หลักการสหกรณ์ สากล หลักการ ที่ 5

��ѡ����ˡó� ��� ��͡�˹��Ӥѭ����ˡó�ء�ˡó��ͧ�ִ������Ƿҧ��Ժѵ����ҡ��Ѩ�غѹ�մ��¡ѹ 7 ��� �ѧ���

��ѡ��÷�� 1 ����Դ�Ѻ��Ѥ��·���仵��������Ѥ��

�ˡó���ͧ������觤�����Ѥ�㨷���Դ�Ѻ�ؤ�ŷ�����·������ö���ԡҢͧ�ˡó���������Ѻ�Դ�ͺ㹰ҹ���Ҫԡ�������Ҫԡ�»��Ȩҡ��áմ�ѹ�ҧ�� �ѧ�� ���ͪҵ� ������ͧ�����ʹ�

��ѡ��÷�� 2 ��äǺ�������Ҫԡ�����ѡ��ЪҸԻ��

�ˡó���ͧ���û�ЪҸԻ�� ���Ǻ����������Ҫԡ�������ǹ�������ҧ�秢ѹ㹡�á�˹���º����С�õѴ�Թ� ��������ʵ�ռ�������Ѻ���͡����繼��᷹��Ҫԡ ��ͧ�Ѻ�Դ�ͺ��������Ҫԡ��ˡó��
�����Ҫԡ���Է�㹡���͡���§��������ѹ (��Ҫԡ˹�觤�˹�����§)

��ѡ��÷�� 3 �������ǹ�����ҧ���ɰ�Ԩ����Ҫԡ

��Ҫԡ�ˡó�֧����ǹ����㹡��ŧ�ع (�������) ��ˡó�ͧ���ͧ���ҧ�����Ҥ�ѹ �������ǹ㹡�äǺ���������Թ�ع�ͧ�ˡó����Ƿҧ��ЪҸԻ�� �ع�ͧ�ˡó����ҧ���� ��ǹ˹�觵�ͧ�繷�Ѿ���Թ��ǹ����ͧ�ˡó� �»�����Ҫԡ�����Ѻ�ŵͺ᷹ (�����) ��ѵ�ҷ��ӡѴ����Թŧ�ع (���) ����˹������͹䢢ͧ����������Ҫԡ ��Ҫԡ����ö�Ѵ����Թ��ǹ�Թ�ͧ�ˡó������ѵ�ػ��ʧ��ѧ���
- ���͡�þѲ���ˡó����Ҩ�ѹ����繷ع���ͧ ������ҧ���¨е�ͧ����ǹ˹�觷������觡ѹ������- �ͺ᷹����Ҫԡ����Ѵ��ǹ�ͧ����ҳ��áԨ�����Ҫԡ��ӡѺ�ˡó�- ����ʹѺʹع�Ԩ������ҧ� ��������Ҫԡ��繪ͺ
��ѡ��÷�� 4 ��û���ͧ���ͧ��Ф����������
�ˡó���ͧ���÷���觾ҵ��ͧ ���ա�äǺ��������Ҫԡ �ҡ�ˡó�е�ͧ�բ�͵�ŧ�١�ѹ�Ѻͧ�������������֧˹��§ҹ�ͧ�Ѱ��Ŵ��� ���ͨе�ͧ�����Թŧ�ع������������Թ�ع��¹͡�ˡó� �ˡó��ͧ��зӡ�ôѧ����� ��������͹䢷��������������Ҫԡ���ѧ����ç������ӹҨ 㹡�äǺ����ˡó����Ƿҧ��ѪҸԻ������ˡó��ѧ����ç�����������

��ѡ��÷�� 5 ���������֡�� ��ý֡ͺ��������ʹ��

�ˡó�֧������֡����С�ý֡ͺ���������Ҫԡ ���᷹�ҡ������͡��駼��Ѵ��� ��о�ѡ�ҹ�����������ö����ǹ���¾Ѳ���ˡó������ҧ�ջ���Է�Լ� ��о֧������������Ҹ�óЪ� ��੾�����Ǫ���к�ôҼ��ӷҧ�����Դ�����ͧ�س�ѡɳ���Фس����ª��ͧ����ˡó�

��ѡ��÷�� 6 ���������������ҧ�ˡó�

�ˡó�����ö����ԡ������Ҫԡ���ҧ�ջ���Է�Լ��٧�ش�����������ҧ�������������袺ǹ����ˡó�����������͡ѹ��дѺ��ͧ��� �дѺ�ҵ� �дѺ�����Ҥ����дѺ�ҹҪҵ�

��ѡ��÷�� 7 ����������ҷõ�ͪ����

�ˡó�֧���Թ�Ԩ��õ�ҧ� ���͡�þѲ�Ҫ��������դ�����ԭ����׹�����º�·�������Ҫԡ��繪ͺ
หลักการสหกรณ์ สากล หลักการ ที่ 5
��ª���� �ӻ�
��иҹ�������
หลักการสหกรณ์ สากล หลักการ ที่ 5

�������к��ˡó��͹�Ź�
หลักการสหกรณ์ สากล หลักการ ที่ 5
หลักการสหกรณ์ สากล หลักการ ที่ 5
�ѵ�Ҵ͡�����Թ�ҡ�����Ѿ��   ���¡��� 1 �ʹ�ҷ1.75   1 �ʹ - 1 ��ҹ�ҷ2.00   1 ��ҹ�ҷ ����2.25�Թ�ҡ��Ш�   �ҡ��Ш� (��������)2.50�Թ���   �Թ���ء������5.75�Ţ�ѭ�ո�Ҥ��
�ͧ�ˡó���.��ا�� �ҢҾ����
    512-6-00937-0�.��ا෾ �ҢҾ����
    295-301909-4�.����Թ �ҢҾ����
    0-2002437324-1�.��ԡ��� �ҢҾ����
    209-1-03805-9�.���. �ҢҾ����
    0-20051843800***��Ҫԡ����͹�Թ�����
���ͪ����Թ��������������
��ҽҡ�����Ѿ��
�����Ҫԡ����¡���͹
���Ѿ������ 054-431994
��������ѡ�ҹ����͹
�������������´����͹
���ѧLine �ˡó�
ID Line : @pyocoop�ӹǹ����͹�Ź� : 3
�ӹǹ�����Ҫ�:2305930

������Ѻ�ѹ��� 1��.�.2552

กำเนิดหลักการสหกรณ์

•          หลักการสหกรณ์ กำเนิดมาพร้อมกับกำเนิดของสหกรณ์แห่งแรกของโลก     คือ สมาคม    ของผู้นำอันเที่ยงธรรมแห่งเมืองรอชเดล เมื่อ ค.ศ.1844   หรือกว่า 160 ปีมาแล้ว

•          ในวาระของกำเนิดสหกรณ์รอชเดลนั้น ผู้นำรอชเดลได้มีการกำหนดหลักปฏิบัติของสหกรณ์รอชเดลไว้หลายประการเพื่อเป็นแนวทางสำหรับสหกรณ์ อื่นๆที่เกิดขึ้นในระยะต่อมา

•          หลักปฏิบัติของนักสหกรณ์รอชเดลเหล่านี้ ต่อมาได้มีการประมวลไว้เป็น  หลักสำคัญรวม   7 ประการ ซึ่งเป็นที่มาของหลักสหกรณ์สากล

ความหมาย คำนิยาม

•          สหกรณ์เป็นองค์การอิสระของบุคคลซึ่งรวมกันด้วยความสมัครใจเพื่อสนองความต้องการ และความมุ่งหมายร่วมกันทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม โดยการดำเนินวิสาหกิจที่เป็นเจ้าของร่วมกัน และควบคุม ตามแนวทางประชาธิปไตย

Co-operative is an autonomous association of persons united voluntarily to meet their common economic, social, and cultural needs and aspirations through a jointly-owned and democratically-controlled enterprise

ค่านิยมทางสหกรณ์

•          จากแถลงการณ์ว่าด้วยเอกลักษณ์ของการสหกรณ์ (ICA-Statement on the Co-operative Identity ,September 1995   ได้กำหนดค่านิยมทางสหกรณ์ไว้ดังนี้

·       สหกรณ์อยู่บนฐานค่านิยมของการพึ่งพาและรับผิดชอบตนเอง  ประชาธิปไตย ความเสมอภาค ความเที่ยงธรรม และความสามัคคี

·       สมาชิกสหกรณ์ตั้งมั่นอยู่ในค่านิยมทางจริยธรรมแห่งความซื่อสัตย์  เปิดเผย รับผิดชอบต่อสังคม และเอื้ออาทรต่อผู้อื่น ตามแบบแผน ที่สืบทอดมาจากผู้ริเริ่มการสหกรณ์

หลักการสหกรณ์สากล

•          หลักการสหกรณ์สากลเกิดขึ้นโดยการให้คำรับรองของที่ประชุมสมัชชาของสัมพันธภาพสหกรณ์ระหว่างประเทศ (ICA) ซึ่งประกอบด้วยตัวแทนสหกรณ์ที่เป็นสมาชิก

•          ก่อนหน้าที่จะมีแถลงการณ์ปี ค.ศ. 1995 นั้น สัมพันธภาพสหกรณ์ระหว่างประเทศได้ให้การรับรองหลักสหกรณ์สากล 6 ประการ ไว้เมื่อ  คราวประชุมสมัชชาครั้งที่ 23 ที่กรุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย เมื่อ  วันที่ 8 กันยายน 2509 (ค.ศ.1966) และถือใช่มาเป็นเวลาเกือบ 30 ปี   โดยได้นิยามหลักการสหกรณ์ไว้ว่า “วิธีปฏิบัติอันจำเป็นที่ไม่อาจ
หลีกเลี่ยงได้ โดยเด็ดขาด ต่อการบรรลุความมุ่งหมายของสหกรณ์”   ประกอบด้วยหลักการสหกรณ์ 6 ประการ

•          ต่อมาในปี 1995 ซึ่งเป็นวาระที่สัมพันธภาพสหกรณ์ระหว่างประเทศ(ICA) มีอายุครบ 100 ปี (ก่อตั้งปี 1895) ที่ประชุมสมัชชาของ ICA ที่เมืองแมนเชสเตอร์ประเทศอังกฤษ ได้มีการทบทวนหลักการสหกรณ์สากลใหม่ และได้ให้คำรับรองหลักการสหกรณ์สากลใหม่ รวม 7 ประการ เพื่อให้ขบวนการสหกรณ์สามารถปรับตัวสอดรับกับสถานการณ์การเปลี่ยนแปลง
 ของโลก และการพัฒนาในคริสศตวรรษที่ 21 โดยออกเป็นแถลงการณ์ว่า ด้วยเอกลักษณ์ของการสหกรณ์ (Statement on the Co-operative Identity)  ในเดือนกันยายน 1995

•          ตามแถลงการณ์ดังกล่าว ระบุว่า หลักการสหกรณ์ เป็นแนวทางสำหรับสหกรณ์ทั้งหลาย ในการนำคำนิยมของสหกรณ์สู่การปฏิบัติ

ความเข้าใจหลักสหกรณ์สากล

•          ผู้คนส่วนใหญ่มักมีความเข้าใจว่า “หลักการสหกรณ์” เป็นเสมือน “กฎเหล็ก” ที่ต้องปฏิบัติตามแบบคำต่อคำ ในทัศฯหนึ่งอาจจะเป็นการถูกต้องเมื่อหลักการสหกรณ์ใช้เป็นเครื่องวัดมาตรฐาน(ของความเป็นสหกรณ์) แต่ในอีกทัศนะหนึ่งก็ต้องมีความจำกัด หรือยกเว้นการปฏิบัติตามนั้นบางอย่าง เมื่อต้องการกระต้นให้เกิดการปฏิบัติอื่นๆ(อย่างได้ผล)

•          หลักการสหกรณ์ กล่าวได้ว่าไม่ได้เป็นเพียงข้อบัญญัติ แต่ยังเป็นแนวทางในการวินิจฉัยพฤติกรรมและการตัดสินใจ การให้ความสนใจเพียงว่าสหกรณ์นี้ปฏิบัติตามข้อกำหนดของหลักการสหกรณ์หรือไม่ คงไม่เป็นการเพียงพอ  หากแต่ควรสนใจ ว่าหลักการสหกรณ์แต่ละข้อ ได้รับการปฏิบัติอยู่ตลอดเวลาทั้งในระดับปัจเจกบุคคลและมวลสมาชิกโดยรวม

•          ด้วยเหตุนี้หลักการสหกรณ์จึงไม่ใช่สิ่งที่เขียนไว้บนกระดาษเพื่อทบทวนเป็นระยะๆ เพียงเพื่อให้มีความเหมาะสมตามกาลสมัย แต่เป็นสิ่งที่ช่วยสร้างข่ายในการรวมอำนาจ สร้างพลังให้แก่ทุกส่วน ที่สหกรณ์จะเกาะเกี่ยวไปได้ในอนาคต

•          หลักการสหกรณ์ ถือเป็นหัวใจของวิสาหกิจสหกรณ์ โดยที่แต่ละข้อจะเป็นอิสระจากข้ออื่นๆมิได้ ทุข้อล้วนมีความสัมพันธ์ซึ่งกันและกันหากหลักการข้อหนึ่งข้อใดถูกละเลยจะเป็นผลให้หลักการข้ออื่นๆ ลดความสำคัญลงด้วย

•          “สหกรณ์” จึงไม่อาจได้รับการวินิจฉัย (ว่าเป็นสหกรณ์) โดยพิจารณาจากหลักการสหกรณ์ที่ละข้อๆ ได้ หากแต่งต้องพิจารณาจากการผนึกแน่นกับหลักการสหกรณ์ทุกข้อโดยรวมพร้อมกัน

•          หลักการสหกรณ์ ตามที่ปรากฏในแถลงการณ์ว่าด้วยเอกลักษณ์ของการสหกรณ์ในปี 1995 มีด้วยกัน 7 ประการ ประกอบด้วย

1.  หลักการเปิดรับสมาชิกทั่วไปด้วยความสมัครใจ     

2.  หลักการควบคุมแบบประชาธิปไตย โดยมวลสมาชิก 

3.  หลักการมีส่วนร่วมทางเศรษฐกิจโดยมวลสมาชิก      

4.  หลักการปกครองตนเองและความมีอิสระ                  

5.  หลักการให้การศึกษา  การฝึกอบรม  และข่าวสาร      

6.  หลักการร่วมมือกันระหว่างสหกรณ์                           

7.  หลักการเอื้ออาทรต่อชุมชน

•          หลักสามประการแรก 

ถือเป็นสภาพพลวัตภายในที่มีความสำคัญมากสำหรับแต่ละสหกรณ์

•          หลักสี่ประการหลัง                                                                                           

จะเกี่ยวข้องทั้งกับการดำเนินงานภายในและความสัมพันธ์ที่สหกรณ์มีกับภายนอกด้วย

หลักการสหกรณ์สากลในปัจจุบัน (1995)

1. เปิดรับสมาชิกทั่วไปและด้วยความสมัครใจ     Voluntary and Open Membership

2. การควบคุมโดยสมาชิกตามหลักประชาธิปไตย   Democratic Member Control

3. การมีส่วนร่วมทางเศรษฐกิจโดยสมาชิก Member Economic Participation

4. การปกครองตนเองและความเป็นอิสระ Autonomy  and Independence

5. การศึกษา การฝึกอบรม และข่าวสาร Education, Training and information

6. การร่วมมือระหว่างสหกรณ์ Co-operation among Co-operatives

7. ความเอื้ออาทรต่อชุมชน  Concern for Community

หลักการที่ 1 : เปิดรับสมาชิกทั่วไปและด้วยความสมัครใจ

สหกรณ์เป็นองค์การแห่งความสมัครใจที่เปิดรับบุคคลทั้งหลายที่สามารถใช้บริการของสหกรณ์ และเต็มใจรับผิดชอบในฐานะสมาชิกเข้าเป็นสมาชิก โดยปราศจากการกีดกันทางเพศ สังคม เชื่อชาติ การเมือง หรือศาสนา

หลักการที่ 2 : การควบคุมโดยสมาชิกตามหลักประชาธิปไตย

สหกรณ์เป็นองค์การประชาธิปไตยที่ควบคุมโดยมวลสมาชิก ผู้มีส่วนร่วมอย่างแข็งขันในการกำหนดนโยบายและการตัดสินใจ บุรุษและสตรีผู้ที่ได้รับการเลือกเป็นผู้แทนสมาชิกต้องรับผิดชอบต่อมวลสมาชิก ในสหกรณ์ขั้นปฐมสมาชิกมีสิทธิในการออกเสียงเท่าเทียมกัน (สมาชิกหนึ่งคนหนึ่งเสียง) สำหรับสหกรณ์ในระดับอื่นให้ดำเนินไปตามแนวทางประชาธิปไตยด้วยเช่นกัน

หลักการที่ 3 : การมีส่วนร่วมทางเศรษฐกิจโดยสมาชิก

สมาชิกสหกรณ์  พึงมีความเที่ยงธรรมในการให้ และควบคุมการใช้เงินทุนในสหกรณ์ตามแนวทางประชาธิปไตย ทุนของสหกรณ์อย่างน้อยส่วนหนึ่งต้องเป็นทรัพย์สินส่วนร่วมของสหกรณ์ สมาชิกจะได้รับผลตอบแทนสำหรับเงินทุนตามเงื่อนไขแห่งสมาชิกภาพในอัตราที่จำกัด (ถ้ามี) มวลสมาชิกเป็นผู้จัดสรรผลประโยชน์ส่วนเกินเพื่อจุดมุ่งหมายประการใด ประการหนึ่งหรือทั้งหมด จากดังต่อไปนี้ คือ เพื่อการพัฒนาสหกรณ์ของตนโดยจัดให้เป็นทุนของสหกรณ์ ซึ่งส่วนหนึ่งของทุนนี้ต้องไม่นำมาแบ่งปันกัน เพื่อเป็นผลประโยชน์แก่สมาชิกตามส่วนของปริมาณธุรกิจที่ทำกับสหกรณ์ และเพื่อสนับสนุนกิจกรรมอื่นใดที่มวลสมาชิกเห็นชอบ

หลักการที่ 4 :การปกครองตนเองและความเป็นอิสระ 

สหกรณ์เป็นองค์การที่พึ่งพาและปกครองตนเอง โดยการควบคุมของสมาชิก ในกรณีที่สหกรณ์จำต้องมีจ้อตกลงหรือผูกพันกับองค์การอื่นๆ รวมถึง องค์การของรัฐ หรือต้องแสวงหาทุนจากแหล่งภายนอก สหกรณ์ต้องกระทำภายใต้เงื่อนไขอันเป็นที่มั่นใจว่า มวลสมาชิกจะยังคงไว้ซึ่งอำนาจในการควบคุมตามแนวทางประชาธิปไตย และยังคงดำรงความเป็นอิสระของสหกรณ์

หลักการที่ 5 :การศึกษา การฝึกอบรม และข่าวสาร 

สหกรณ์พึงให้การศึกษาและการฝึกอบรมแก่มวลสมาชิกผู้แทนจาการเลือกตั้ง ผู้จัดการ พนักงาน เพื่อบุคคลเหล่านั้น สามารถมีส่วนช่วยพัฒนาสหกรณ์ของตนได้อย่างมีประสิทธิผล และสามารถให้ข่าวสารแก่สาธารณชน โดยเฉพาะอย่างยิ่งแก่เยาวชนและบรรดาผู้นำทางความคิด ในเรื่องคุณลักษณะและคุณประโยชน์ของสหกรณ์ได้

หลักการที่ 6 :การร่วมมือระหว่างสหกรณ์ 

สหกรณ์สามารถให้บริการแก่สมาชิกได้อย่างมีประสิทธิผลสูงสุดและเสริมสร้างความเข้มแข็งให้แก่ขบวนการสหกรณ์ได้ โดยการประสานความร่วมมือกันในระดับท้องถิ่น ระดับชาติ ระดับภูมิภาคและระดับนานาชาติ

หลักการของสหกรณ์สากลมีอะไรบ้าง

หลักการสหกรณ์.
การเป็นสมาชิกโดยสมัครใจและเปิดกว้าง.
การควบคุมโดยสมาชิกตามหลักประชาธิปไตย.
การมีส่วนร่วมทางเศรษฐกิจของสมาชิก.
การปกครองตนเองและความเป็นอิสระ.
การศึกษา ฝึกอบรม และสารสนเทศ.
การร่วมมือระหว่างสหกรณ์.
การเอื้ออาทรต่อชุมชน.

หลักการของสหกรณ์คืออะไร

หลักการสหกรณ์เป็นแนวทางสำหรับสหกรณ์ในการทำคุณค่าของสหกรณ์ไปสู่การปฏิบัติ หลักการที่ 1 การเป็นสมาชิกโดยสมัครใจและเปิดกว้าง สหกรณ์เป็นองค์การโดยสมัครใจ เปิดรับบุคคลทุกคน่ซึ่งสามารถใช้บริการของสหกรณ์ และเต็มใจรับผิดชอบในฐานะสมาชิก เข้าเป็นสมาชิกโดยไม่มีการเลือกปฏิบัติในเรื่องเพศ ฐานะทางสังคม เชื้อชาติ การเมือง หรือศาสนา

หลักการสหกรณ์โลกมีกี่ประการ

หลักการสหกรณ์ คือ หลักการที่กำหนดขึ้น เพื่อให้สหกรณ์ทั่วโลกถือปฏิบัติ (7 ข้อ) วิธีการสหกรณ์ คือ การนำหลักการสหกรณ์ 7 ข้อ ไปปฏิบัติในสหกรณ์แต่ละประเภท (7 ประเภท) ภายใต้อุดมการณ์สหกรณ์ ซึ่งมีวิธีการแตกต่างกันไป โดยผ่านกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ ข้อตกลง สัญญา ฯลฯ ของแต่ละสหกรณ์ และใช้ศีลธรรม จริยธรรมกำกับการปฏิบัติ

หลักการที่สําคัญที่สุดของสหกรณ์คือข้อใด

ยึดหลักประชาธิปไตย ไม่แสวงหากำไร แบ่งปันประโยชน์อย่างเป็นธรรม