การทํางานของเครื่องยนต์แก๊สโซลีน 4 จังหวะ

เครื่องยนต์ดีเซลเป็นเครื่องยนต์แบบสันดาปภายใน (internal combustion engines) ชนิดหนึ่ง ซึ่งเป็นเครื่องต้นกำลังที่เปลี่ยนพลังงานเคมีในเชื้อเพลิงให้เป็นพลังงาน ความร้อนโดยการเผาไหม้ และพลังงานความร้อนก็จะเปลี่ยนเป็นพลังงานกลหรืองาน

การทํางานของเครื่องยนต์แก๊สโซลีน 4 จังหวะ
การทํางานของเครื่องยนต์แก๊สโซลีน 4 จังหวะ

 
เครื่องยนต์ดีเซลนั้นจะมีการจุดระเบิด ส่วนผสมระหว่างอากาศและเชื้อเพลิงเองซึ่งเรียกว่า compression ignition โดยเชื้อเพลิงจะถูกอัดฉีดเข้าไปในห้องเผาไหม้ที่มีอากาศถูกอัดไว้และเกิดการ ลุกไหม้ขึ้นจากความร้อนในระบบ โดยไม่มีหัวเทียนในการจุดระเบิด ผลของการเผาไหม้จะทำให้ก๊าชที่เกิดขึ้นมีความดันและอุณหภูมิสูงก็จะขยายตัว ดันลูกสูบลงมา ซึ่งจะไปผลักให้ข้อเหวี่ยงหมุนไป

การทํางานของเครื่องยนต์แก๊สโซลีน 4 จังหวะ

ชิ้นส่วนสำคัญในกระบอกสูบ

การทํางานของเครื่องยนต์แก๊สโซลีน 4 จังหวะ

วงจรการทำงานของเครื่องยนต์ดีเซล 4 จังหวะ (cycle of four stroke diesel engine)
1. จังหวะดูด ลูกสูบเคลื่อนที่จากตำแหน่งบนสุดลงมาล่างสุด ในขณะที่วาล์วไอดีเปิดออก ก็จะเกิดแรงดูดอากาศเข้าสู่ห้องเผาไหม้

การทํางานของเครื่องยนต์แก๊สโซลีน 4 จังหวะ

จังหวะดูดเมื่อลูกสูบเลื่อนลงไปจนสุดแล้ววาล์วไอดีจะปิด

การทํางานของเครื่องยนต์แก๊สโซลีน 4 จังหวะ


2. จังหวะอัด ลูกสูบเคลื่อนที่จากตำแหน่งล่างสุดขึ้นสู่ตำแหน่งบนสุด ในขณะที่วาล์วปิดทั้งไอดีและไอเสีย อัดให้อากาศภายในห้องเผาไหม้มีความดันสูงขึ้นและเกิดความร้อนขึ้นสูงมากพอ ที่จะทำให้น้ำมันเชื้อเพลิงสามารถลุกติดไฟได้โดยไม่ต้องใช้ประกายไฟในการทำ ให้เกิดการเผาไหม้

จัดหวะอัดที่อัดลูบจะเลื่อนขึ้นและเกิดความร้อนของไอดีระดับ 550 องศา

การทํางานของเครื่องยนต์แก๊สโซลีน 4 จังหวะ

3. จังหวะระเบิด ในขณะลูกสูบอยู่ในตำแหน่งอัด ในห้องเผาไหม้มีความดันและอุณหภูมิสูง หัวฉีดจะฉีดน้ำมันเชื้อเพลิงเข้าสู่ห้องเผาไหม้ น้ำมันเชื้อเพลิงที่ฉีดเข้าไปแตกเป็นฝอยสัมผัสความร้อนสูงของอากาศจะเกิดการ ติดไฟและลามไปทั่วห้องเผาไหม้ ทำให้อากาศในห้องเผาไหม้ทั้งห้องอุณหภูมิสูงขึ้นอย่างรวดเร็วและขยายตัวดัน ลูกสูบลงมา ซึ่งเป็นกำลังขับเครื่องยนต์

น้ำมันเชื้อเพลิงถูกฉีดตรงเข้าที่ห้องเผาไหม้ที่มีความร้อนสูงรออยู่เมื่อผสมกันจึงเกิดระเบิด

การทํางานของเครื่องยนต์แก๊สโซลีน 4 จังหวะ

ลูกสูบเลื่อนลงด้วยพลังงานที่ระเบิดขึ้นภายในกระบอกสูบ

การทํางานของเครื่องยนต์แก๊สโซลีน 4 จังหวะ

4. จังหวะคาย เมื่ออากาศและน้ำมันเชื้อเพลิงเกิดจากการเผาไหม้ขยายตัวดันลูกสูบจนถึง ตำแหน่งล่างสุดแล้ว ลูกสูบก็จะเริ่มเคลื่อนที่ขึ้นพร้อมกับวาล์วไอเสียเปิด ลูกสูบก็จะดันเอาไอเสียหรือก๊าชที่เกิดจากการเผาไหม้ออกไปโดยผ่านทางวาล์วไอ เสีย

เมื่อระเบิดเสร็จแล้วจะเกิดไอเสียจำนวนมาก

การทํางานของเครื่องยนต์แก๊สโซลีน 4 จังหวะ

วาล์วไอเสียเปิดออกเพื่อระบบไอเสียไปยังท่อไอเสีย

การทํางานของเครื่องยนต์แก๊สโซลีน 4 จังหวะ

ดังนั้นการหมุนของเครื่องยนต์ 2 รอบจะมีจังหวะให้กำลัง 1 ครั้ง คือจังหวะระเบิด ซึ่งใช้เวลา 1/2 รอบ สำหรับเครื่องยนต์แบบ 4 สูบจะจัดจังหวะระเบิดให้ต่อเนื่องกันทำให้เกิดจังหวะกำลัง 1/2 รอบ 4 ครั้ง เท่ากับ 2 รอบ หรือมีการให้กำลังตลอดเวลา กำลังของเครื่องยนต์มาจากอากาศที่อยู่ในห้องเผาไหม้ที่ถูกอัดให้มีความดัน สูงอยู่แล้วประมาณ 100-200 บาร์และเมื่อเกิดการจุดระเบิดจะมีความดันเพิ่มขึ้นอีก เป็นความดันที่สูงเพียงพอที่จะขับดันเพลาข้อเหวี่ยง ไปยังเกียร์ เพลา เฟือง และล้อเพื่อขับเคลื่อนรถยนต์ เรือ เครื่องจักร หรืออุปกรณ์ใดๆ ก็ตามที่ใช้เครื่องยนต์ดีเซลเป็นเครื่องต้นกำลังได้

ตามหลักการทำงานของเครื่องยนต์ส่วนใหญ่ จะเป็น เครื่องยนต์ 4 จังหวะ ซึ่งจะมีจังหวะในการทำงานของกระบอกสูบ เพื่อให้เกิดการสันดาป และส่งเป็นพลังงานภายในเครื่องยนต์ ประกอบไปด้วยจังหวะ ดูด อัด ระเบิด คาย 

หลักการทำงานของ เครื่องยนต์ 4 จังหวะ

ในการทำงานของเครื่องยนต์ 4 จังหวะนั้น จะมีรอบการทำงานเป็น Cycle โดยเพลาข้อเหวี่ยงจะหมุน 2 รอบ ทำให้เกิดการเคลื่อนที่ของลูกสูบขึ้นลง 4 ครั้ง โดยเคลื่อนขึ้น 2 ครั้ง ลง 2 ครั้ง การที่ลูกสูบขึ้นลง 4 ช่วงชัก ทำให้เกิดการทำงานขึ้น 4 จังหวะ โดยมีหลักการทำงานดังนี้

จังหวะ1 : ดูด (Intake)

จังหวะแรกคือ จังหวะดูด เมื่อลูกสูบเริ่มเคลื่อนที่ลงมาด้านล่าง จะดูดเอาไอดี ซึ่งก็คือส่วนผสมของน้ำมันเชื้อเพลิงกับอากาศเข้ามากระบอกสูบ (สำหรับเครื่องยนต์ดีเซลจะดูดเฉพาะอากาศไม่มีเชื้อเพลิง)  โดยผ่านลิ้นไอดีที่จะเปิดอยู่ จนดูดมาถึงปลายล่าง (ศูนย์ตายล่าง) แล้วลิ้นไอดีถึงจะปิด

จังหวะ2 : อัด (Compression)

จังวะที่สอง จังหวะอัด ลูกสูบเริ่มเลื่อนขึ้นไปข้างบน ทั้งลิ้นไอดีและลิ้นไอเสียจะปิด ไอดีที่ถูกดูดเข้ามาจนเต็มกระบอกสูบนั้นจะถูกอัดเข้าไปจนใกล้ถึงข้างบน (ศูนย์ตายบน) เมื่ออัดได้ที่แล้ว อุณหภูมิของไอดีที่ถูกอัดจะสูงมาก หากเป็นเครื่องยนต์เบนซินจะถูกจุดโดยหัวเทียน ส่วนเครื่องบนต์ดีเซลจะมีการฉีดเชื้อเพลิงเข้ามาเพื่อให้เกิดการเผาไหม้

จังหวะ3: ระเบิด (ignite)

เมื่อปล่อยให้เกิดการเผาไหม้เกิดขึ้น จะถึงจังหวะระเบิด คือมีแรงดันที่เกิดจากการเผาไหม้นั้น การระเบิดนี้จะดันลูกสูบให้เลื่อนลงมาจนถึงศูนย์ตายล่าง เมื่อลูกสูบเลื่อนลงมา เพลาข้อเหวี่ยงจะเกิดการหมุนเครื่องยนต์ เกิดพลังงานขึ้น เป็นการแปลงพลังงานความร้อนเป็นพลังงานกล พร้อมกับลิ้นไอเสียจะเริ่มเปิดออก

จังหวะ4 : คาย (Exhaust)

จังหวะสุดท้าย จังหวะคาย จะเป็นจังหวะที่ลูกสูบเริ่มเคลื่อนตัวขึ้นด้านบน โดยเป็นการดันเอาไอเสียที่ผ่านการระเบิดแล้ว ให้ออกสู่ภายนอก โดยผ่านลิ้นไอเสียที่เปิดอยู่ จนกระทั่งลูกสูบเคลื่อนตัวผ่านศูนย์ตายบนไปแล้ว ลิ้นไอเสียจะปิด และกลับมาเริ่มกระบวนการดูดใหม่ในจังหวะแรกของ cycle

เครื่องยนต์แก๊สโซลีน 4 จังหวะจังหวะกำลังมีวิธีการทำงานอย่างไร

เครื่องยนต์ 4 จังหวะมีหลักการทำงานคือใน 1 กลวัตร (Cycle) ของแต่ละสูบ เพลาข้อเหวี่ยงจะหมุน 2 รอบ ต่อการจุดระเบิดให้กำลังงาน 1 ครั้ง นั่นหมายถึงลูกสูบจะเคลื่อนที่ขึ้น-ลงรวม 4 ครั้ง (ขึ้น 2 ครั้ง และลง 2 ครั้ง) คือเพลาข้อเหวี่ยงหมุนรอบที่ 1 ลูกสูบเคลื่อนที่ลงในจังหวะดูด (Intake Stroke).

เครื่องยนต์แก๊สโซลีนทำงานอย่างไร

หลักการทำงานของเครื่องยนต์แก๊สโซลีน 4 จังหวะ แบ่งเป็น 4 จังหวะคือ จังหวะดูด จังหวะอัด จังหวะระเบิด และจังหวะคาย การที่เครื่องยนต์ทำงานครบ 4 จังหวะ (เพลาข้อเหวี่ยงหมุน 2 รอบ) เป็นการทำงานครบ 1 รอบ เช่นเดียวกันกับหลักการทำงานของเครื่องยนต์ดีเซล 4 จังหวะ คือจะมี จังหวะดูด จังหวะอัด จังหวะระเบิด และจังหวะคาย เพียงแต่การจุด ...

เครื่องยนต์4จังหวะมีขั้นตอนการทํางานอย่างไร

การทำงาน 4 จังหวะได้แก่ ดูด อัด ระเบิด และคาย แต่ละจังหวะใช้การทำงานเคลื่อนที่ของลูกสูบหนึ่งครั้ง ซึ่งหมายความว่าหนึ่งรอบการทำงานต้องใช้การหมุนเพลาข้อเหวี่ยงสองรอบ

วัฏจักรเครื่องยนต์เบนซิน 4 จังหวะ ทํางานอย่างไร

หลักการทำงานของเครื่องยนต์ 4 จังหวะ.
จังหวะดูด (Suction Stroke) ลูกสูบที่อยู่ด้านบนจะเคลื่อนตัวลงมาด้านล่าง ซึ่งลิ้นไอดีจะเปิดออกแล้วดูดเอาไอดี (ส่วนผสมระหว่างน้ำมันเชื้อเพลิงและอากาศ) เข้ามาในกระบอกสูบ เมื่อสิ้นสุดจังหวะดูด วาล์วไอดีจะปิด.
จังหวะอัด (Compression Stroke) ... .
จังหวะระเบิด (Power stroke) ... .
จังหวะคาย (Exhaust).