต์ของเรา https://krucomonlines.com ได้ตลอดเวลา และสุดท้ายขอขอบคุณทุกท่านที่เข้ามาเยี่ยมชมเว็บไซต์ของเรา เราจะนำเสนอข้อมูล เนื้อหาดี ๆ มีสาระให้กับทุกท่านอีกครั้งอย่างแน่นอน ขอขอบคุณครับ

ความสัมพันธ์หรือ relationship มีกี่ชนิด

รูปแบบความสัมพันธ์ (Relationships (รีเรชั่นชิพ)) มี 3 รูปแบบ 1:1, 1:M และ M:M. ความสัมพันธ์ของข้อมูล 1:1 เป็นความสัมพันธ์แบบ one to one Relationships (วัน ทู วัน รีเรชั่นชิพ) หมายความว่าข้อมูลหมายความว่าข้อมูลในเอนทิตี้ 1 มีความสัมพันธ์กับข้อมูลในเอนทิตี้ที่สอง 1 ข้อมูล เช่น นักศึกษา 1 คนสามารถมีบัตรนักศึกษาได้ 1 ใบ

ความสัมพันธ์หนึ่งต่อหนึ่ง มีอะไรบ้าง

ความสัมพันธ์ แบบหนึ่ง-ต่อ- หนึ่งคือลิงก์ระหว่างข้อมูลในตารางสองตาราง โดยที่แต่ละระเบียนในแต่ละตารางจะปรากฏเพียงครั้งเดียวเท่านั้น ตัวอย่างเช่น อาจมีความสัมพันธ์แบบหนึ่ง-ต่อ-หนึ่งระหว่างพนักงานและรถยนต์ที่พวกเขาขับรถ พนักงานแต่ละคนจะปรากฏเพียงหนึ่งครั้งในตารางพนักงาน และรถยนต์แต่ละตัวจะปรากฏเพียงหนึ่งแห่งในตารางรถยนต์ ...

ความสัมพันธ์คู่ใดเป็นแบบ Many

ความสัมพันธ์แบบกลุ่มต่อกลุ่ม (Many-to-many Relationships) เป็นการแสดงความสัมพันธ์ ของข้อมูลสองเอนทิตี้ในลักษณะกลุ่มต่อกลุ่ม ตัวอย่างเช่น หนังสือ 1 เรื่องจะมีผู้ยืมหนังสือได้มากกว่า 1 คน ในขณะเดียวกัน ผู้ยืมหนังสือ 1 คน ก็สามารถยืมหนังสือได้มากกว่า 1 เรื่อง

ความสัมพันธ์แบบไม่ผูกมัด มีอะไรบ้าง

Open relationship = คบกันแบบไม่ผูกมัด หมายความว่า ฉันและเธอตกลงคบกันเป็นแฟนที่ทุกคนรับรู้ แต่เราทั้งคู่ก็พร้อมจะเปิดรับคนใหม่ ๆ ที่จะเข้ามา หากคู่ของเราเจอคนที่ดีกว่า ก็พร้อมปล่อยไปไม่ปิดโอกาส ไม่ผูกมัดกันและกัน เรียกได้ว่าเป็นความสัมพันธ์ที่ใจกว้างเอามาก ๆ