โครงงาน การรักษา ดอกมะลิ ให้ คงทน

"ดอกมะลิ" เป็นดอกไม้ที่มีกลิ่นหอมเย็น คนไทยนิยมนำมาลอยในน้ำเย็นเพื่อดื่ม ปัจจุบัน "ดอกมะลิ" เป็นที่ต้องการของตลาดมากขึ้น ทั้งเก็บดอกมะลิสำหรับร้อยพวงมาลัย ทำดอกไม้แห้ง และอุตสาหกรรมน้ำมันหอมระเหย นอกจากนี้ยังสามารถนำมาเข้ายา (เป็นส่วนผสม) เพื่อรักษาโรคต่างๆ ได้อีกด้วย สำหรับผู้ที่ประกอบอาชีพร้อยพวงมาลัยรายย่อยหรือเก็บดอกมะลิไว้แล้วจำหน่ายไม่ทัน ทำให้ประสบปัญหาดอกมะลิเหี่ยว-ช้ำ และดอกมะลิบานเร็ว โดยส่วนใหญ่วิธีการเก็บรักษาดอกมะลิมักจะมีการใช้สารเคมีในการเก็บรักษา ซึ่งจะมีอันตรายต่อผู้ที่ทำการร้อยพวงมาลัย และผู้ที่ซื้อพวงมาลัย ทางเจ้าหน้าที่ได้มีโอกาสพูดคุยกับคุณป้าจำเนียร ผู้ที่มีใจรักในการปลูกมะลิและได้ร้อยพวงมาลัยจำหน่ายเป็นงานอดิเรก มีวิธีในการเก็บรักษาดอกมะลิไม่ให้บานเร็วมาแนะนำดังนี้

โครงงาน การรักษา ดอกมะลิ ให้ คงทน

อุปกรณ์ :

1. กะละมังสำหรับใส่ดอกมะลิ

2. น้ำแข็ง

3. น้ำ

4. ตะกร้าสำหรับใส่ดอกมะลิเพื่อให้สะเด็ดน้ำ

5. ถุงพลาสติกขนาดใหญ่สำหรับเก็บดอกมะลิ

วิธีการเก็บรักษาดอกมะลิให้นานขึ้น :

1. เก็บดอกมะลิในช่วงเวลาที่แดดไม่จัด เพราะจะทำให้ดอกมะลิไม่บาน

2. รวบรวมใส่ในกะละมัง ทำการคัดเลือกดอกที่เสียออก (ดอกมะลิจำนวน 1 กิโลกรัม)

3. จากนั้นนำน้ำแข็งใส่ลงในกะละมังที่มีดอกมะลิอยู่ (ประมาณ 1/2 กิโลกรัม)

4. ใส่น้ำสะอาดปริมาณ 1 ลิตร ลงในกะละมังที่ใส่ดอกมะลิ

5. คนให้เข้ากัน ลักษณะคล้ายกับการซาวข้าว จนกระทั่งน้ำแข็งละลายจนหมด

**หรือสังเกตที่ลักษณะของดอกมะลิ ดอกมะลิจะแข็งตัว (โดยปกติดอกมะลิที่เราเก็บมาดอกจะนิ่ม)**

6. นำดอกมะลิมาใส่ตะกร้าที่เตรียมไว้เพื่อให้สะเด็ดน้ำ

7. นำดอกมะลิมาใส่ในถุงพลาสติก ทำการไล่อากาศออกจากถุงให้หมด แล้วปิดปากถุงให้แน่น

8. แช่ไว้ในตู้เย็นหรือถังน้ำแข็ง จะสามารถเก็บไว้ได้นานประมาณ 3 วัน โดยที่ดอกมะลิไม่บาน

**ในทุกขั้นตอนต้องทำอย่างระมัดระวัง เพราะอาจจะทำให้ดอกมะลิช้ำ ไม่สวย**

ที่มา :
ศูนย์ทางด่วนข้อมูลการเกษตร *1677
สถานีวิทยุร่วมด้วยช่วยกัน จ.ชุมพร


แหล่งอ้างอิงข้อมูล :

จำเนียร รักขันโท. แห่งบ้านหินวัว.

    

โครงงาน การรักษา ดอกมะลิ ให้ คงทน

โครงงาน การรักษา ดอกมะลิ ให้ คงทน

โครงงาน การรักษา ดอกมะลิ ให้ คงทน

โครงงาน การรักษา ดอกมะลิ ให้ คงทน

We’ve updated our privacy policy so that we are compliant with changing global privacy regulations and to provide you with insight into the limited ways in which we use your data.

You can read the details below. By accepting, you agree to the updated privacy policy.

Thank you!

View updated privacy policy

We've encountered a problem, please try again.

Download บทที่1 โครงงานการรักษาความสดของดอกไม้...

1

บทที่ 1 โครงงานการรักษาความสดของดอกไม้ 1.1ที่มาและความสาคัญของโครงงาน ดอกไม้นอกจากจะสวยงามยังเป็นสีสันของโลกใบนี้ ดอกไม้ยังสร้างความสดชื่นให้แก่ผู้พบเห็น ทั้งรูปทรงและความหอมชื่นใจ นอกจากนี้แล้วดอกไม้ยังมีความหมายพิเศษอีกด้วยสาหรับผู้ที่ชื่นชอบดอกไม้ มักจะหาหนทางในการเก็บรักษาดอกไม้ให้มีความสวยงามและอยู่ได้นาน ซึ่งดอกไม้สดนั้นยากในการเก็บรักษา ดอกไม้ให้มีความสวยงามและอยู่ได้นาน ซึ่งดอกไม้สดนั้นยากแก่การเก็บและมีราคาแพงทั้งยังได้รับความนิยม ในการจัดพิธีการต่างๆโดยพิธีเหล่านี้ต้องใช้ดอกไม้ในการตกแต่งโดยทั้งสิ้นและมีระยะเวลาหลายวันด้วยเหตุ ดังกล่าวจะพบว่ามีการคิดค้นที่จะหาเทคนิควิธีการในการยืดอายุของดอกไม้สดให้คงทนและสวยงามตลอด ระยะเวลาใช้งานในพิธีการนั้นๆดังนั้นคณะผู้จัดทาจึงมีความสนใจที่จะทาโครงงานทดลองการรักษาความสด ของดอกไม้ขึ้น 1.2วัตถุประสงค์ 1.2.1 เพื่อเปรียบเทียบประสิทธิภาพของสาร คือ น้าตาลทราย ผงชูรส ยาพาราเซตามอลที่ในการ รักษาความสดของดอกไม้ 1.2.2 เพื่อเปรียบเทียบอัตราส่วนที่เหมาะสมของสารในการรักษาความสดของดอกไม้ 1.3สมมุติฐาน น้าตาลทรายสามารถรักษาความสดของดอกไม้ได้ดีกว่า ผงชูรส ยาพาราเซตามอล 1.4 ตัวแปรที่ศึกษา การทดลองที่ 1 1.4.1 ตัวแปรต้น สาร 3 ชนิด ได้แก่ น้าตาลทราย ผงชูรส ยาพาราเซตามอล 1.4.2 ตัวแปรตาม ความสดของดอกไม้ 1.4.3 ตัวแปรควบคุม แหล่งที่มาของดอกไม้ สถานที่ ขนาดของโอเอชีส ปริมาณของสารที่ใช้ การทดลองที่ 2

2

1.4.1ตัวแปรต้น : อัตราส่วนของยาพาราเซตามอล 3 อัตราส่วน ดังนี้ อัตราส่วนที่ 1 ยาพาราเซตามอลบดละเอียด 30 กรัม : น้า 500 มิลลิลิตร อัตราส่วนที่ 2 ยาพาราเซตามอลบดละเอียด 50 กรัม : น้า 500 มิลลิลิตร อัตราส่วนที่ 3 ยาพาราเซตามอลบดละเอียด 70 กรัม : น้า 500 มิลลิลิตร 1.4.2 ตัวแปรตาม ความสดของดอกไม้ 1.4.3 ตัวแปรควบคุม แหล่งที่มาของดอกไม้ สถานที่ ขนาดของโอเอชีส ปริมาณของสารที่ใช้ ปริมาณน้า 1.5 ขอบเขตการศึกษา 1.5.1 สิ่งที่ศึกษา 1.5.2 ระยะเวลา 1.5.3 สถานที่

ดอกกุหลาบ 13-16 มิถุนายน 2555 กศน.อาเภอแจ้ห่ม

1.6 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1.6.1 ได้ความรู้เกี่ยวกับสารที่สามารถยืดอายุและระยะเวลาความสดของดอกกุหลาบ 1.6.2 เป็นการประหยัดค่าใช้จ่ายมากขึ้นและยังสะดวกแก่ผู้ใช้มากขึ้น 1.7 นิยามปฏิบัติการ กุหลาบ หมายถึง ดอกไม้ชนิดหนึ่งมีชื่อวิทยาศาสตร์ Rosa hybrids ชื่อสามัญคือ กุหลาบ หรือ rose อยู่ในวงศ์: Rosaceae มีถิ่นกาเนิดในทวีปเอเชีย นาตาล หมายถึง สารให้ความหวานตามธรรมชาติชนิดหนึ่ง มีเรียกกันหลายแบบ ขึ้นอยู่กับรูปร่าง ลักษณะของน้าตาล ผงชูรส หมายถึง เป็นสิ่งที่ช่วยเสริมรสชาติของอาหารอย่างมีประสิทธิภาพมานานเกือบ ศตวรรษ องค์ประกอบหลักของผงชูรส คือ กรดอะมิโน ที่มีชื่อว่า "กรดกลูตามิก" หรือ "กลูตาเมต" ซึ่งเป็นส่วนประกอบ ตามธรรมชาติที่พบได้ในอาหารแทบทุกชนิด เราจะมาทาความรู้จักกับผงชูรสให้มากขึ้นอย่างถูกต้อง รวมไปถึง วิธีใช้ผงชูรสในการปรุงอาหารอย่างเหมาะสมอีกด้วย

3

ยาพาราเซตามอล หมายถึง ยาประเภทต่างๆที่ใช้รักษา บรรเทาอาการปวด ซึ่งอาการปวด มี หลายแบบ เช่น ปวดหัว ปวดฟัน ปวดกล้ามเนื้อ ปวดกระดูก ปวดท้อง ปวดข้อ และปวดหลัง ยาพาราเซตา มอลยังมีสาร salicylic ซึ่งช่วยในการกระตุ้นการเจริญเติบโตและต่อต้านโรคของพืชเช่นเดียวกับ ยา แอสไพริน

บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง ในการศึกษาโครงงานเรื่อง การรักษาความสดของดอกกุหลาบ คณะผู้ศึกษา ได้ค้นคว้ารวบรวมข้อมูล จากเอกสารที่เกี่ยวข้องและจากเว็บไซด์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต โดยขอนาเสนอตามลาดับ ดังนี้ 2.1 นาตาลทราย น้าตาล คือ สารให้ความหวานตามธรรมชาติชนิดหนึ่ง มีเรียกกันหลายแบบ ขึ้นอยู่กับรูปร่างลักษณะ ของน้าตาล เช่น น้าตาลทราย น้าตาลกรวด น้าตาลก้อน น้าตาลปีบ เป็นต้น แต่ในทางเคมี โดยทั่วไปหมายถึง ซูโครส หรือ แซคคาโรส ไดแซคคาไรด์ ที่มีลักษณะเป็นผลึกของแข็งสีขาว น้าตาลเป็นสารเพิ่มความหวานที่ นิยมใช้กันอย่างแพร่ห ลาย ในอุตสาหกรรมการผลิ ตอาหาร โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ขนมหวาน และเครื่องดื่ม ในทางการค้าน้าตาลผลิตจาก อ้อย(sugar cane) , ต้นตาล(sugar palm),ต้นมะพร้าว(coconut palm),ต้นเม เปิ้ลน้าตาล(sugar maple) และ หัวบีท (sugar beet) ฯลฯ น้าตาลที่มีองค์ประกอบทางเคมีแบบง่ายที่สุด

4

หรือ โมโนแซคคาไรด์ เช่น กลูโคส เป็นที่เก็บพลังงาน ที่จะต้องใช้ในกิจกรรม ทางชีววิทยา ของเซลล์ ศัพท์ทาง เทคนิคที่ใช้เรียกน้าตาลจะลงท้ายด้วยคาว่า "-โอส" (-ose) เช่น กลูโคส(น้าตาล.2555:เว็บไซค์) 2.2 ผงชูรส 2.2.1 ความหมาย ผงชูรสเป็นสิ่งที่ช่วยเสริมรสชาติของอาหารอย่างมีประสิทธิภาพมานานเกือบ ศตวรรษ องค์ประกอบ หลักของผงชูรส คือ กรดอะมิโน ที่มีชื่อว่า "กรดกลูตามิก" หรือ "กลูตาเมต" ซึ่งเป็นส่วนประกอบตามธรรมชาติ ที่พบได้ในอาหารแทบทุกชนิด เราจะมาทาความรู้จักกับผงชูรสให้มากขึ้นอย่างถูกต้อง รวมไปถึงวิธีใช้ผงชูรสใน การปรุงอาหารอย่างเหมาะสมอีกด้วย 2.2.2 ผงชูรสผลิตจากอะไร ผงชูรสผลิตจากกระบวนการหมักเช่น เดียวกับเบียร์ น้าส้มสายชู หรือโยเกิร์ต โดยกระบวนการผลิตจะ เริ่มต้นจากการหมักกากน้าตาลจากอ้อย หรือน้าตาลจากแป้งมันสาปะหลัง ซึ่งเป็นวัตถุดิบธรรมชาติโดย ผลิตภัณฑ์สุดท้ายที่ได้จะเป็นผลึกขาวบริสุทธิ์ ละลายน้าได้ง่ายและเข้ากับอาหารได้ทุกชนิด หากท่านรับประทานอาหารนอกบ้าน แล้วมีอาการชาตามมือ และร้อนวูบวาบที่ปาก ลิ้น ใบหน้า และรู้สึกแน่น หน้าอก หายใจไม่สะดวก บางครั้งอาจมีผื่นแดงขึ้นตามตัวบ้างหรือไม่ อาการเหล่านี้เป็นที่รู้จักกันดีในนาม โรค ภัตตาคารจีน (Chinese Restaurant Syndrome) หรือโรคแพ้ผงชูรส นอกจากจะมีอาการข้างต้นแล้ว หากคุณรับประทานอาหารที่มีปริมาณผงชูรสมากๆ เป็นประจาย่อมเกิด

อันตรายต่อสุขภาพของตัวคุณได้ ดังนี้ 1.ทาลายระบบประสาทตา สายตาเสียหรือเกิดตาบอดได้ 2.ทาลายกระดูกและไขกระดูก ซึ่งผลิตเม็ดเลือดแดงในร่างกาย อาจทาให้เกิดโรคโลหิตจางได้ ทาให้วิตามินใน ร่างกายลดลง โดยเฉพาะอย่างยิ่งวิตามินบี6 ทาให้เป็นโรคผิวหนังได้ง่าย 3.ทาลายสมองส่วนหน้าหรือไฮโปทาลามัส ทาให้การเจริญเติบโตช้า ปัญญาอ่อน และเป็นหมัน 4.ทาลายระบบประสาทส่วนกลาง ทาให้เป็นโรคประสาทได้ง่ายขึ้น 5.สาหรับผู้ที่ตั้งครรภ์ ถ้ากินผงชูรสมากๆ จะมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงโครโมโซมของทารกในครรภ์ ทาให้ ร่างกายของเด็กเกิดความผิดปกติ ปากแหว่ง แขนขาพิการได้ (ความหมาย.2010:เว็บไซค์) 2.3 ยาพาราเซตามอล 2.3.1 ความหมาย ยาแก้ปวดพาราเซตามอล (Paracetamol)เภสัชกร อภัย ราษฎรวิจิตร ภบ. ทั่วไป กลุ่มยาแก้ปวด (Analgesics, อะนัลเจสิค) หมายถึง ยาประเภทต่างๆที่ใช้รักษา บรรเทาอาการปวด ซึ่ง อาการปวด มีหลายแบบ เช่น ปวดหัว ปวดฟัน ปวดกล้ามเนื้อ ปวดกระดูก ปวดท้อง ปวดข้อ และปวดหลัง อาการปวดบางชนิดสามารถหายได้เองโดยไม่ต้องใช้ยา เพียงพักผ่อนให้เพียงพอ ร่างกายจะกาจัดของ เสียที่เกิดขึ้นในกล้ามเนื้อ อาการปวดก็ทุเลาลง แต่อาการปวดบางอย่างต้องรีบรักษา เช่น ปวดศีรษะจากความ

5

ดันโลหิตสูง ปวดเจ็บแน่นบริเวณหน้าอก อาจส่ออาการเลือดไปเลี้ยงหัวใจไม่เพียงพอ แบบนี้รอไม่ได้ ต้องรีบ พบแพทย์โดยเร็ว 2.3.2 ยาพาราเซตามอล มีสรรพคุณ (คุณสมบัติ) อย่างไร? ยาพาราเซตามอล มีสรรพคุณ (คุณสมบัติ) แก้ปวดระดับน้อยไปจนถึงระดับปานกลาง แต่ไม่ช่วยลดการ อักเสบของร่างกาย เช่น การอักเสบจากถูกกระแทก ฟกช้า ใช้เป็นยาลดไข้ ทั้งเด็กและผู้ใหญ่ และนอกจากนี้ ยาพาราเซตามอลยังมีสาร salicylic ซึ่งช่วยในการกระตุ้นการเจริญเติบโตและต่อต้านโรคของพืชเช่นเดียวกับ ยาแอสไพริน ข้อดีของยาพาราเซตามอล คือ ไม่ระคายเคืองต่อกระเพาะอาหาร สามารถรับประทานพร้อมอาหาร หรือ ขณะท้องว่างได้ (ความหมาย.2011:เว็บไซค์) 2.4 กุหลาบ กุหลาบ มีชื่อวิทยาศาสตร์ Rosa hybrids ชื่อสามัญคือ กุหลาบ หรือ rose อยู่ในวงศ์: Rosaceae มี ถิ่นกาเนิดในทวีปเอเชีย 2.4.1ความสาคัญทางเศรษฐกิจ กุหลาบเป็นไม้ตัดดอกที่มีการปลูกเป็นการค้ากันแพร่หลายทั่วโลกมานานแล้ว กุหลาบเป็นไม้ตัดดอกที่มี การซื้อขาย เป็นอันดับหนึ่งในตลาดประมูลอัลสเมีย ประเทศเนเธอร์แลนด์ ซึ่งเป็นตลาดประมูลไม้ดอก ที่ใหญ่ ที่สุดของโลก เมื่อ พ.ศ. 2542 มีการซื้อขายถึง 1,672 ล้านดอก และมักจะมียอดขายสูงสุดในประเทศต่าง ๆ เมื่อเปรียบเทียบกับไม้ดอกชนิดอื่น ๆ โดยประเทศที่ปลูกกุหลาบรายใหญ่ของโลกได้แก่ อิตาลี เนเธอร์แลนด์ สเปน สหรัฐอเมริกา โคลัมเบีย เอกวาดอร์ อิสราเอล เยอรมนี เคนยา ซิมบับเว เบลเยียม ฝรั่งเศส เม็กซิโก แทนซาเนีย และมาลาวี เป็นต้น ปัจจุบันประเทศไทยมีพื้นที่ปลูกกุหลาบตัดดอกประมาณ 5,500 ไร่ กระจายอยู่ทั่วทุกภาคของประเทศ แหล่งปลูกที่สาคัญได้แก่ เชียงใหม่ เชียงราย ตาก นครปฐม สมุทรสาคร ราชบุรี และกาญจนบุรี มีการขยายตัว ของพื้นที่มากที่สุดใน อาเภอพบพระ จังหวัดตาก ซึ่งปัจจุบันประมาณว่ามีพื้นที่การผลิตถึง 3,000 ไร่ เนื่องจาก อ.พบพระ มีสภาพภูมิอากาศที่เหมาะสม พื้นที่ไม่สูงชัน และค่าจ้างแรงงานต่า (แรงงานต่างชาติ ) การผลิต กุหลาบในประเทศไทยอาจแบ่งได้เป็น 2 ลักษณะคือ การผลิตกุหลาบในเชิงปริมาณ และการผลิตกุหลาบเชิง คุณภาพ การผลิตกุหลาบเชิงปริมาณ หมายถึงการปลูกกุหลาบในพื้นที่ขนาดใหญ่ หรือปลูกในพื้นที่ราบ ซึ่งจะ ให้ผลผลิตมีปริมาณมาก แต่ผลผลิตไม่ได้คุณภาพ เช่น ดอกและก้านมีขนาดเล็ก มีตาหนิ จากโรคและแมลง หรือการขนส่ง อายุการปักแจกันสั้น ทาให้ราคาต่า การผลิตชนิดนี้ต้องอาศัยการผลิตในปริมาณมากเพื่อให้ เกษตรกรอยู่ได้ ส่วนการผลิตกุหลาบในเชิงคุณภาพ นิยมปลูกในเขตภาคเหนือ และบนที่สูง โดยปลูกกุหลาบ ภายใต้โรงเรือนพลาสติก ในพื้นที่จากัด มีการจัดการการผลิตและการปฏิบัติหลังการเก็บเกี่ย วที่ดี ใช้แรงงานที่ ชานาญ ทาให้กุหลาบที่ได้มีคุณภาพดี และปักแจกันได้นาน ตลาดของกุหลาบคุณภาพปานกลางถึงต่า (ตลาด ล่าง) ในปัจจุบันถึงขั้นอิ่มตัว เกษตรกรขายได้ราคาต่ามาก ส่วนตลาดของกุหลาบที่มีคุณภาพสูง (ตลาดบน)

6

ผลผลิตในประเทศยังไม่เพียงพอ และขาดความต่อเนื่อง ทาให้ยังต้องนาเข้าดอกกุหลาบจากต่างประเทศ เช่น เนเธอร์แลนด์ และมาเลเซีย เป็นต้น ประเทศไทยมีศักยภาพในการผลิ ตกุหลาบคุณภาพสู งอย่างต่อเนื่อง หากแต่จะต้องผลิตในพื้นที่ที่ เหมาะสม คือพื้นที่สูงมากกว่า 800 เมตรเหนือระดับน้าทะเล หากปลูกในที่ราบจะได้คุณภาพดีในช่วงฤดูหนาว เท่านั้น ดังนั้นการผลิตกุหลาบมีแนวโน้มเพิ่มพื้นที่การผลิตบนที่สูงมากขึ้น 2.4.3 ประโยชน์ ปลูกเพื่อความสวยงาม ตกแต่งสวน เพิ่มบรรยากาศ ใช้ประดับตกแต่งบ้าน งานเลี้ยง งาน แต่งงาน ปลูกเพื่อส่งดอกขาย เพื่อนาไปสกัดน้าหอม นาไปทาเป็นส่วนประกอบของสปา เป็นต้น (กุหลาบ.2555:เว็บไซค์)

บทที3่ วิธีการดาเนินงาน 3.1 วัสดุ อุปกรณ์ 1.ดอกกุหลาบ 2.ขันน้า 3.โอเอซีส 4.ยาพาราเซตามอล 5.ผงชูรส 6.น้าตาลทราย 7.ตาชั่ง 8.ครกบด 9.บิบเกอร์ 10.น้าเปล่า

จานวน 12 ดอก จานวน 3 ใบ จานวน 2 ก้อน จานวน 50 กรัม จานวน 50 กรัม จานวน 50 กรัม จานวน 1 อัน จานวน 1 อัน จานวน 3 อัน จานวน 1500 มิลลิลิตร

3.2 วิธีดาเนินการ ตอนที่ 1 1.นายาพาราเซตามอล น้าตาลทราย ผงชูรส มาบดละเอียดในครกบดยานามาชั่งอย่างละ 50 กรัม นามาละลายในน้า อย่างละ 500 มิลลิลิตร 2.นาโฮเอชีสมาแบ่งตัดเท่าๆกันจานวน 3 ก้อน แล้วนาดอกกุหลาบมาเสียบก้อนโอเอชีสก้อนละ 2 ดอก 3.นาสารสารละลายทั้ง 3 ชนิดที่เตรียมไว้มาเทลงก้อนโอเอชีสโดยสารละลายยาพาราเซตามอลลงบน โอเอชีสก้อนที่ 1 สารละลายน้าตาลทรายลงบนโอเอซีสก้อนที่ 2 และสารละลายผงชูรสลงบนก้อนโอเอซีสก้อน ที่ 3

7

4.นาก้อนโอเอชีสที่เสียบดอกไม้เรียบร้อยแล้วเก็บไว้ในห้องที่มีอุหภูมิบันทึกผลจากการสังเกตทุกๆ 5 ชั่วโมงสังเกตและบันทึกผล ตอนที่ 2 1.นายาพาราเซตามอลมาชั่งน้าหนักอัตราส่วน 30 กรัม 50 กรัม 70 กรัมมาละลายในน้าอย่างละ 500 มิลลิลิตร 2.นาโอเอชีสมาแบ่งตัดเท่าๆกันจานวน 3 ก้อนแล้วนาดอกกุหลาบมาเสียบก้อนโอเอชีสก้อนละ 2 ดอก 3.นาสารสารละลายยาพาราเซนตามอลที่เตรียมไว้มาเทลงก้อนโอเอชีสโดยสารละลายยาพาราเซตา มอลอัตราส่วน 30 ต่อ น้า 500 มิลลิลิตร ลงบนโอเอชีสก้อนที่ 1 สารละลายยาพาราเซตามอลอัตราส่วน 50 ต่อ น้า 500 มิลลิลิตร ลงบนโอเอซีสก้อนที่ 2 สารละลายยาพาราเซตามอลอัตราส่วน 70 ต่อ น้า 500 มิลลิลิตร ลงบนก้อนโอเอซีสก้อนที่ 3 4.นาก้อนโอเอชีสที่เสียบดอกไม้เรียบร้อยแล้วเก็บไว้ในห้องที่มีอุหภูมิ ปกติสังเกตการบันทึกผลจาก การสังเกตทุกๆ 5 ชั่วโมง

8

บทที่ 4 ผลการศึกษา จากการศึกษาการรักษาความสดของดอกไม้ซึ่งได้ดาเนินการโดยนาน้าตาลทราย ผงชูรส ยาพาราเซตา มอลมาละลายน้าในปริมาณ 50 ต่อน้า 500 มิลลิลิตร และทาการทดสอบเปรียบเทียบความสดของดอก กุหลาบในแต่ละสารโดยใช้เวลาในการสังเกตทุก 5 ชั่วโมงได้ผลการทดลอง ดังนี้ ตารางที่ 1 เปรียบเทียบความสดของดอกกุหลาบในสารละลาย น้าตาลทราย ผงชูรส ยาพาราเซตามอล ชั่วโมงที่ สังเกต ลักษณะของดอกไม้ นาตาลทราย ผงชูรส ยาพาราเซตามอล ชั่วโมงที่ 5 ชั่วโมงที่ 10 ชั่วโมงที่ 15

ชั่วโมงที่ 20

ยังไม่มีการเปลี่ยนแปลง ดอกไม้เริ่มบานออก เล็กน้อยแต่ดอกยังสด อยู่ ดอกไม้เริ่มบานและ เหี่ยวเล็กน้อยกลีบดอก เริ่มมีสีดาตรงขอบกลีบ เล็กน้อย ดอกไม้เริ่มบานและ เหี่ยวเล็กน้อยกลีบดอก เริ่มมีสีดาตรงขอบกลีบ มากขึ้น

ยังไม่มีการเปลี่ยนแปลง ก้านของดอกกุหลาบเริ่ม เหี่ยวแต่ดอกยังสดอยู่

ยังไม่มีการเปลี่ยนแปลง ดอกกุหลาบยังสดและ ก้านยังคงเดิม

ดอกไม้เริ่มบานและเหี่ยว มากส่วนตรงกลีบดอกมีสี ดาเต็มดอก

ดอกกุหลาบยังมีสีสด และชูช่อดี

ดอกไม้เริ่มบานและส่วน ดอกกุหลาบยังมีสีสด ตรงก้านดอกเริ่มเหี่ยวมาก และชูชอ่ ดี ส่วนตรงกลีบดอกมีสีดา เต็มดอก

ผลการทดลอง จากตาราง ผลการทดลองสารละลายน้าตาลทราย ผงชูรส ยาพาราเซตามอล เทลงโอเอซีสที่มี ดอกกุหลาบทิ้งไว้ 20 ชั่วโมง พบว่า ยาพาราเซตามอลช่วยให้ดอกกุหลาบมีความสดและคงอยู่ได้นานที่สุด ส่วน สารน้าตาลทราย ผงชูรส ทาให้ดอกกุหลาบคงความสดได้ไม่นาน จากการศึกษาการรักษาความสดของดอกไม้ซึ่งได้ดาเนินการโดยนา ยาพาราเซตามอลมาบดละเอียดกับ ครกบดยาแล้วน้ามาชั่ง 3 ส่วนได้แก่ 30 กรัม 50 กรัม 70 กรัม แล้วนามาละลายน้า 500 มิลลิลิตร และทา การทดสอบเปรียบเทียบความสดของดอกกุหลาบในแต่ละอัตราส่วนโดยใช้เวลาในการสังเกตทุก ๆ 5 ชั่วโมง ได้ผลการทดลอง ดังนี้ ตารางที่ 2 เปรียบเทียบความสดของดอกกุหลาบในสารละลายยาพาราเซตามอล 3 อัตราส่วน

9

จานวนครัง

ชั่วโมงที่ 5 ชั่วโมงที่ 10 ชั่วโมงที่ 15 ชั่วโมงที่ 20

ลักษณะของดอกไม้ อัตราส่วนที่ 1 ยาพารา อัตราส่วนที่ 2 ยาพาราเซล เซลตามอล 30 กรัม:นา ตามอล 50 กรัม:นา 500 500 มิลลิลิตร มิลลิลิตร ดอกกุหลาบยังไม่มีการ เปลี่ยนแปลไปจากเดิม ความสดของดอกกุหลาบ ยังคงปกติ ดอกกุหลาบยังสด ดอกกุหลาบยังมีความสด อยู่ตลอดเวลาทั้งใบและ ก้านดอกดีกว่าปริมาณ อื่นๆ

อัตราส่วนที่ 3 ยา พาราเซลตามอล 30 กรัม:นา 500 มิลลิลิตร ดอกกุหลาบยังไม่มีการ ดอกกุหลาบยังไม่มีการ เปลี่ยนแปลไปจากเดิม เปลี่ยนแปลไปจากเดิม ดอกกุหลาบเริ่มเหี่ยว ดอกกุหลาบเริ่มเหี่ยว เล็กน้อย มากขึ้น ดอกกุหลาบเริ่มเหี่ยว ดอกกุหลาบเริ่มเหี่ยว เล็กน้อย มากขึ้น ดอกกุหลาบเริ่มเหี่ยวทั้งดอก ดอกกุหลาบเริ่มเหี่ยว ใบและก้านกลีบดอกเริ่มมีสี แห้งมากขึ้นทั้งดอก ใบ คล้า และก้านกลีบดอกเริ่มมี สีคล้าดา

ผลการทดลอง จากตารางที่ 2 ผลการศึกษาการนายาพาราเซลตามอลที่ประสิทธิภาพในการรักษาความสดของดอกไม้อยู่ ได้นานที่สุดในอัตราส่วนที่ต่างกัน 3 อัตราส่วน พบว่าอัตราส่วนยาพาราเซตามอลในอัตราส่วน ยาพาราเซตา มอล 30 : น้า 500 มิลลิลิตร สามารถรักษาความสดของดอกกุหลาบได้นานที่สุด

บทที่ 5 สรุปผลการศึกษา อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ 5.1สรุปผลการศึกษา จากการทดลองขั้นตอนที่ 1 สารน้าตาลทราย ผงชูรส และยาพาราเซตามอล ในการรักษาความสดของ ดอกกุหลาบ ผลการศึกษา พบว่า ยาพาราเซตามอลช่วยให้ดอกกุหลาบมีความสดได้ดี กว่า สารละลายน้าตาล ทรายและสารละลายผงชูรส

10

จากการทดลองขั้นตอนที่ 2 ศึกษาอัตราส่วนของยาพาราเซตามอลที่เหมาะสมในการรักษาความสดของ ดอกกุหลาบ ผลการศึกษาพบว่า อัตราส่วนยาพาราเซลตามอล 30 กรัม : น้า 500 มิลลิลิตร มีประสิทธิในการ คงความสดของดอกกุหลาบได้ดีที่สุด 5.2 อภิปรายผล การใช้ยาพาราเซตามอลในการรักษาความสดของดอกกุหลาบใช้ได้ดีกว่า น้าตาลทราย และผงชูรส เพราะ ยาพาราเซตามอลมีสาร salicylic ซึ่งช่วยในการกระตุ้นการเจริญเติบโตและต่อต้านโรคของพืช จึงช่วย ในการรักษาความสดของดอกกุหลาบไว้ได้นาน ไม่เหี่ยวเฉาง่าย และในการศึกษาอัตราส่วนยาพาราเซตามอล 30 กรัม ต่อ น้า 500 มิลลิลิตร เหมาะแก่การใช้รักษาความสดของดอกกุหลาบได้ดีกว่าอัตราส่วนยาพาราเซตา มอล 50 กรัม ต่อ น้า 500 มิลลิลิตร และ อัตราส่วนยาพาราเซตามอล 70 กรัม ต่อ น้า 500 มิลลิลิตร โดย สังเกตได้จากดอกกุหลาบที่สดไม่เหี่ยวเฉา

5.3 ข้อเสนอแนะ 1. ควรใช้สารอื่นในการทดลองรักษาความสดของดอกกุหลาบ 2. ในการทดลองครั้งต่อไปควรทดลองเกี่ยวกับระยะเวลาการรักษาความสดของสารแต่ละชนิด

บรรณานุกรม วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี.ยาพาราเซตามอล.(ออนไลน์).เข้าถึงได้จาก hattp://th.wikipedia.org(วันที่ค้น ข้อมูล 15 มิถุนายน 2555) วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี.กุหลาบ (ออนไลน์).เข้าถึงได้จาก hattp://th.wikipedia.org(วันที่ค้นข้อมูล 15 มิถุนายน 2555) วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี.ผงชูรส (ออนไลน์).เข้าถึงได้จาก hattp://th.wikipedia.org(วันที่ค้นข้อมูล 15 มิถุนายน 2555) วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี.นาตาลทราย(ออนไลน์).เข้าถึงได้จาก hattp://th.wikipedia.org(วันที่ค้นข้อมูล 15 มิถุนายน 2555)

11

ภาคผนวก ก ภาพประกอบ