ผลของการนับเวลาและแบ่งยุคสมัยในประวัติศาสตร์ไทยมีความสำคัญอย่างไร

���������ѵ���ʵ��������á � ������ա�����¡�Ң���Тͺࢵ�����ͧ�ҡ��á���Ƕ֧ �ؤ����㹷ҧ����ѵ���ʵ����դ�������ѹ��Ѻ��ǧ���ҡ�á�˹�ࡳ������Ը��觪�ǧ���� ��ҧ � �з���� ����ӴѺ���º��º����ͧ��Ƿҧ����ѵ���ʵ���դ����Ѵਹ��� ���ࡳ�� �ѧ���仹����
��� 1. ����觵����ǧ���� �վ�鹰ҹ�Ҩҡ�ؤ���·ҧ��ʹ� ���͡��
������� (1) ����觪�ǧ���ҵ������ѵ���ʵ���� ���� �ط��ѡ�Ҫ (�.�.) ����ѡ�Ҫ (�.�.) ����������������ѵ���Թ���ȡ (�.�.)
������� (2) ����觪�ǧ���ҵ������ѵ���ʵ���ҡ� ���� ���ʵ��ѡ�Ҫ (�.�.) ����Ԩ������ ���ѡ�Ҫ (�.�.)

2. ����觵���ؤ���� ���úѹ�֡������ѡɳ��ѡ����ࡳ�� �� 2 �ؤ ���
������� (1) �ؤ��͹����ѵ���ʵ�� ���ؤ����ѧ�������ѡ�ҹ��úѹ�֡����ͧ������������ѡɳ��ѡ�� �ҡ��ͧ����֡������ͧ��� ���¡�͹����ѵ���ʵ�� ��ͧ�������ѡ�ҹ�Ǵ������蹻�Сͺ �� �ç��д١ ����ͧ��� ����ͧ�� ��ʹ������ͧ��дѺ��ҧ � ����ѧ�������� 2 �ؤ ����Ѳ�ҡ�� �ͧ����ͧ��� ����ͧ�� ���

 

�ؤ�Թ ���ؤ������������ѡ���Թ������ͧ�������ͧ�� ����ѧ���
��� �ؤ�Թ��� ������ 100,000 - 500,000 ��
��� �ؤ�Թ��ҧ ������ 7,000 - 12,000 ��
��� �ؤ�Թ���� ������ 3,000 - 7,000 ��
��� �ؤ���� �����������ҧ 5,600 - 7,000 �����ؤ��������� ���ѡ�� �������� ����ͧ��� ����ͧ��᷹�Թ �������͡�� 2 �ؤ���
��� �ؤ���Դ ���ؤ������������ѡ�ӷͧᴧ��дպء������ ����ѹ �����Դ ��������ͧ�������ͧ��
��� �ؤ���� ���ؤ������������ѡ��ö�ا���� ����������� ���硫�� ����觡��� ���Դ�ҷ�������ͧ��������ظ
�(2) �ؤ����ѵ���ʵ�� �����·�����������ѡ�Դ����ѡ�â�� ��Ш��֡������ѡɳ��ѡ�è��֡ŧ�� ���Թ �Թ�˹��� �԰ ������¹ŧ���蹼�� �ؤ����ѵ� ��ʵ���ѧ�������͡�� 4 �ؤ ���ͻ���ª��㹡�úѹ�֡����ѵ���ʵ�� �ѧ�����
�������� �ؤ��ҳ (Ancient Ages) �����������������駶�蹰ҹ����ѡ���� �� ����Ȫҵ� ���ѡ���� �����¸��� ��������ҡ������������� ䷡���-���õ�� �ǧ�� �Թ�� ��ի ������ ���Դ �ͧ���¸����Ӥѭ � �������شŧ������ҳҨѡ����ѹ����������ж١��ǵ�ǵѹ ����� ��ҧ����ͻ� �.�. 476
�������� �ؤ��ҧ (Middle Ages) �����ؤ�״ (Dark Ages) ���û������������û���ͧ �ͧ��� ��ҧ � ��Ż�Է�ҡ�÷������ԭ������ͧ��ش�Чѡŧ ���֧�� �.�. 1453
�������� �ؤ�������� �����������������û��鹵�Ǩҡ��ö١��ͺ������������鹿���Ż��Ѳ����� �ͧ��ա-���ѹ �ա�����Ǩ�Թᴹ��й�ҹ������� ���������ʤ鹾�����ԡ�� �.�.1492 仨��֧ ʧ�����š���駷�� 1
�������� �ؤ�Ѩ�غѹ ���������ѧʧ�����š���駷�� 1 �ص�ŧ (�.�.1918) �Ҩ��֧�Ѩ�غѹ ������ԡĵ ��ó�����˵ء�ó�ҧ��ҹ���ɰ�Ԩ �ѧ�� ������ͧ �Դ����ҡ���

Ref : //www2.se-ed.net/nfed/history/index_his.html 14/02/2008

         ตามหลักสากลทั่วไป แบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์

เป็น 2 ช่วงใหญ่ๆ  ดังรายละเอียดที่ศึกษาได้จาก แผนผังยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ และตารางเทียบเวลายุคสมัยทางประวัติศาสตร์สากล นี้

 

ยุคสมัย ระยะเวลา เหตุการณ์
 สมัยก่อนประวัติศาสตร์ ประมาณ2.5ล้านปี-5,500 ปีมาแล้ว ยังไม่มีอักษรใช้
  ยุคหิน หินเก่า 2.5ล้านปี-10,000 ปีมาแล้ว บรรพบุรุษของมนุษย์ถือกำเนิดขึ้น  และดำรงชีพอยู่ ทางตะวันออกของ แอฟริกา ต่อมามีมนุษย์จำนวนหนึ่ง
กระจายไปยังเอเชียยุโรปและอเมริกา เร่ร่อน
เก็บของป่าล่าสัตว์ อยู่ในถ้ำ  เครื่องมือหินกระเทาะ
รู้จักใช้ไฟ นุ่งห่มหนังสัตว์ ศิลปะภาพวาดผนังถ้ำ
มีภาษาพูด พิธีกรรมเกี่ยวกับความตาย
หินกลาง 8,000ปีก่อนค.ศ. เพาะปลูกแบบง่ายๆ เลี้ยงสัตว์ จับ   ปลาด้วยเครื่องมือคล้ายแห 
เครื่องหินกะเทาะที่ประณีตขึ้น อยู่นอกถ้ำ ภาพเขียนสีที่ผนังถ้ำ  มีทั้งคน และสัตว์สะท้อนความเชื่อเรื่องวิญญาณ
หินใหม่

ประมาณ 4,00 ปีมาก่อน ค.ศ.
เรียกว่าปฏิวัติยุคหินใหม่

- อนุสาวรีย์หินตั้ง (สโตนเฮนจ์) เป็นสถาปัตยกรรม  ทางศาสนา ใช้ประกอบพิธีกรรม บูชาดวงอาทิตย์
- การเพาะปลูกและเลี้ยงสัตว์
- ตั้งถิ่นฐานเป็นการถาวร
- รูปแบบการปกครอง  แลกเปลี่ยนสินค้า
- เครื่องปั้นดินเผา จักสาน ทอผ้า เครื่องมือหินขัด

 ยุคโลหะ ทองแดง โดยทั่วไปเริ่มเมื่อ 3,000 ปี มาแล้ว  ทำอาวุธด้วยทองแดง  สิ่งของ  เครื่องประดับ  แต่ยังมีเครื่องมือหินใช้อยู่
สำริด นำทองแดงผสมกับดีบุก เรียกว่าสำริด เพื่อทำเครื่องใช้และภาชนะ
เหล็ก

รู้จักวิธีการถลุงเหล็กใช้เหล็กทำอาวุธ และเครื่องมือต่างๆ

        สมัยประวัติศาสตร์

ดินแดนต่าง เริ่มไม่เท่ากัน 3,500 ปีก่อน ค.ศ. –ค.ศ. 476

  เริ่มประดิษฐ์อักษร-ปัจจุบัน ชาวสุเมเรียนเป็นชนชาติแรกที่เริ่มประดิษฐ์อักษร

 สมัยโบราณ เมโสโปเตเมีย

3,500 ปี ก่อน ค.ศ. -1,600 ปี ก่อน ค.ศ.
(มีหลายชนชาติผลัดเปลี่ยนกันเป็นใหญ่
ตามลำดับดังนี้) สุเมเรียน อะมอไรต์ 
ฮิตไตท์ แคสไชท์ แอสสิเรียน แคสเดียน
และเปอร์เซีย

สุเมเรียน- อักษรลิ่ม(คูนิฟอร์ม) วิหารซิกูแรต
อะใอไรต์ – อาณาจักรบาบิโลน      ประมวลกฎหมายฮัมบูราบี (ประมวลกฎหมายที่เก่าแก่ที่สุด)

 อียิปต์

3,500 ปีก่อนค.ศ.-31 ปี ก่อน
ค.ศ.เมื่อถูกโรมันยึดครอง

 -อักษรฮีโรกลิฟิก กระดาษปาปิรัส
ปิระมีด  ความเชื่อเรื่องวิญญาณอมตะ มัมมี่ ปกครองแบบเทวราชา การแพทย์

กรีก

800 ปี ก่อน ค.ศ. -146 ก่อน
ค.ศ. (เมื่อถูกโรมันยึดครอง)

-การปกครองแบบประชาธิปไตย
-ลัทธิธรรมชาตินิยม
-ลัทธิมนุษย์นิยม
-เสรีภาพ ความคิด ศิลปะ สถาปัตยกรรม

โรมัน

509 ปี ก่อน ค.ศ.- ค.ศ. 476 ทำสงครามขับไล่ชนชาติอีทรัสคันได้สำเร็จ- กรุงโรมแตกสลาย
โดยเผ่าเยอรมัน

ประมวลกฏหมายสิบสองโต๊ะ ศูนย์กลางของศาสนาคริสต์
การปกครอง การทหาร
สืบทอดอารยธรรมกรีก

สมัยกลาง

ค.ศ.476-1492 การสิ้นสุดของจักรวรรดิโรมัน ตะวันตก
จนถึงคริสโตเฟอร์ โคลัมบัสค้นพบทวีปอเมริกา
(หรือจักรวรรดิโรมันตะวันออกถูกเตอร์เข้ายึดครองใน
ค.ศ.1453และต่อมาได้ตั้งเป็นจักรวรรดิออตโตมัน

-สมัยกลางตอนต้นเรียกว่ายุคมืด   
เพราะอารยธรรมกรีก-โรมันเสื่อม
-อิทธิพลที่มีต่ออารยธรรมมี 3 ประการ
คือ คริสต์ศาสนา  ระบบฟิวดัล
และอารยธรรม คลาสสิก ของกรีก-โรมัน
-ความขัดแย้ง ระหว่างศาสนาคริสต์กับ ศาสนาอิสลาม ที่เรียกว่าสงครามครูเสด (พ.ศ1639-1834)
มรดกทางอารยธรรมสมัยกลาง

  1. การฟื้นฟูศิลปะวิทยาการหรือ
    เรอเนสซองส์(Renaissances)
  2. การเกิดลัทธิมนุษยนิยม(Humanism)
  3. การก่อตั้งมหาวิทยาลัย เช่มมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์
    และออกซฟอร์ด มหาวิทยาลัยในปรารีส
    มหาวิทยาลัยโบโลญาในอิตาลี
  4. ผลงานด้านศิลปกรรมที่สะท้อนถึงศรัทธา ในคริสต์ศาสนา ได้แก่ ด้านสถาปัตยกรรม ศิลปะโกธิค(Gothic) เช่น วิหารโนตรดาม(Notre Dame) ในกรุงปรารีส และวิหารออร์เวียตโต(Orveto)ในอิตาลี ด้านวรรณกรรม มีงานประพันธ์ทางศาสนาคริสต์
    ของนักบุญธอมัส อะไควนัส แสดงความงดงามของ
    ภาษาลาติน แก่นสาระของศาสนาคริสต์ และความตั้งมั่น
    ในหลักคำสอนของศาสนาคริสต์
  1. การเกิดวัฒนธรรมและสถาบันทางเศรษฐกิจ
    1. สมาคมพ่อค้าและช่างฝีมือ กิลด์(Guild)
    2. การจัดงานแสดงสินค้า(Fair) การเกิดระบบธนาคาร
สมัยใหม่

ค.ศ.1492-1945   คริสโตเฟอร์ โคลัมบัส(Christopher Columbus)
ค้นพบโลกใหม่และสิ้นสุดในปีสงครามโลกครั้งที่สอง   ยุติ

สมัยใหม่ช่วงแรก(คริสต์ศตวรรษที่15-18)

สมัยใหม่ช่วงหลัง(กลางคริสต์ศตวรรษที่ 18 –
ค.ศ. 1945 สงครามโลกครั้งที่2 สิ้นสุด)

1. การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ(Renaissances)
เริ่มจากปลายสมัยกลาง มีการนำความรู้
วิธีคิดและศิลปะวิทยาการของกรีก
และโรมันกลับมาใช้
2. การปฏิรูปศาสนา(Reformation)
เกิดศาสนาคริสต์ 2 นิกาย คือ โรมัน คาทอลิก และ
โปรเตสแตนส์
3. การสำรวจเส้นทางเดินเรือทางทะเล
และการค้นพบดินแดนโลกใหม่ เรียกยุคนี้ว่า
สมัยแห่งการค้นพบ(Age of Discovery)
4. การปฏิวัติวิทยาศาสตร์และยุคแห่งการรู้แจ้ง
(The Enlightenment) (คริสต์ศตวรรษที่17-18)
มีความก้าวหน้าในด้านวิทยาศาสตร์ ดาราศาสตร์
และคณิตศาสตร์ นักวิทยาศาสตร์ที่สำคัญได้แก่ 
โคเปอร์นิคัส กาลิเลโอ และนิวตัน
 5. การปฏิวัติอุตสาหกรรม(Industrial Revolution)
เริ่มต้นที่อังกฤษในช่วงค.ศ.1760 แล้วค่อยๆ
ขยายไปยังประเทศยุโรปอื่นๆในเวลาต่อมา
การเกิดแนวคิดทางการเมืองและเศรษฐกิจแบบใหม่  จากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์เป็น  ระบอบประชาธิปไตย
เกิดลัทธิเศรษฐกิจแบบทุนนิยม ลัทธิสังคมนิยม
และลัทธิจักรวรรดินิยม(ลัทธิล่าอาณานิคม)

        สมัยปัจจุบัน ค.ศ.1945(หลังสงครามโลกครั้งที่สอง)-ปัจจุบัน

1. การเกิดและสิ้นสุดของสงครามเย็น
2. การจัดตั้งองค์การสหประชาชาติ
3.การรวมกลุ่มทางการเมืองและเศรษฐกิจ    ของประเทศต่างๆ
4.สหรัฐอเมริกาเพิ่มบทบาทเป็นชาติผู้นำ  ในเวทีการเมืองโลก

การกำหนดช่วงเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์มีความสำคัญอย่างไร

ยุคสมัยทางประวัติศาสตร์มีความสำคัญต่อการศึกษาประวัติศาสตร์ เนื่องจากเป็นการแบ่ง ช่วงเวลาในอดีตอย่างเป็นระบบ โดยพิจารณาจากหลักฐานที่เหลืออยู่ในปัจจุบัน ซึ่งจะนำไปสู่การวิเคราะห์ เหตุการณ์ต่างๆ อย่างมีเหตุผล โดยตระหนักถึงความสำคัญของความต่อเนื่องของช่วงเวลาเพื่อประโยชน์ในการ ศึกษาเปรียบเทียบถึงความเจริญของมนุษย์ตั้งแต่ ...

เพราะเหตุใดนักประวัติศาสตร์จึงกำหนดช่วงเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์

ในการก าหนดยุคสมัย นักประวัติศาสตร์ได้ถือเอาลักษณะเด่นของเหตุการณ์เป็นเกณฑ์เพื่อให้ สามารถเข้าใจและจดจ ายุคสมัยนั้น ๆ ได้ ประวัติศาสตร์จึงมีความส าคัญ ซึ่งจะช่วยให้ผู้ศึกษาเกิดความเข้าใจ ง่ายและตรงกัน ความส าคัญของเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ บอกให้รู้ว่าเหตุการณ์ต่างๆ เกิดขึ้นและสิ้นสุดเวลาใด

การนับเวลาทางประวัติศาสตร์และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์มีความสัมพันธ์กันอย่างไร

การแบ่งช่วงเวลาทางประวัติศาสตร์ การนับเวลาเป็นศักราชจะมีประโยชน์เพื่อทำให้ทราบเรื่องราวในประวัติศาสตร์ แต่ในบางครั้งเราอาจจะนำเอาเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในอดีตมาระบุเป็นการแบ่งช่วงเวลาได้เช่นเดียวกัน ซึ่งการแบ่งช่วงเวลาทางประวัติศาสตร์จะสามารถแบ่งได้ 2 ลักษณะ คือ ตามระบบสากล และตามแบบไทย การแบ่งช่วงเวลาตามแบบสากล

เวลา มีความสำคัญในการศึกษาประวัติศาสตร์อย่างไร

การศึกษาเหตุการณ์สำคัญในอดีตนั้นย่อมมีช่วงเวลาและสถานที่เข้ามาเกี่ยวข้องอยู่ตลอดเวลานักประวัติศาสตร์จําเป็นต้องอาศัยอ้างอิงช่วงเวลาด้วยคำต่างๆเพื่อแสดงการเปลี่ยนแปลงและรายละเอียดของเหตุการณ์ต่างๆเวลาจึงมีความสำคัญต่อการศึกษาสังคมมนุษย์ในอดีตเพราะเวลาจะช่วยบอกได้ว่าสังคมในพื้นที่ต่างๆมีเรื่องราวสำคัญเกิดขึ้นในแต่ละช่วง ...

กระทู้ที่เกี่ยวข้อง

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

แปลภาษาไทย ไทยแปลอังกฤษ โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน lmyour แปลภาษา ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv แปลภาษาอาหรับ-ไทย แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip แอพแปลภาษาอาหรับเป็นไทย ค้นหา ประวัติ นามสกุล ห่อหมกฮวกไปฝากป้า หนังเต็มเรื่อง ไทยแปลอังกฤษ ประโยค Terjemahan เมอร์ซี่ อาร์สยาม ล่าสุด แปลภาษาจีน กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น ่้แปลภาษา Google Translate ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย พร บ ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 วิธีใช้มิเตอร์วัดไฟดิจิตอล สหกรณ์ออมทรัพย์กรมส่งเสริมการปกครอง ส่วนท้องถิ่น ห่อหมกฮวก แปลว่า Bahasa Thailand Thailand translate mu-x มือสอง รถบ้าน การวัดกระแสไฟฟ้า ด้วย แอมมิเตอร์ การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 4 ก่อนจะนิ่งก็ต้องกลิ้งมาก่อน เนื้อเพลง ก่อนจะนิ่งก็ต้องกลิ้งมาก่อน แคปชั่น พจนานุกรมศัพท์ทหาร ภูมิอากาศ มีอะไรบ้าง สถาบันพัฒนาบุคลากรท้องถิ่น อาจารย์ ตจต อเวนเจอร์ส ทั้งหมด เขียน อาหรับ แปลไทย ใบรับรอง กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน Google map Spirited Away 2 spirited away ดูได้ที่ไหน tor คือ จัดซื้อจัดจ้าง กินยาคุมกี่วัน ถึง ปล่อยในได้ ธาตุทองซาวด์เนื้อเพลง บช.สอท.ตำรวจไซเบอร์ ล่าสุด บบบย มิติวิญญาณมหัศจรรย์ ตอนจบ รหัสจังหวัด อําเภอ ตําบล ศัพท์ทางทหาร military words สอบ O หยน