Solar Cell 10Kw ผลิตไฟได้กี่หน่วย

Skip to content

  • หน้าแรก
  • สินค้า
    • แผงโซล่าเซล
    • เครื่องชาร์จโซล่าเซล
    • กริดอินเวอร์เตอร์
    • อุปกรณ์ต่อพ่วงอินเวอร์เตอร์-กันย้อน
    • โซล่าปั๊มอินเวอร์เตอร์
    • ตะแกรงกันนกใต้แผงโซล่าเซล
    • อุปกรณ์ติดตั้งแผงโซล่าเซล
    • อุปกรณ์ไฟฟ้าโซล่าเซล
  • สินค้าพร้อมงานติดตั้ง
    • โซล่าเซล Ongrid บ้านพักอาศัย
    • โซล่าเซล On grid อาคารธุรกิจ
    • โซล่าเซลไฮบริด Hybrid
    • กังหันลมผลิตไฟฟ้า
    • ระบบสูบน้ำโซล่าเซล
  • ข่าวสารและกิจกรรม
    • ข่าวสารและกิจกรรม
  • ผลงาน
  • ร่วมงานกับเรา
  • ติดต่อ
    • ติดต่อเรา
    • เกี่ยวกับเรา

  • หน้าแรก
  • สินค้า
    • แผงโซล่าเซล
    • เครื่องชาร์จโซล่าเซล
    • กริดอินเวอร์เตอร์
    • อุปกรณ์ต่อพ่วงอินเวอร์เตอร์-กันย้อน
    • โซล่าปั๊มอินเวอร์เตอร์
    • ตะแกรงกันนกใต้แผงโซล่าเซล
    • อุปกรณ์ติดตั้งแผงโซล่าเซล
    • อุปกรณ์ไฟฟ้าโซล่าเซล
  • สินค้าพร้อมงานติดตั้ง
    • โซล่าเซล Ongrid บ้านพักอาศัย
    • โซล่าเซล On grid อาคารธุรกิจ
    • โซล่าเซลไฮบริด Hybrid
    • กังหันลมผลิตไฟฟ้า
    • ระบบสูบน้ำโซล่าเซล
  • ข่าวสารและกิจกรรม
    • ข่าวสารและกิจกรรม
  • ผลงาน
  • ร่วมงานกับเรา
  • ติดต่อ
    • ติดต่อเรา
    • เกี่ยวกับเรา

ขนาดระบบโซล่าเซลล์ที่เหมาะสมกับการใช้งาน

ก่อตั้งตั่งแต่ปี พ.ศ.2547 เป็นผู้ออกแบบ ให้คำปรึกษา และติดตั้ง ระบบพลังงานทดแทน โซล่าเซล กังหันลม ระบบสำรองพลังงานไฟฟ้าต่างๆ

SolarHub Facebook Fanpage

สถิติผู้เยี่ยมชมเว็บไซต์

Solar Cell 10Kw ผลิตไฟได้กี่หน่วย
Solar Cell 10Kw ผลิตไฟได้กี่หน่วย
Solar Cell 10Kw ผลิตไฟได้กี่หน่วย
Solar Cell 10Kw ผลิตไฟได้กี่หน่วย
Solar Cell 10Kw ผลิตไฟได้กี่หน่วย
Solar Cell 10Kw ผลิตไฟได้กี่หน่วย
Solar Cell 10Kw ผลิตไฟได้กี่หน่วย

Today995

Yesterday1826

This week7967

This month17349

Total3089300


Visitor Info

  • IP: 132.145.101.69
  • Browser: Firefox
  • Browser Version: 102.0
  • Operating System: Linux


Who Is Online


วันศุกร์, 11 พฤศจิกายน 2565 09:38

บ้านพักอาศัย ควรติดตั้งโซล่าเซลล์ ขนาดเท่าใด?

ขนาดที่เหมาะสมในการติดตั้งโซล่าเซลล์ แบบออนกริด เพื่อประหยัดค่าไฟฟ้าสำหรับบ้านพักอาศัย ควรเป็นเท่าใด?

บ้านพักอาศัย ที่ใช้ไฟ ของการไฟฟ้าฯ หากต้องการติดตั้งระบบโซล่าเซลล์ ควรติดโซลล่าเซลล์ แบบออนกริด หรือเรียกให้เข้าใจง่ายอีกอย่างคือ แบบขนานไฟ กับการไฟฟ้าฯ

จริงๆแล้วเคยเขียนบทความเรื่อง จะตรวจสอบยังไงว่า บ้านเราติดโซล่าเซลล์ แล้วคุ้มค่า แล้วควรติดขนาดเท่าใดที่เหมาะสม ?  แล้ว แต่วันนี้ขอฉายซ้ำอีกรอบ และสรุปแบบเน้นๆสำหรับบ้านพักอาศัย

เราไม่ต้องคำนวณเครื่องใช้ไฟฟ้า ว่ามีกี่ตัวอะไรบ้างครับ หากคำนวณ พวกเครื่องใช้ไฟฟ้า ยุ่งยาก ซับซ้อน ปัจจัย ไม่เหมือนกันอีก เช่น แอร์ยี่ห้ออะไร, เก่าหรือใหม่ , เปิดกี่ชั่วโมง , เป็นห้องนอน หรือห้องรับแขก , แอร์อินเวอร์เตอร์ หรือไม่ , ตู้เย็นกี่คิว , อยู่กี่คน , อาบน้ำบ่อยไม๊ , ทำกับข้าวกินเองหรือซื้อกิน , มีเตาอบไม๊ , มี.... ฯลฯ ซึ่งระบบออนกริด หลักการคือขนานกับไฟ ของการไฟฟ้าฯ โดยหากมีแสงแดด เครื่องใช้ไฟฟ้า จะดึงไฟจากโซล่าเซลล์ มาใช้งานก่อน หากไม่พอก็จะดึงไฟ การไฟฟ้าฯ มาใช้งานครับ

 โซล่าเซลล์ แบบออนกริด เพื่อประหยัดค่าไฟฟ้า บ้านพักอาศัย เราต้องคำนวณว่า กลางวันเราใช้ไฟกี่หน่วย ง่ายกว่าครับ วิธีการดังนี้

Solar Cell 10Kw ผลิตไฟได้กี่หน่วย

1.เช้า 6โมง จดหน่วยมิเตอร์ไฟ

2.เย็น 6โมง จดหน่วยมิเตอร์ไฟ

3.แล้วหักลบกัน ได้เท่าไหร่ คือ จำนวนหน่วย ที่ใช้ไฟ ตอนกลางวัน

4.นำผลลัพธ์ข้อ3. มาหาร ด้วย4 ก็จะได้ขนาดที่เหมาะสม ในการติดตั้ง ( เลข4 มาจาก แดดในเมืองไทย ติด 1 กิโลวัตต์(kW.) ผลิตได้ประมาณ 4 หน่วย/วัน )

5.เช่น ตามข้อ3 ถ้าได้ 18หน่วย = 18/4 = 4.5 ปัดขึ้น ก็ติด ประมาณ 5 kW. หรือจะติด 3 kW. ก็สุดแล้วแต่ครับ

6.ทำไมต้อง  3 kW. หรือ 5 kW. แล้วทำไมไม่ 4.5 kW เลยหล่ะ >>> การจะติดตั้งขนาดเท่าใด เราก็ต้องดูขนาดแผงโซล่าเซลล์ และขนาดของอินเวอร์เตอร์ ที่มีจำหน่ายในท้องตลาดด้วย ที่พบเจอ ในท้องตลาดที่พบเห็นบ่อยๆ ก็ 2kW., 3kW. , 5kW. , 6kW. , 9kW. ,10kW. , 20kW. , 25kW. , 27.6kW. , 50kW. , 60kW. เป็นต้น

7.ถ้าติด 5 kW. ก็ลงทุนเพิ่มอีกหน่อย แต่ราคาต้นทุนต่อหน่วยก็จะถูกกว่า จุดคุ้มทุนก็อาจจะเร็วกว่า แต่ส่วนใหญ่ ถ้าเราติดโซล่าเซลล์ แล้วเราก็อาจต้องปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้ไฟฟ้าด้วย เช่น เปิดแอร์ตอนกลางวัน แบบชิลๆ , รีดผ้าตอนเที่ยง , หุงข้าวตอนเที่ยง , อบไก่ตอนเที่ยง , อบขนมเค้ก ตอนเที่ยง อาบน้ำตอนเที่ยง(ดองเค็มช่วงเช้า ปั๊มจะได้ทำงานตอนเที่ยงโดยใช้ไฟจากโซล่าเซลล์) , กินข้าวต้มกลางวันบ่อยไม๊<"L"> เป็นต้น เพราะว่า ช่วง 11โมง ถึง บ่าย2โมง เป็นช่วงที่แดดดีสุดๆ ผลิตไฟได้มากสุด ตามรูประฆังคว่ำข้างล่างนี้

Solar Cell 10Kw ผลิตไฟได้กี่หน่วย

====================================================================


โซล่าเซลล์ 10Kw ผลิตไฟได้ กี่หน่วย

ดังนั้น ต้องติดตั้ง 10 kW เพื่อจะผลิตไฟฟ้าได้ 1,083 หน่วยต่อเดือน พอใช้เลย พื้นที่ที่ต้องใช้: ประสิทธิภาพแผง Solar 20%

แผง โซล่าเซลล์ ผลิตไฟฟ้าได้ กี่หน่วย

1. โซล่าร์เซลล์ 1.08 กิโลวัตต์ใช้พื้นที่ 16 ตร.ม.ถ้า 1 ไร่มี 1,600 ตร.ม.ก็สามารถติดตั้งได้ประมาณ 100 กิโลวัตต์ 2.ติดตั้ง 1 กิโลวัตต์ผลิตไฟฟ้าได้ประมาณ 5 หน่วยต่อวัน(ต่างภูมิภาคอาจไม่เท่ากัน) ถ้า 100 กิโลวัตต์ก็จะได้ 500 หน่วยต่อวัน

Solar Cell ติดกี่ kW

โดยปกติแล้ว การติดตั้งโซลาร์เซลล์ จะใช้พื้นที่ประมาณ 8 -10 ตร.ม. / 1 กิโลวัตต์ ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับจำนวนวัตต์ต่อ 1 แผง เช่น – แผงโซลาร์เซลล์ ขนาด 260 วัตต์ (60 เซลล์) ในการติดตั้งจะต้องใช้แผงโซลาร์เซลล์ ประมาณ 4 แผง เพื่อให้สามารถผลิตไฟฟ้าได้จำนวน 1 กิโลวัตต์

โซล่าเซลล์ 3Kw ผลิตไฟได้กี่หน่วย

โซล่าเซลล์ 3Kw ใช้อะไรได้บ้าง แต่ถ้าจะให้คำนวนว่าโซล่าเซลล์ 3w มีกำลังผลิตประมาณไหน ยกตัวอย่างง่ายๆ คือ แอร์ 10,000 BTU กินไฟที่ 1,000W / ชั่วโมง ดังนั้น โซล่าเซลล์ 3Kw มีกำลังผลิต = 3,000W คือ สามารถใช้แอร์ 10,000 BTU ได้ 3 ตัว ต่อ 1 ชั่วโมงนั่นเอง