ถ่ายสําเนาทะเบียนบ้าน ยังไง

  • ถ่ายสําเนาทะเบียนบ้าน ยังไง
DetailsDetails

หลักเกณฑ์

การเพิ่มชื่อและรายการบุคคลเข้าในทะเบียนบ้านมีหลายกรณี ได้แก่                  

    1. กรณีตกสำรวจตรวจสอบทะเบียนราษฎรเมื่อปี พ.ศ. 2499 (จะต้องเป็นผู้เกิดก่อนวันที่ 1 มิถุนายน 2499)
    2. กรณีเพิ่มชื่อตามเอกสารทะเบียนราษฎรแบบเดิมที่ยังไม่มีเลขประจำตัวประชาชน ได้แก่ สูติบัตร ใบแจ้งการย้าย ที่อยู่ และทะเบียนบ้าน
    3. กรณีคนสัญชาติไทยที่เดินทางกลับจากต่างประเทศ หรือเกิดในต่างประเทศแล้วเดินทางกลับเข้ามา ในประเทศไทย ทั้งที่มีหลักฐานแสดงว่าเป็นคนไทยและไม่มีหลักฐาน
    4. กรณีอ้างว่าเป็นคนไทยแต่ไม่มีหลักฐานเอกสารมาแสดง
    5. กรณีเด็กอนาถาซึ่งอยู่ในความอุปการะของบุคคล หน่วยงานเอกชน หรือหน่วยงานของรัฐ
    6. กรณีบุคคลที่ลงรายการในทะเบียนบ้านว่า "ตาย" หรือ "จำหน่าย" มาขอเพิ่มชื่อ
    7. กรณีคนต่างด้าวที่มีใบสำคัญประจำตัวคนต่างด้าว
    8. กรณีคนต่างด้าวที่ได้รับอนุญาตให้มีถิ่นที่อยู่ในประเทศไทย
    9. กรณีที่ไม่มีสัญชาติไทยแต่ต่อมาได้รับสัญชาติไทย
    10. กรณีคนต่างด้าวที่เข้ามาในราชอาณาจักรไทย โดยได้รับการผ่อนผันเป็นกรณีพิเศษหรือไม่ได้รับอนุญาตตามกฎหมายว่าด้วยคนเข้าเมือง รวมทั้งผู้เกิดในราชอาณาจักรไทย ซึ่งไม่ได้สัญชาติไทย

ผู้มีหน้าที่แจ้ง
    ได้แก่ เจ้าบ้าน หรือผู้ขอเพิ่มชื่อ บิดา หรือมารดา กรณีผู้ขอเพิ่มชื่อเป็นผู้เยาว์ หรือผู้อุปการะ เลี้ยงดู กรณีเด็กอนาถา

สถานที่ยื่นคำร้อง
    ได้แก่ สำนักทะเบียนอำเภอ หรือสำนักทะเบียนท้องถิ่นที่ผู้ขอเพิ่มชื่อมีภูมิลำเนาอยู่ใน ปัจจุบันเว้นแต่
    1. กรณีเพิ่มชื่อตามสูติบัตรแบบเดิม ให้ยื่นคำร้องที่สำนักทะเบียนที่ออกสูติบัตรฉบับนั้น
    2. กรณีเพิ่มชื่อตามแบบใบแจ้งการย้ายที่อยู่ให้ยื่นคำร้องที่สำนักทะเบียนที่ประสงค์จะขอเพิ่มชื่อ
    3. กรณีเพิ่มชื่อตามทะเบียนบ้านแบบเดิม ให้ยื่นคำร้องที่สำนักทะเบียนที่เคยมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้าน ครั้งสุดท้าย
    4. กรณีเพิ่มชื่อของผู้ที่ลงรายการจำหน่ายหรือตายไว้แล้ว ให้ยื่นคำร้องที่สำนักทะเบียนที่ผู้นั้นเคยมีชื่อ ในทะเบียนบ้าน ก่อนถูกจำหน่ายรายการ

เอกสารที่ใช้ในการติดต่อ
เอกสารที่ใช้ในการติดต่อ แบ่งเป็น 2 กรณี

กรณีมีหลักฐานมาแสดง
    1. บัตรประจำตัวเจ้าบ้านหรือผู้แจ้ง
    2. สำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้าน
    3. รูปถ่ายผู้ขอเพิ่มชื่อ 1 รูป (กรณีผู้ขอเพิ่มชื่ออายุเกิน 7 ปี)
    4. ทะเบียนบ้านหรือสำเนาทะเบียนบ้านฉบับปีพ.ศ. 2499 , พ.ศ. 2515 หรือ พ.ศ. 2526
    5. ใบสูติบัตร (แบบเดิมซึ่งไม่มีเลขประจำตัวประชาชน)
    6. ใบแจ้งการย้ายที่อยู่ (แบบเดิมจึงไม่มีเลขประจำตัวประชาชน)

กรณีไม่มีหลักฐานมาแสดง
    1. บัตรประจำตัวเจ้าบ้านหรือผู้แจ้ง
    2. สำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้าน
    3. รูปถ่ายของผู้ขอเพิ่มชื่อ 1 รูป (กรณีผู้ขอเพิ่มชื่ออายุเกิน 7 ปี)
    4. บัตรประจำตัวบิดา มารดา (ถ้ามี)
    5. บัตรประจำตัวพยานบุคคลที่ให้การรับรอง
    6. เอกสารประกอบ เช่น หลักฐานการศึกษา (ถ้ามี) ส.ด.9 (ถ้ามี)

ขั้นตอนในการติดต่อ
    * 1. การยื่นเอกสารและหลักฐาน
    - กรณีมีหลักฐานมาแสดงให้ยื่นต่อนายทะเบียนท้องที่ที่ผู้ร้องขอเพิ่มชื่อปรากฎรายการในเอกสารนั้น ๆ
    - กรณีไม่มีหลักฐานมาแสดงให้ยื่นต่อนายทะเบียนท้องที่ที่ผู้ร้องอาศัยอยู่ในปัจจุบัน
    * 2. นายทะเบียนตรวจสอบหลักฐาน
    * 3. ตรวจสอบรายการในฐานข้อมูลการทะเบียนราษฎร
    * 4. สอบสวนพยานบุคคลที่ให้การรับรอง
    * 5. บันทึกข้อมูลเกี่ยวกับตัวบุคคลที่ขอเพิ่มชื่อ ผู้แจ้ง และพยานบุคคลที่ให้การรับรองและให้บุคคลดังกล่าวลงลายมือชื่อ หรือพิมพ์ลายนิ้วมือ  ตามแบบ ท.ร.25
    * 6. รวบรวมหลักฐานเสนอผู้มีอำนาจอนุมัติในการเพิ่มชื่อในทะเบียนบ้าน
    * 7. คืนหลักฐานให้ผู้แจ้ง

ขณะนี้คุรุสภาเชิญชวนผู้ที่ต้องการต่ออายุใบอนุญาตยื่นผ่านระบบ KSP e – Service และ KSP School เนื่องจากมีความสะดวก รวดเร็ว และสามารถตรวจสอบสถานะการยื่นขอใบอนุญาตได้ด้วยตนเอง โดยท่านสามารถเข้าระบบ KSP e – Service และ KSP School ได้ที่เว็บไซต์คุรุสภา www.ksp.or.th

>>> ขั้นตอนการขอต่ออายุใบอนุญาตประกอบวิชาชีพทางการศึกษา
>>> ขั้นตอนการชำระค่าธรรมเนียมการขอต่ออายุใบอนุญาตประกอบวิชาชีพทางการศึกษา
>>> ขั้นตอนการตรวจสอบการชำระค่าธรรมเนียมการขอต่ออายุใบอนุญาตประกอบวิชาชีพทางการศึกษา

สำหรับขั้นตอนการขอต่ออายุใบอนุญาตประกอบวิชาชีพทางการศึกษาออนไลน์ มีวิธีการและขั้นตอนดังนี้

1.ขั้นตอนการขอต่ออายุใบอนุญาตประกอบวิชาชีพทางการศึกษา

1.1. ขั้นตอนแรก คุณครูต้องไปสมัคร KSP E-Service ที่เว็บไซต์ :  https://selfservice.ksp.or.th/ksp-esv/index.jbx ทำตามวิดีโอวิธีการสมัคร KSP E-Service ด้านล่างนี้ (ตอนตั้งรหัสผ่านอย่าลืมจดไว้นะครับกันลืม)

1.2 หลังจากนั้นให้ล็อกอินเข้าสู่ระบบ KSP E-Service ที่เว็บไซต์ : https://selfservice.ksp.or.th/ksp-esv/index.jbx กรอกเลขบัตรประชาชน  และ รหัสผ่านที่ตั้งไว้ในตอนสมัคร KSP E-Service

ถ่ายสําเนาทะเบียนบ้าน ยังไง
KSP E-Service ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครู

1.3 เข้าเมนู ใบอนุญาต > ขอต่อใบอนุญาต-ครูไทย > บันทึกข้อมูลคำขอต่ออายุใบอนุญาต – ครู

ถ่ายสําเนาทะเบียนบ้าน ยังไง

1.4 หน้าบันทึกข้อมูลบันทึกข้อมูลคำขอต่ออายุใบอนุญาต – ครู ให้พิมพ์ข้อมูลให้ครบถ้วน

ถ่ายสําเนาทะเบียนบ้าน ยังไง

1.5 ในคุณสมบัติในการขอต่ออายุใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ ให้คลิก หน้าหมายเลขของคุณสมบัติที่ท่านจะใช้ขอต่อ อายุใบอนุญาตประกอบวิชาชีพและกรอกรายละเอียดให้ครบถ้วน (กรอกรายละเอียดให้ครบถ้วนเพียง 1 ข้อเท่านั้น)

ถ่ายสําเนาทะเบียนบ้าน ยังไง

1.6 เมื่อคลิกแล้วจะมีรายละเอียดเพิ่มเติมในแต่ละข้อให้ท่านกรอกข้อมูลให้ครบถ้วน โดยแต่ละข้อมีรายละเอียด ดังต่อไปนี้

ถ่ายสําเนาทะเบียนบ้าน ยังไง

ถ่ายสําเนาทะเบียนบ้าน ยังไง

ถ่ายสําเนาทะเบียนบ้าน ยังไง

ถ่ายสําเนาทะเบียนบ้าน ยังไง

ถ่ายสําเนาทะเบียนบ้าน ยังไง

ถ่ายสําเนาทะเบียนบ้าน ยังไง

ถ่ายสําเนาทะเบียนบ้าน ยังไง

1.7. ในผลการปฏิบติงานตามมาตรฐานการปฏิบัติงาน ผู้ที่ปัจจุบันเป็นผู้ประกอบวิชาชีพครู ให้เลือกกิจกรรมและกรอก รายละเอียด ไม่น้อยกว่า 3 กิจกรรม ให้คลิก หน้าหมายเลขของกิจกรรมที่ท่านจะใช้ขอต่ออายุใบอนุญาต ประกอบวิชาชีพและพิมพ์รายละเอียดให้ครบถ้วน

ถ่ายสําเนาทะเบียนบ้าน ยังไง

ถ่ายสําเนาทะเบียนบ้าน ยังไง

ถ่ายสําเนาทะเบียนบ้าน ยังไง

ถ่ายสําเนาทะเบียนบ้าน ยังไง

1.8 พิมพ์คำรับรองคุณสมบัติของผู้ขอต่ออำยุใบอนุญาตประกอบวิชาชีพให้ครบถ้วน (กรอกชื่อตัวเอง)

ถ่ายสําเนาทะเบียนบ้าน ยังไง

1.9 แนบเอกสารหลักฐานประกอบคำขอ ให้ถ่ายเอกสาร รับรองสำเนา แล้วสแกนเอกสารหลักฐานประกอบการขอต่างๆ เป็นไฟล์รูปภาพหรือไฟล์ PDF (ถ้าเอกสารมีหลายหน้าทำเป็น PDF) แล้วแนบเอกสารให้ครบถ้วน โดยเอกสารที่ใช้ ประกอบด้วย 
          – สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน หรือ สำเนาบัตรประจำตัวเจ้าหน้าที่ของรัฐ
          – รูปถ่ายสุภาพหน้าตรง ขนาด 1 นิ้ว (หน้าตรง ไม่สวมหมวก ไม่สวมแว่นตา)
          – หลักฐานผลการปฏิบัติงานตามมาตราฐานไม่น้อยกว่า 3 กิจกรรม
ดูการจัดเตรียมเอกสารสำหรับต่อใบประกอบวิชาชีพครู คลิกที่นี่ https://krustation.com/เอกสารต่อใบประกอบครู ท่านที่มีข้อสงสัย หรือ คำถาม สามารถพิมพ์สอบถามได้ที่ช่องแสดงความคิดเห็นด้านล่าง หรือ สอบถามรายละเอียดการใช้งานเพิ่มเติมได้ที่ สำนักเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กลุ่มพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ โทร. 0 2280 6169 หรือ 02 304 9899 ครับ……..

ถ่ายสําเนาบัตรประชาชน ยังไง เครื่องปริ้น

การถ่ายสำเนาบัตรประชาชน.
ใส่กระดาษเข้าไปในเครื่องพิมพ์ ... .
เลือก ถ่ายเอกสาร จากหน้าจอหลัก ... .
ตั้งค่าจำนวนของการถ่ายสำเนาโดยใช้ปุ่ม หรือ.
เลือก เปิด ใน ถ่าย การ์ดรหัส.
เลือกการตั้งค่าการพิมพ์ หลังจากนั้นเปลี่ยนการตั้งค่าที่จำเป็น ... .
กดปุ่ม.
วางต้นฉบับโดยเอาด้านหน้าลงและเลื่อนไปยังเครื่องหมายตรงหัวมุม.

ทะเบียนบ้านต้องถ่ายหน้าไหนบ้าง

ใช้กล้องมือถือ ถ่ายได้สบาย ๆ เลย ถ่ายหน้าแรก (หน้าเดี่ยว ไม่ต้องหน้าคู่นะครับ) ที่มีรายละเอียดบ้านเลขที่ ถ่ายหน้าที่มีชื่อคุณ (ซึ่งก็เป็นหน้าเดี่ยวอีกครับ)

สําเนาทะเบียนบ้านต้องขีดคร่อมไหม

เอกสารที่มี 2 หน้าควรขีดฆ่าทับบริเวณที่สำคัญ แต่ไม่ควรบังใบหน้า หรือตัวเลขจนอ่านเอกสารนั้นไม่ออก ยกตัวอย่างเช่น สำเนาบัตรประชาชนหน้าหลัง, พาสปอร์ต, ทะเบียนบ้าน, ทะเบียนรถยนต์ เพื่อป้องกันการปลอมแปลงตัดต่อ เขียนวันที่กำกับ

สำเนาทะเบียนบ้านเป็นยังไง

สำเนาทะเบียนบ้าน คือ เอกสารราชการที่สำคัญที่กรมการปกครองจัดทำขึ้น โดยระบุรายละเอียดที่ตั้งของบ้าน ชื่อ นามสกุล เลขประจำตัวประชาชน ชื่อบิดามารดา ภูมิลำเนา ของคนในบ้าน ฯลฯ หากต้องการคัดสำเนาทะเบียนบ้าน ในปี 2565 ทางกรมการปกครอง ก็ได้เพิ่มช่องทางอำนวยความสะดวกแก่ประชาชน เปิดจุดบริการด่วนมหานคร BMA Express Service บนสถานี ...