โครงงาน กระถางต้นไม้จากวัสดุธรรมชาติ

Download โครงงานการเปรียบเทียบประสิทธิภาพการอุ้มน้ำ และลักษณะการเปลี่ยนแปลง...

โครงงานเรื่อง การเปรียบเทียบประสิทธิภาพการอุ้มน้า และลักษณะการ เปลี่ยนแปลงรูปทรงของกระถางที่ใช้วัสดุในการผลิตที่ต่างกัน

จัดท้าโดย 1. นายไชยพจน์ สมภาร 2. นายพิภพ ทรายคา 3. นางสาวสุวิชาดา คาบุญเรือง

ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอเชียงม่วน สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดพะเยา

โครงงานเรื่อง การเปรียบเทียบประสิทธิภาพการอุ้มน้า และลักษณะการ เปลี่ยนแปลงรูปทรงของกระถางที่ใช้วัสดุในการผลิตที่ต่างกัน

จัดท้าโดย 1. นายไชยพจน์ สมภาร 2. นายพิภพ ทรายคา 3. นางสาวสุวิชาดา คาบุญเรือง

อาจารย์ที่ปรึกษา อาจารย์ กัลยา หอมดี

ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอเชียงม่วน สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดพะเยา

ก บทคัดย่อ ชื่อโครงงาน

การเปรียบเทียบประสิทธิภาพการอุ้มนา และลักษณะการเปลี่ยนแปลงรูปทรงของกระถางที่ ใช้วัสดุในการผลิตที่ต่างกัน

ชื่อผู้จัดท้าโครงงาน

1. นายไชยพจน์ สมภาร 2. นายพิภพ ทรายคา 3. นางสาวสุวิชาดา คาบุญเรือง

กศน.อ้าเภอ

ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอเชียงม่วน

อาจารย์ที่ปรึกษา

อาจารย์ กัลยา หอมดี

การศึกษาโครงงาน เรื่อง การเปรียบเทียบประสิทธิภาพการอุ้มนา และลักษณะการเปลี่ยนแปลงรูปทรงของ กระถางที่ใช้วัสดุในการผลิตที่ต่างกัน มีวัตถุประสงค์เพื่อ1. ผลิตกระถางต้นไม้จากขุยมะพร้าวและฟางข้าว 2. เปรียบเทียบประสิทธิภาพการอุ้มนา และลักษณะการเปลี่ยนแปลงรูปทรงระหว่างกระถางดอกไม้จากฟางข้าว กับกระถางดอกไม้จากขุยมะพร้าว โดยการนาเอาฟางข้าวและขุยมะพร้าวมาสับให้ละเอียดแล้วนามาผสมกับ กาว นวดส่วนผสมให้เข้ากัน แล้วนามาเทลงในแบบกระถางทีเตรียมไว้ แล้วนาไปตากจนแห้ง จากนันนาไป ทดสอบประสิทธิภาพในการอุ้มนา และลักษณะการเปลี่ยนแปลงรูปทรง โดยใส่ดินลงไปในกระถางดอกไม้จาก ฟางข้าวและขุยมะพร้าว อย่างละ 300 กรัม แล้วเทนาลงไป จ้านวน 1,000 มิลลิลิตร ทิงไว้ 45 นาที พบว่า กระถางดอกไม้จากขุยมะพร้าวมีนาไหลออกมา 680 มิลลิลิตร และกระถางยังคงสภาพรูปทรงเหมือนเดิม ส่วนกระถางจากฟางข้าวมีนาไหลออกมา 870 มิลลิลิตร ซึ่งกระถางมีการเปลี่ยนแปลงรูปทรงไปจากเดิม สรุปได้ว่า กระถางดอกไม้จากขุยมะพร้าวมีประสิทธิภาพในการอุ้มนา และคงสภาพรูปทรงของกระถางได้ ดีกว่า กระถางจากฟางข้าว

กิตติกรรมประกาศ โครงงานเรื่อง การเปรียบเทียบประสิทธิภาพการอุ้มนา และลักษณะการเปลี่ยนแปลงรูปทรงของ กระถางที่ใช้วัสดุในการผลิตที่ต่างกัน ที่สาเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดีก็เพราะได้รับการช่วยเหลือจากอาจารย์ กัลยา หอมดี ที่ให้คาปรึกษาและให้คาแนะนาตลอดเวลาของการดาเนินงาน ที่ให้ความร่วมมือในการเก็บรวบรวม ข้อมูล จนทาให้โครงงาน บรรลุตามวัตถุประสงค์ที่ได้กาหนดไว้ คณะผู้จัดทาขอขอบพระคุณท่านที่ให้ความช่วยเหลือในเรื่องต่างๆและหวังเป็นอย่างยิ่งว่าโครงงาน การเปรียบเทียบประสิทธิภาพการอุ้มนา และลักษณะการเปลี่ยนแปลงรูปทรงของกระถางที่ใช้วัสดุในการผลิต ที่ต่างกัน เรื่องนี จะเกิดประโยชน์ต่อวงการศึกษาต่อไป

คณะผู้จัดทา

สารบัญ บทคัดย่อ กิตติกรรมประกาศ สารบัญ สารบัญตาราง บทที่ 1 บทน้า

หน้า ก ข ค ง

1.1 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน 1.2 วัตถุประสงค์ 1.3 สมมุติฐาน 1.4 ตัวแปรที่ศึกษา 1.5 ขอบเขตการศึกษา 1.6 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1.7 นิยามปฏิบัติการ บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง 2.1 มะพร้าว 2.2 ฟางข้าว 2.3 กระถาง บทที่ 3 วิธีด้าเนินการ 3.1 วัสดุอุปกรณ์ 3.2 วิธีดาเนินการ

1 1 1 1 2 2 2

บทที่ 4 ผลการศึกษา บทที่ 5 สรุปผลการศึกษา อภิปรายและข้อเสนอแนะ บรรณานุกรม ภาคผนวก

10 11

3 4 5 7 8

สารบัญตาราง หน้า ตารางที่ 1

ตารางบันทึกผลการทดสอบเปรียบเทียบประสิทธิภาพการอุ้มนา และลักษณะการเปลี่ยนแปลงรูปทรงของกระถางจากฟางข้าวและขุยมะพร้าว 10

สารบัญภาพ ภาพที่ 1 กระถางต้นไม้จากฟางข้าว ภาพที่ 2 กระถางต้นไม้จากขุยมพร้าว

บทที่ 1 บทน้า 1.1 ความเป็นมาและความส้าคัญของโครงงาน เป็นที่ทราบกันดีว่าวัสดุที่ทามาจากพลาสติกนัน เป็นวัสดุที่ย่อยสลายยาก และต้องใช้เวลาหลายสิบปี กว่าพลาสติกเหล่านีจะย่อยสลาย ที่สาคัญ พลาสติก ยังเป็นสาเหตุหนึ่งของการเกิดภาวะโลกร้อน ซึ่งเป็น ปัญหาสาคัญของโลกอยู่ในขณะนี ปัจจุบันการเพาะชาดอกไม้ต่าง ๆ มักใช้ถุงพลาสติกในการเพาะชา และเมื่อซือมาแล้ว ก่อนจะปลูก ลงดินหรือลงกระถาง ก็ต้องมาแกะเอาถุงพวกนันทิง ซึ่งก็เป็นสาเหตุหนึ่งที่ให้เกิดปัญหามลพิษ นอกจากส่งผล ให้เกิดปัญหามลภาวะเป็นพิษแล้ว ยังส่งผลให้คุณภาพของดินเสื่อมด้วย ด้วยเหตุนีจึงทาให้เกิดแนวคิดผลิต กระถางเพาะชาจากเศษวัสดุทางการเกษตรเช่น ขุยมะพร้าว ฟางข้าว แกลบ ขีเถ้า ฯลฯ ขึน และแนวคิดใน การทดสอบกระถางต้นไม้จากเศษวัสดุ คือ ฟางข้าว และขุยมะพร้าว ขึนเพื่อศึกษาว่าวัสดุชนิดใดที่สามารถอุ้ม นาได้ดีกว่าและการคงสภาพของรูปทรงกระถางไว้เหมือนเดิม ทังนีก็เพื่อเป็นการ ลดการใช้กระถางพลาสติกลง แล้วใช้เศษวัสดุที่เหลือใช้มาแทน ซึ่งวัสดุเหล่านีมี คุณสมบัติในการย่อยสลายได้ง่าย และเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม 1.2 วัตถุประสงค์ 1. เพื่อผลิตกระถางต้นไม้จากขุยมะพร้าวและฟางข้าว 2. เพื่อเปรียบเทียบประสิทธิภาพการอุ้มนา 3. เพื่อเปรีบยเทียบลักษณะการเปลี่ยนแปลงรูปทรงของกระถางต้นไม้จากขุยมะพร้าวและฟางข้าว 1.3 สมมติฐาน กระถางที่ทาจากขุยมะพร้าวสามารถอุ้มนา และสามารถคงสภาพคงสภาพของรูปทรงกระถางไว้ ได้ ดีกว่ากระถางที่ทาจากฟางข้าว 1.4 ตัวแปรที่ศึกษา เปรียบเทียบประสิทธิภาพการอุ้มน้าของกระถางต้นไม้จากขุยมะพร้าวและฟางข้าว ตัวแปรต้น กระถางต้นไม้จากขุยมะพร้าวและฟางข้าว ตัวแปรตาม ประสิทธิภาพการอุ้มนาของกระถางทัง 2 ชนิด ตัวแปรควบคุม ปริมาณดิน ปริมาณนา ขนาดของกระถาง วัสดุที่ใช้ในการทา กระถาง ทัง 2 ชนิด สถานที่ ระยะเวลาในการทดลอง เพื่อทดสอบลักษณะการเปลี่ยนแปลงรูปทรงของกระถางต้นไม้จากขุยมะพร้าวและฟางข้าว ตัวแปรต้น กระถางต้นไม้จากขุยมะพร้าวและฟางข้าว ตัวแปรตาม รูปทรงของกระถางทัง 2 ชนิด ตัวแปรควบคุม ปริมาณดิน ปริมาณนา ขนาดของกระถาง วัสดุที่ใช้ในการทา กระถาง ทัง 2 ชนิด สถานที่ ระยะเวลาในการทดลอง

2 1.5 ขอบเขตการศึกษา ในการศึกษาครังนี มีขอบเขตของการศึกษาดังนี 1.5.1 สิ่งที่ศึกษา คือกระถางต้นไม้จากขุยมะพร้าวและฟางข้าว 1.5.2 ระยะเวลา 26 – 29 มิถุนายน 2555 1.5.3 สถานที่ ณ สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดลาปาง 1.6 ประโยชน์ที่ได้รับ 1. เพื่อผลิตกระถางต้นไม้จากขุยมะพร้าวและฟางข้าว ที่เหลือใช้ มาทาให้เกิดประโยชน์ 2. เพื่ออนุรักษ์ภูมิปัญญาชาวบ้าน ให้รู้จักหันมาใช้วัตถุที่ไม่ทาลายสิ่งแวดล้อมให้เกิดประโยชน์ 3. ช่วยลดภาวะโลกร้อน 4. เพื่อเป็นการเพิ่มรายได้ลดรายจ่ายในครัวเรือน 5. ใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ 1.7 นิยามปฏิบัติการ 1.7.1 กระถาง หมายถึง ภาชนะปากกว้าง มีรูปต่างๆ สาหรับปลูกต้นไม้หรือใส่นา และอื่นๆ 1.7.2 กระถางจากขุยมะพร้าว หมายถึง สิ่งที่เกิดขึนมาจากจากขุยมะพร้าวที่เหลือใช้ โดยนามา ขึนรูปเป็นกระถางเพื่อใช้ทดแทนการใช้แทนถุงและกระถางพลาสติก 1.7.3 กระถางจากฟางข้าว หมายถึง สิ่งที่เกิดขึนมาจากต้นข้าวที่นวดเอาเมล็ดออกแล้ว นามา ขึนรูปเป็นกระถางเพื่อใช้ทดแทนการใช้แทนถุงและกระถางพลาสติก 1.7.4 การอุ้มน้า หมายถึง การเก็บรักษาปริมาณนา

3

บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง ในการศึกษาโครงงานเรื่องการเปรียบเทียบคุณสมบัติการดูดซึมนา และความแข็งแรงของกระถางที่ ใช้วัสดุในการผลิตที่ต่างกัน คณะผู้ศึกษา ได้ค้นคว้า รวบรวมข้อมูลเอกสารที่เกี่ยวข้องและจากเว็ปไซด์ บน เครือข่ายอินเตอร์เน็ท โดยเสนอข้อมูลตามลาดับ ดังนี 2.1 มะพร้าว มะพร้าว (2554;เว็บไซค์) ได้กล่าวถึงรายละเอียดเกี่ยวกับมะพร้าว เป็นพืชยืนต้นชนิดหนึ่ง อยู่ในตระกูลปาล์ ม เป็นพืชซึ่งสามารถใช้ประโยชน์ได้ในหลายทาง เช่น นาและเนือมะพร้าวอ่อนใช้รับประทาน เนือในผลแก่นาไปขูดและคันทากะทิ กะลานาไปประดิษฐ์สิ่งของ ต่าง ๆ เช่น กระบวย โคมไฟ ฯลฯ นอกจากนีมะพร้าวจัดเป็นไม้มงคลชนิดหนึ่ง ตามตาราพรหมชาติฉบับหลวง ได้กาหนดให้ปลูกมะพร้าวไว้ทางทิศตะวันออกของบ้าน เพื่อความเป็นสิริมงคล ขุยมะพร้าว คือ เปลือกมะพร้าวที่ปั่นเอาใยออก หรือ ปั่นให้ใยละเอียด เป็นขุยๆละเอียด ประมาณเม็ดทราย แห้งสนิท (ไม่ไช่เปลือกสับ) เป็นเศษเหลือของโรงงานทาเส้นใยมะพร้าวซึ่งได้ทุบ กาบมะพร้าวเพื่อนาเส้นใยไปทาเบาะนั่ง เศษเหลือเหล่านีเป็นผง ๆ มีคุณสมบัติเบา อุ้มนาได้ดี และ เก็บความชืนไว้ได้นาน เมื่อจะใช้ต้องพรมนาให้ขุยมะพร้าวมีความชืนพอเหมาะ ไม่แฉะ และไม่แห้ง เกินไป เหมาะสาหรับการควั่นตอนกิ่งไม้ เพื่อเพาะชาต้นไม้ ขุยมะพร้าว เป็นวัสดุที่มีความจาเป็นในการขยายพันธุ์พืชในยุคปัจจุบันนีอย่างหลีกเลี่ยง ไม่ได้ ซึ่งมีคุณสมบัติทางการเกษตรอย่างมากมายอาทิเช่น 1. การผสมเป็นปุ๋ยหมัก ปลูกพืชผัก ต้นไม้ ไม้ดอกไม้กระถาง 2. ดินทรายช่วยอุ้มนาได้ดี ส่วนดินเหนียวช่วยซับนาได้ดี 3. ผสมเป็นดินเพาะปลูก ไม้กระถาง ที่ท่านชื่นชอบ 4. ใช้ในการขยายพันธุ์พืชทุกชนิด ทุกวิธี 4.1 การขยายพันธุ์พืชแบบอาศัยเพศ ใช้เพาะเมล็ด พืชผัก ไม้ผล ไม้ดอกไม้ ประดับ ประสิทธิภาพการงอกดีมาก 4.2 การขยายพันธุ์พืชแบบไม่อาศัยเพศ เช่น 4.2.1 ตุ้มขุยมะพร้าว ใช้ไนการตอนพืช (การตอน) 4.2.2 ตุ้มรากต้นตอ ใช้ในการทาบกิ่ง (การทาบกิ่ง) 4.2.3 ผสมดินหมัก ดินทราย หรือแกลบดาใช้ปักชา (การปักชา) 4.2.4 ผสมกับดินปลูก ปุ๋ยหมัก ปุ๋ยคอกหรือแกลบดาใช้ในการโน้มกิ่ง (การโน้มกิ่ง) 4.2.5 ผสมดินปลูก ปุ๋ยหมัก ปุ๋ยคอกหรือแกลบดา ใช้ในการแบ่งหน่อ แยกหน่อ (การแยกหน่อ)

4 5. ผสมกับดินปลูก ปุ๋ยหมัก ปุ๋ยคอก หรือแกลบดา ใส่ให้กับต้นต้นพืชที่จะติดตาเพื่อให้กิ่งหรือต้นอวบ อ้วนเพื่อใช้ในการติดตา (การติดตา) 6. ผสมกับดินปลูก ปุ๋ยหมัก ปุ๋ยคอก หรือแกลบดา ใส่ให้กับต้นพืชที่จะทาการเสียบกิ่งทาให้กิ่งหรือ ต้นอวบอ้วนเพื่อใช้ในการเสียบกิ่ง ต่อยอด เสียบข้าง (การเสียบกิ่ง) 2.2 ฟางข้าว ฟางข้าว (2553;เว็บไซค์) ได้กล่าวถึงรายละเอียดเกี่ยวกับฟางข้าว ฟางข้าว เป็นอินทรีย์วัตถุที่มีประโยชน์สูงควรเก็บไว้ในนาข้าว โดยเฉพาะนาเขตชลประทาน ซึ่งเกษตรกรส่วนใหญ่ทานา 2-3 ครังต่อปี เท่าที่ผ่านมาฟางข้าวมักจะถูกนาออกจากนาหรือเผาทิง โดยไม่มีการ เพิ่มอินทรียวัตถุกลับคืนให้กับดินนา ทาให้ดินเสื่อมคุณภาพขาดความสมบูรณ์ ถึงแม้ว่าจะมีการเพิ่มความอุดม สมบูรณ์ให้แก่ดินโดยการใส่ปุ๋ยเคมีทดแทนก็ตาม ผลกระทบต่อดินนา คือ ปุ๋ยเคมีจะไปช่วยเร่งให้จุลินทรีย์ย่อย สลายอินทรียวัตถุให้หมดไปโดยเร็ว สภาพดังกล่าวอาจทาให้ดินนาเสื่อมสภาพทางฟิสิกส์ ทาให้ดินแข็งตัวมาก ขึนและมีแนวโน้มว่าดินจะมีสภาพเป็นกรดมากขึนด้วย ดังนันฟางข้าวจึงเป็นอินทรียวัตถุที่มีประโยชน์อย่างยิ่ง ต่อการปรับปรุงบารุงดิน เกษตรกรไม่ควรนาออกจากแปลงนาหรือไม่ควรเผาทิง ประโยชน์ของฟางข้าว 1. ฟางข้าวช่วยทาให้ดินมีปริมาณของอินทรีย์วัตถุในดินมากขึน 2. ฟางข้าวช่วยทาให้พืนที่นาที่ถูกคลุมด้วยฟางข้าวมีสภาพจุลนิเวศ (Microclimate) เหนือผิวดิน เหมาะสมต่อสิ่งมีชีวิต เช่น จุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ และไส้เดือน เป็นต้น 3. ฟางข้าวช่วยคลุมวัชพืช โดยการบังแสงแดด ไม่ให้วัชพืชเติบโตได้ 4. ฟางข้าวช่วยบังแสงแดด ทาให้ดินมีความชืนอยู่ได้นานเป็นประโยชน์แก่พืชที่ปลูก ทาให้ผลผลิตสูง กว่าดินที่ไม่มีฟางข้าวปกคลุม 5. ฟางข้าวเมื่อเน่าสลายจะให้ธาตุอาหารแก่พืชเมื่อฟางข้าวย่อยสลายแล้วจะได้ธาตุไนโตรเจน (N) ธาตุฟอสฟอรัส (P) ธาตุโพแทสเซียม (K) แคลเซียม (Ca) และแมกนีเซียม (Mg) ที่สาคัญมีธาตุซิลิก้า (Sio) ด้วย 6. ฟางข้าวนาไปเป็นอาหารโค กระบือ ได้ 7. ฟางข้าวสามารถนาไปทาวัสดุเพาะเห็ดฟางได้ 8. ฟางข้าวเป็นวัสดุที่อยู่ในนาไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายและเวลาไป ขนมาใส่ในนา ก่อนที่จะหมักฟางข้าว ต้องเกลี่ยฟางให้กระจายทั่วทัง แปลง 2.3 กระถาง กระถางปลูกต้นไม้ (2552;เว็บไซค์) ได้กล่าวถึงรายละเอียด เกี่ยวกับกระถางปลูกต้นไม้

5 ส่วนประเภทของกระถาง แยกตามชนิด ได้ตามวัสดุและวิธีการท้า เช่น 1. กระถางดินเผา เป็นกระถางที่เราใช้กันมานาน หาง่าย ราคาไม่แพงมาก ลักษณะของกระถางมีรู พรุนซึ่งช่วยระบายอากาศ ถ่ายเทความชืนของดินและเครื่องปลูกได้ดี ทาให้รากพืชได้รับออกซิเจนเพียงพอและ มีเจริญเติบโตได้ดี ทาให้อุณหภูมิของเครื่องปลูกไม่สูงเกินไป โดยเฉพาะอย่างยิ่งในฤดูร้อน กระถางสามารถ ทาลายและกาจัดศัตรูพืชได้ง่ายโดยการต้ม อบไอนา หรือรมด้วยสารเคมีโดยไม่เสียรูปทรง แต่มีข้อเสีย คือ มี นาหนักมากและปัจจุบันราคาแพงเมื่อเทียบกับกระถางพลาสติก แตกง่าย เมื่อใช้ไปนานๆ แล้วจะมีตะไคร่นา ขึนรอบกระถาง(เพราะความชืน) ทาให้ดูสกปรก และล้างทาความสะอาดยากกว่ากระถางพลาสติก 2. กระถางดินเผาเคลือบ กระถางลายคราม และกระถางเซรามิค จะดีกว่ากระเบืองดินเผา ที่ใช้ได้ นานโดยไม่มีปัญหา ล้างทาความสะอาดก็ง่าย ไม่มีตะไคร่นาขึนรอบกระถาง สีสันไม่เปลี่ยนแปลง แต่ราคาจะ แพงกว่ากระถางอื่นๆ กระถางลายครามสวยๆก็อาจถูกขโมยได้ 3. กระถางปูน มีความทนทานมาก รูปทรงทันสมัยกว่าแบบอื่นๆ สามารถทาสีสันได้หลากหลาย แต่ก็ มีข้อเสียบ้าง เช่น มีนาหนักมาก กว่าแบบอื่นๆ 4. กระถางพลาสติก มีราคาถูก นาหนักเบา ทาความสะอาดง่าย ไม่มีปัญหาเรื่องตะไคร่นา เก็บ ความชืนได้ดีกว่ากระถางดินเผา ทาให้เครื่องปลูกแห้งช้า ทาให้ไม่ต้องรดนาบ่อยนัก แต่มีข้อเสีย เนื่องจาก ลักษณะของกระถางทึบไม่มีรูพรุนทาให้อากาศถ่ายเทไม่สะดวก ถ้ารดนามากจะทาให้นาขังแฉะ อาจจะทาให้ รากพืชเน่าตายได้ อุณหภูมิของเครื่องปลูกสูงมากในฤดูร้อนโดยเฉพาะกระถางพลาสติกสีดา กระถางพลาสติก ไม่ทนทาน ใช้งานไม่นานก็จะกรอบแตกง่าย ต้องเปลี่ยนกระถางใหม่ 5. กระถางจากวัสดุธรรมชาติ เช่นกาบมะพร้าว รวมถึงภาชนะอื่นๆ ซึ่งได้แก่ กระถางไม้ กระถาง ดังกล่าวมีลักษณะต่างกัน จุดประสงค์เพื่อให้เกิดความสวยงามเวลานาไปตังหรือแขวนประดับตามสถานที่ ต่างๆ 6. กระถางตกแต่งสถานที่โดยเฉพาะ เป็นกระถางประดับที่ไม่ใช้ปลูกต้นไม้โดยตรง แต่เป็นกระถางที่ ออกแบบอย่างสวยงามเป็นพิเศษ ใช้ใส่ต้นไม้โชว์ให้เข้ากับสถานที่ เป็นภาชนะที่สามารถใช้รองรับหรือเอา กระถางปลูกต้นไม้ใส่ลงไปเพื่อให้ดูสวยงามยิ่งขึน แล้วแต่การตกแต่ง ซึ่งเราก็จะต้องนาเอาไม้ในกระถางดินมา ใส่ซ้อน กระถางประเภทนีอีกชันหนึ่ง เช่น กระบุง ตะกร้าไม้ไผ่สาน หวาย อลูมิเนียม กระเบืองเคลือบ หรือ อื่นๆ กระถางชนิดนีเน้นความสวยงามเป็นหลัก นิยมนาไปใช้ตกแต่งภายในอาคาร บ้านเรือน โรงแรม สานักงาน หรือสถานที่อื่นๆ ส่วนมากจะมีราคาแพง การใช้งานต้องถนุถนอม หลีกเลี่ยงการโดนนา โดยเฉพาะ กระถางประเภทที่ทาด้วยไม้ไผ่สาน หรือหวาย ก็จะทาให้ใช้งานได้นานขึน ขนาดและรูปทรงของกระถาง ขนาดของกระถางโดยทั่วไปจะใช้ตังแต่ขนาด 6นิว (เส้นผ่าศูนย์กลาง) 8นิว 10นิว จนถึงขนาด 12นิว ถ้าเป็นกระถางดินเผาขนาดไม่ควรจะเกิน 12 นิว เพราะเกินขนาดที่ดินเผาจะยึดเกาะได้แข็งแรงพอ และมักจะ แตกหักได้ง่าย ถ้าจาเป็นต้องใช้ขนาดที่ใหญ่กว่านี ควรเลือกกระถางจาพวกกระถางเคลือบจะดีกว่า และเรา สามารถ แยกกระถางตามประเภทต้นไม้ที่จะปลูกได้อีก เช่น 1. ไม้ใหญ่ เช่นไทร ตะโก จันทน์ผา โมก 2. ไม้ประดับ เป็นไม้ขนาดเล็ก ความสูงไม่เกิน 1 เมตร 3. ไม้นา มี 2 ลักษณะคือ 3.1 ผิวนา เช่นบัวต่างๆ กระถางเตีย ปากกว้าง

6 3.2 ต้นสูงเหนือนา เช่น กกต่างๆ 4. ไม้สะสม ต้องเลียงอย่างใกล้ชิด ดูแลเป็นพิเศษ และมักจะมีราคาแพง เช่น บอนไซ โป๊ยเซียน 5. ไม้แขวน หรือไม้เลือย บางชนิด ก็ใช้ไม้กระถางธรรมดา ปลูกลงดิน บางชนิดก็ใช้เกาะกับวัสดุปลูก เช่นกาบมะพร้าว ได้เลย

7

บทที่ 3 วิธีด้าเนินการ 1. การออกแบบกระถาง

2. การประดิษฐ์กระถางจากฟางข้าวและขุยมะพร้าว กระถางจากฟางข้าว วัสดุอุปกรณ์ 1. ฟางข้าว 2. กาว 3. กะละมัง 4. กระถางพลาสติกขนาด 6 นิว 5. กระถางพลาสติกขนาด 4 นิว 6. กรรไกร

จานวน จานวน จานวน จานวน จานวน จานวน

1 1 1 1 1 1

กิโลกรัม กระป๋อง ( 32ออนซ์ ) ใบ ใบ ใบ อัน

ขันตอนการท้ากระถาง 1. นาฟางข้าวมาสับให้ละเอียด แล้วนามาชั่งจานวน 1 กิโลกรัม 2. นาฟางข้าวที่สับละเอียดแล้วมาผสมกับกาว จานวน 1 กระป๋อง ( 32ออนซ์ ) แล้ว นวดส่วนผสมทังหมดให้เข้ากัน 3. นาฟางข้าวเทลงในพิมพ์กระถางพลาสติกใบที่ 1( กระถางขนาด 6 นิว ) จากนันก็นา กระถางใบที่ 2 (กระถางขนาด 4 นิว ) ซ้อนลงใบในกระถางใบที่ 1 แล้วกดลงให้แน่น 4. นากระถางจากฟางข้าวที่อัดเสร็จแล้วไปตากให้แห้ง

รูปที่ 1 กระถางดอกไม้จากฟางข้าว

8 กระถางจากขุยมะพร้าว วัสดุอุปกรณ์ 1. ขุยมะพร้าว 2. กาว 3. กะละมัง 4. กระถางพลาสติกขนาด 6 นิว 5. กระถางพลาสติกขนาด 4 นิว 6. กรรไกร

จานวน จานวน จานวน จานวน จานวน จานวน

1 1 1 1 1 1

กิโลกรัม กระป๋อง ( 32ออนซ์ ) ใบ ใบ ใบ อัน

ขันตอนการท้ากระถาง 1. นาขุยมะพร้าวมาสับให้ละเอียด แล้วนามาชั่ง จานวน 1 กิโลกรัม 2. นาขุยมะพร้าวที่สับละเอียดแล้วมาผสมกับกาวจานวน 1 กระป๋อง ( 32ออนซ์ ) แล้วนวดส่วนผสมทังหมดให้เข้ากัน 3. นาขุยมะพร้าวเทลงในพิมพ์กระถางพลาสติกใบที่ 1( กระถางขนาด 6 นิว ) จากนันก็ นากระถางใบที่ 2 (กระถางขนาด 4 นิว ) ซ้อนลงใบในกระถางใบที่ 1 แล้วกดลงให้ แน่น 4. นากระถางจากขุยมะพร้าวที่อัดเสร็จแล้วไปตากให้แห้ง 3. วิธีการทดสอบการอุ้มน้า ความแข็งแรง และความคงทนของของกระถางต้นไม้จากฟางข้าวและขุย มะพร้าว วัสดุอุปกรณ์ 1. กระถางจากฟางข้าว จานวน 1 ใบ 2. กระถางจากขุยมะพร้าว จานวน 1 ใบ 3. กะละมัง/จานรอง จานวน 2 ใบ 4. ดิน จานวน 300 กรัม 5. นา จานวน 1,000 มิลลิกรัม 6. เครื่องชั่ง จานวน 1 อัน 7. บิกเกอร์วัดปริมาณนา จานวน 2 ใบ

รูปที่ 2 กระถางดอกไม้จากขุยมะพร้าว

9 ขันตอนการทดสอบ 1. นาดินร่วนใส่ในกระถางดอกไม้ที่ทาด้วยฟางข้าวและขุยมะพร้าว กระถางละ 300 กรัม 2. นากระถางต้นไม้จากฟางข้าวและขุยมะพร้าว วางลงในถาดรองนา 3. ราดนาลงในกระถางทัง 2 ชนิด อย่างละ 1 ลิตร ตังทิงไว้ 45 นาที 4. ทดสอบการอุ้มนา ของกระถางทัง 2 ชนิด โดยการวัดปริมาณนาที่ไหลออกมา สังเกตผลลงในตารางการทดลอง 5. สังเกตลักษณะการเปลี่ยนแปลงรูปทรงของกระถาง ทัง 2 ชนิด และบันทึกผล 6. สรุปผลการทดลองการอุ้มนาของกระถางทัง 2 ชนิด

10

บทที่ 4 ผลการศึกษา จาการศึกษา การเปรียบเทียบประสิทธิภาพการอุ้มนา และลักษณะการเปลี่ยนแปลงรูปทรงของกระถางที่ใช้ วัสดุในการผลิตที่ต่างกัน ซึ่งได้ดาเนินการโดย นาฟางข้าว และขุยมะพร้าวมาทาเป็นกระถางดอกไม้ และได้ทา การทดลองเปรียบเทียบคุณสมบัติการอุ้มนา และลักษณะการเปลี่ยนแปลงรูปทรง ระหว่าง กระถางต้นไม้จาก ฟางข้าว และขุยมะพร้าว ได้ผลการทดสอบดังนี ตารางที่ 1 บันทึกผลการทดลองเปรียบเทียบประสิทธิภาพการอุ้มนาของกระถางจากฟางข้าวและขุยมะพร้าว ที่

ประเภทกระถาง

1. กระถางจากฟางข้าว

2. กระถางจากขุยมะพร้าว

ปริมาณ น้าที่ใช้รด 1,000 มิลลิลิตร 1,000 มิลลิลิตร

หมายเหตุ ปริมาณน้าที่ ลักษณะการเปลี่ยนแปลง ไหลออกมา รูปทรงของกระถาง 870 รูปทรงของกระถางมีการ มิลลิลิตร เปลีย่ นแปลง กระถางสามารถอุ้ม นาได้น้อยกว่า กระถางจากขุย มะพร้าว 680 รูปทรงของกระถางไม่มีการ มิลลิลิตร เปลี่ยนแปลง คงสภาพเดิม และ สามารถอุ้มนาได้ดีกว่ากระถาง จากฟางข้าว

จากตารางที่ 1 ผลการศึกษาทดลองเปรียบเทียบประสิทธิภาพการอุ้มนา และลักษณะการ เปลี่ยนแปลงรูปทรงของกระถางจากฟางข้าวและขุยมะพร้าว พบว่า เมื่อเทนาลงไปในกระถางทัง 2 ชนิด แล้ว ทิงไว้ 45 นาที นาที่ไหลออกมาจากกระถางขุยมะพร้าวมีนาไหลออกมา 680 มิลลิลิตร และกระถางยังคง สภาพรูปทรงเหมือนเดิม ส่วนกระถางจากฟางข้าวมีนาไหลออกมา 870 มิลลิลิตร ซึ่งกระถางมีการ เปลี่ยนแปลงรูปทรงไปจากเดิม

11

บทที่ 5 สรุปผลการศึกษา อภิปรายและข้อเสนอแนะ 5.1 สรุปผลการศึกษา จากการศึกษา การเปรียบเทียบคุณสมบัติการอุ้มนา และลักษณะการเปลี่ยนแปลงรูปทรง ของกระถางที่ใช้วัสดุในการผลิตที่ต่างกัน ระหว่างกระถางดอกไม้ที่ทาจากฟางข้าวกับขุยมะพร้าว ผลการ ทดสอบ พบว่า เมื่อเทนาจานวน 1,000 มิลลิลิตร ทิงไว้ 45 นาทีพบว่ากระถางต้นไม้จากขุยมะพร้าวมีนาไหล ออกมาจานวน 680 มิลลิลิตร และกระถางยังคงสภาพรูปทรงเหมือนเดิม ส่วนกระถางจากฟางข้าวมีนาไหล ออกมา 870 มิลลิลิตร ซึ่งกระถางมีการเปลี่ยนแปลงรูปทรงไปจากเดิม สรุปได้ว่า กระถางดอกไม้จากขุยมะพร้าวมีประสิทธิภาพในการอุ้มนา และคงสภาพรูปทรงของกระถางได้ ดีกว่า กระถางจากฟางข้าว 5.2 อภิปรายผล กระถางจากขุยมะพร้าวมีประสิทธิภาพในการอุ้มนาได้ดีกว่ากระถางที่ทาจากฟางข้าว เนื่องจากขุยมะพร้าวมี คุณสมบัติในการดูดซับนาได้ดี ซึ่งจะเห็นได้จากภูมิปัญญาท้องถิ่นที่มีการนาเปลือก ขุยมะพร้าว มาเป็น ส่วนประกอบในการปลูกดอกกล้วยไม้ 5.3 ข้อเสนอแนะ ควรนาวัสดุอื่น ๆ มาใช้ในการทดลอง เช่น ขีเลื่อย แกลบ เปลือกข้าวโพด เป็นต้น

บรรณานุกรม กระถางปลูกต้นไม้ (ออนไลน์).เข้าถึงได้จาก http://www.bloggang.com/viewblog.php?id=travelaround&date=13-08-2008&group=34&gblog=16 (วันที่สืบค้นข้อมูล ๒๘ มิถุนายน ๒๕๕๕) ขุยและใยมะพร้าว.(ออนไลน์).เข้าถึงได้จาก www.victoryindustrial.co.th/products.html (วันที่สืบค้นข้อมูล ๒๘ มิถุนายน ๒๕๕๕) ใยมะพร้าว.(ออนไลน์).เข้าถึงได้จาก www.nanagarden.com (วันที่สืบค้นข้อมูล ๒๘ มิถุนายน ๒๕๕๕)