โครงงาน ลูกประคบ สมุนไพร บทที่ 5

บทที่ 5
สรุป   อภิปรายและข้อเสนอแนะ
1.สรุปผลโครงงาน
สรุปผลการทดลองการผลิตลูกประคบสมุนไพรได้ดังนี้
 อุณหภูมิที่เหมาะสมที่มีน้ำมันหอมระเหยง่ายได้แก่ ไพล ขมิ้นชัน ขมิ้นอ้อย ผิวมะกรูด ตะไคร้บ้าน ใบมะขาม
ใบส้มปล่อย ใบขี้เหล็ก เท่ากับ 70 องศาเซลเซียส  ระยะเวลาที่ใช้ในการอบสมุนไพรที่เหมาะสม เท่ากับ 4-5 ชั่วโมง
จะทำให้สมุนไพรยังคงสภาพเดิมเหมาะที่จะใช้ลูกประคบสมุนไพร ซึ่งจะอยู่ได้ประมาณ 12 สัปดาห์
2.อภิปราย
       จากการศึกษาการพัฒนาลูกประคบสมุนไพรที่พบว่าการตรวจพินิจคุณลักษณะที่ดีองสมุนไพรในลูกประคบ ในสัปดาห์ที่ 12 สมุนไพรในลูกประคบยังคงความต้องการของผู้ใช้ลูกประคบสมุนไพร
3.ข้อเสนอแนะ
          1. ความพึ่งพอใจของลูกประคบ ควรเพิ่มกลุ่มตัวอย่างให้มากขึ้นเพื่อให้เป็นข้อมูลที่สามารถยืนยันถึงประสิทธิภาพของการใช้ลูกประคบได้อย่างชัดเจน สามารถนำมาเป็นทางเลือกหนึ่งของการรักษาอาการปวดเมื้อยของการเพทย์ในปัจจุบันได้
           2.อาจใช้ในการศึกษาครั้งนี้เป็นแนวทางในการศึกษาต่อถึงการควบคุมคุณภาพลูกประคบสมุนไพรอื่นๆ เช่น  ลูกประคบสมุนไพรสำหรับหน้า ลูกประคบสมุนไพรลด ลูกประคบสมุนไพรสูตรเฉาะ เป็นต้น

ทที่5 สรุป อภิปรายผลเเละข้อเสนอเเนะ

สรุปผลการศึกษา

    จากการดำเนินการศึกษาสรุปได้ว่า ลูกประคบสมุนไพรไทยสามารถนำมานวดประคบ ในการแพทย์แผนไทยได้จริง

ข้อเสนอแนะ

    1.ควรมีการศึกษาข้อมูลให้ละเอียดและรอบคอบ

    2.ควรมีการทำการนำเสนองานเผยแพร่ให้ได้มากที่สุด และนำความรู้ที่ได้มาทำเป็นธุรกิจ ซึ่งสามารถนำออกขายได้

ประโยชน์ที่ได้รับ

    1.เข้าใจการทำงานที่เป็นโครงงาน เรื่อง โครงงานการทำลูกประคบสมุนไพรไทย

    2.ได้นำความรู้ความสามารถที่ได้จากการทำโครงงานนี้มาออกเผยแก่ผู้คนที่สนใจ รวมถึงนักเรียนโรงเรียนวังทองพิทยาคม

    3.นักเรียนที่จัดทำสามารถนำความรู้ความสามารถที่ได้จากการทำโครงงานนี้ไปปฏิบัติได้จริงที่บ้าน แและพื้นที่ใกล้เคียงที่จะสามารถทำได้

    4.ผู้จัดทำได้รู้จักการทำงานร่วมกันในหมู่คณะ

โครงงาน ลูกประคบสมุนไพร

เสนอ

ว่าที่ร้อยตรีบัญชา สาระวัน

จัดทำโดย

๑.นางสาวรัตนา เปรมปรีดา รหัสนักศึกษา 6113050038

๒.นางสาวกุลรัตน์ หมื่นสุนทร รหัสนักศึกษา 6023050032

๓.นายนรากร บุญท้วม รหัสนักศึกษา 6023050014

กศน.ตำบลบางสมบูรณ์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย

ภาคเรียนที่ ๒/๒๕๖๒

ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอองรักษ์

หัวข้อโครงงาน ลูกประคบสมุนไพร

ประเภทโครงงาน ประเภททดลอง

ผู้เสนอโครงงาน ๑.นางสาวรัตนา เปรมปรีดา รหัสนักศึกษา 6113050038
๒.นางสาวกุลรัตน์ หมื่นสุนทร รหัสนักศึกษา 6023050032

๓.นายนรากร บุญท้วม รหัสนักศึกษา 6023050014

ครูที่ปรึกษาโครงงาน ว่าที่ร้อยตรีบัญชา สาระวัน

ปีการศึกษา ๒/๒๕๖๒

บทคัดย่อ

ื่
การจัดทำโครงงานนี้มีวัตถุประสงค์เพอศึกษาสมุนไพรในท้องถิ่นมาเป็นลูกประคบเพอสุขภาพเป็น
ื่
การศึกษาเกี่ยวกับสมุนไพรลูกประคบ และสร้างความสนใจช่วยพฒนาหาความรู้ของผู้สนใจมีความเข้าใจ


เห็นความสำคัญของสมุนไพรเพื่อสุขภาพที่นำสมุนไพรในท้องถิ่นมาใช้ กรณีศกษาสมุนไพรในท้องถิ่นเป็นสื่อที่มี
ประโยชน์ และประสิทธิภาพสมุนไพร

สารบัญ

เรื่อง หน้า

บทที่ ๑ บทนำ
ชื่อโครงงาน ๑

หลักการและเหตุผล ๒
วัตถุประสงค์ ๑

วิธีดำเนินการ ๑-๒

ระยะเวลา ๓
สถานที่ดำเนินการ ๓

บทที่ ๒ เอกสารที่เกี่ยวข้อง ๔-๙

บทที่ ๓ วิธีดำเนินการทดลอง 10
บทที่ ๔ ผลการทดลอง 11

บทที่ ๕ สรุป อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ 12

บทที่ 1 บทนำ


1.ชื่อโครงงาน ลูกประคบสมนไพร
ประเภท โครงงานทดลอง
ชื่อผู้จัดทำ นางสาวรัตนา เปรมปรีดา รหัสนักศึกษา 6113050038 กศน.ตำบลบางสมบูรณ์

นางสาวกุลรัตน์ หมื่นสุนทร รหัสนักศึกษา 6023050032 กศน.ตำบลบางสมบูรณ์
นายนรากร บุญท้วม รหัสนักศึกษา 6023050014 กศน.ตำบลบางสมบูรณ์

ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา ว่าที่ร้อยตรีบัญชา สาระวัน
2.หลักการและเหตุผล

ื้
เนื่องจากในปัจจุบันผู้สูงอายุหลายท่านในเขตพนที่ตำบลบางสมบูรณ์ ยังคงต้องทำงานหาเลี้ยงตนเอง
ในขณะที่มีอายุมากแล้ว จึงเกิดอาการปวดเมื่อยตามร่างกายได้ง่ายกว่าบุคคลปกติ ทำให้ท่านผู้สูงอายุ
จำเป็นต้องรับประทานยาแก้ปวดจำพวก พาราเซตามอน เป็นประจำในปริมาณที่มากและเกิดอาการสะสม



สารเคมในร่างกาย ซึ่งตามที่รู้กันคือพวกยาแกปวดทั้งหลายหากรับประทานในปริมาณทมากจะทำให้ตับและไต
ี่
ทำงานหนักเพมมากขึ้นและเกิดผลเสียต่อระบบต่างๆในร่างกายลูกประคบสมุนไพรเกิดจากภูมิปัญญาบรรพ
ิ่
บุรุษที่ใช้พชสมุนไพรที่มีอยู่ในท้องถิ่นนำมาใช้ในการรักษาหรือเพอช่วยในการไหลเวียนของโลหิตต่อมาได้มีการ

ื่
ปรับปรุงและพัฒนาลูกประคบเรื่อยมาเพื่อประโยชน์ในการรักษาที่มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
3.วัตถุประสงค์โครงการ

1.เพื่อต้องการให้ลูกประคบสมุนไพรเป็นที่รู้จัก
2.เพื่อต้องการศึกษาและสืบทอดภูมิปัญญาไทย

3.เพื่อให้คำแนะนำแก่ผู้สูงอายุ ป้องกันการใช้ยาที่มากเกินไป

4.เพื่อให้ผู้ที่สนใจ มีความรู้เรื่องสมุนไพรและประยุกต์ใช้
4.วิธีดำเนินการ

ขั้นตอนการดำเนินงาน

1.คิดหัวข้อโครงการเพอนำเสนออาจารย์
ื่
2.ศึกษาค้นคว้ารวบรวมข้อมูล ที่เกี่ยวข้องกับสมุนไพร

3.ศึกษาสมุนไพรในท้องถิ่น
4.ทำเอกสารสรุปรายงาน โครงการ

สมุนไพรที่นำมาทำลูกประคบ ดังนี้
1.ไพล ๕๐0 กรัม 2.ตะไคร้ 10๐ กรัม

๓.ผิวมะกรูด ๒๐๐ กรัม ๔.ใบมะขาม ๓๐๐ กรัม

๕.ขมิ้นชัน ๑๐๐ กรัม ๖.การบูร ๒ ช้อนโต๊ะ
๗.ใบส้มป่อย ๑๐๐ กรัม ๘.เกลือ 1 ช้อนโต๊ะ

๙.พิมเสน ๑ ช้อนโต๊ะ

วัสดุอื่นๆ

1.ผ้าขาวบางขนาด กว้าง x ยาว 13 นิ้ว x 13 นิ้ว/ผืน
2.กรรไกร/เครื่องชั่ง

3.มีด กระด้ง ถาด

4.เชือกขาว
5.กะละมังเล็ก ทัพพีสำหรับสมุนตักไพร ช้อนสำหรับตักสมุนไพร

ขั้นตอนการผลิต

1.ล้างสมุนไพรให้สะอาด หั่นเป็นชิ้นเล็กๆ โคลกพอแหลกใส่เกลือ พมเสน การบูร คลุกให้เข้ากัน
แบ่งเป็น 2-3 ส่วน
2.นำส่วนผสมทั้งหมดมาวางไว้ตรงกลาง เริ่มจับมุมผ้า ทีละ 2 มุม ขึ้นมาทบกัน จับจนครบทั้ง 4 มุม

ให้รวบมุมผ้าทีล่ะมุม อีกครั้งหนึ่งจนครบอีกทั้ง 4 มุม

3.แต่งชายผ้าให้เรียบร้อย ซ้อนกันเป็นชายเดียวจากนั้นค่อยๆจัดแต่งลูกประคบ ให้เป็นรูปทรงกลมที่
สวยงาม มัดด้วยเชือกที่ทำเป็นห่วงคล้อง แล้วมัดปมให้แน่น


4.การทำด้ามจับ โดยการจับชายผ้าที่เหลือมาซ้อนกันให้เรียบร้อย เสร็จแล้วพบเข้าหากันเพื่อเก็บซ่อน
ชายผ้าทั้งสองด้าน

5.จัด แต่งและซ้อนชายผ้าเรียบร้อยแล้ว ให้พบปลายลงมาประมาณ กะประมาณความยาวก้านให้
สวยงามม้วนทบด้ามให้เรียบร้อย ใช้ปลายเชือกเส้นเดิมผูกแบบเงื่อนตายให้แน่น อีกครั้งหนึ่ง
6.ซ่อนปลายเชือกไว้ในซอกผ้าตรงรอยพับที่เป็นด้ามจับ และเพอให้ลูกประคบมีความแข็งแรงสวยงาม
ื่
คงทนต่อการใช้งานการทำเช่นนี้จะทำให้เชือกเรียงกันดูสวยงามและเป็นระเบียบ

5.ระยะเวลา มกราคม-กุมภาพันธ์ ๒๕๖๓

ลำดับ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ หมายเหตุ
1 2 3 4 5 6 7

1 คิดหัวข้อโครงงาน
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล
3 จัดทำร่างโครงงาน

4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน
5 ปรับปรุงและทดสอบ
6 การทำเอกสารรายงาน

7 ประเมินผลงาน
8 นำเสนอโครงงาน

๖.สถานที่ดำเนินการ

กศน.ตำบลบางสมบูรณ์ แหล่งเรียนรู้ชุมชน
๗.ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ได้รับความสนใจจากคนรุ่นใหม่มากขึ้น และมีการปรับประยุกต์ใช้ในปัจจุบัน
๘.อ้างอิง

www.yesspathailand.com www.tungsong.com

บทที่ 2
เอกสารที่เกี่ยวข้อง

ึ้
เนื่องจากการทำลูกประคบสมุนไพรเกิดจากความคิดที่อยากทำขนเอง เพื่อที่จะประหยัดค่าใช้จ่ายและ
ลดการใช้ยา ทางผู้จัดทำจึงคิดที่จะผลิตลูกประคบขึ้นเองวิธีการใช้การใช้ส่วนผสมง่าย ละทำออกมาในรูปแบบ

ของสื่อการเรียนการสอนประเภทวีดีโอ เอกสารที่ใช้ประกอบการทำได้แก ่
ความสำคัญของนวัตกรรมและเทคโนโลยีการศกษา

1.นวัตกรรม และเทคโนโลยีการศึกษา เป็นองค์ประกอบในระบบการเรียนการสอน จะช่วยให้ผู้เรียน
บรรลุจุดประสงค์การเรียนการสอน

2.การจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ จำเป็นต้องมีสื่อการเรียนการสอน นวัตกรรมและ

เทคโนโลยีทางการศึกษาเข้ามามีส่วนช่วยให้ผู้เรียนมีส่วนร่วม (Participation) และผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์
(Interaction) กับสื่อการเรียนการสอน และการจัดกลุ่ม

3.ปัญหาในการเรียนการสอน จำเป็นต้องใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีใหม่ๆ มาใช้ในการแก้ปัญหา เช่น

ความยากของเนื้อหาวิชา ความแตกต่างระหว่างบุคคล ทัศนคติต่อการเรียน ความสนใจในการเรียน สื่อและ
เทคโนโลยีทางการศึกษาสามารถแก้ปัญหาเหล่านี้ได้


4.พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๔๒ เป็นกฎหมายทางการศกษา ที่ให้ความสำคัญของสื่อ
การเรียนการสอน นวัตกรรมและเทคโนโลยีการศกษา ไว้หลายมาตรา ดังนี้

-หมวด ๔ แนวการจัดการศึกษา มาตรา ๒๔ ข้อ ๕ ส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้สอนสามารถจัดบรรยากาศ
สภาพแวดล้อม สื่อการเรียน...ผู้สอนและผู้เรียนอาจเรียนรู้ไปพร้อมๆ กันจากสื่อการเรียนการสอนและแหล่ง

วิทยาการประเภทต่างๆ

ื่
-หมวด ๙ มาตรา ๖๓ รัฐต้องจัดสรรคลื่นความถี่ วิทยุ โทรทัศน์ เพอประโยชน์แก่การศึกษาทุกระดับ
และทุกระบบ มาตรา ๖๕ ให้มีการพัฒนาบุคลากรทั้งด้านผู้ผลิตและผู้ใช้เทคโนโลยีเพื่อการศกษาฯ มาตรา


๖๔ รัฐต้องส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการผลิตและพัฒนาแบบเรียน ตำรา หนังสือทางวิชาการ สื่อสิ่งพิมพอื่นๆ
วัสดุอุปกรณ์ และเทคโนโลยีเพื่อการศกษาอื่นๆ มาตร ๖๗ รัฐต้องส่งเสริมให้มีการวิจัยพัฒนาการผลิตและการ

พัฒนาเทคโนโลยีเพอการศึกษาฯ มาตรา ๖๙ รัฐต้องจัดให้มีหน่วยงานกลางทำหน้าที่พจารณาเสนอนโยบาย
ื่

แผน ส่งเสริม และประสานการวิจัย การพัฒนา และการใช้ รวมทั้งการประเมินคุณภาพ และประสิทธิภาพ
ของการผลิตและการใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา

ความหมายของเทคโนโลยีการศึกษา

ก่อสวัสดิพานิช ได้ให้ความหมายว่า เทคโนโลยีทางการศึกษา หมายถึง การนำเอาวิธีการหรือ
เครื่องมือใหม่ๆ มาใช้ทางการศึกษา เพื่อช่วยให้ระบบการศึกษามีประสิทธิภาพสูงขึ้น

สื่อกับระบบการเรียนการสอน (Media & Instructional System)

ระบบ(System)ในการนำเอาสื่อและเทคโนโลยีมาใช้เพื่อการเรียนการสอน ประกอบด้วย

องค์ประกอบต่างๆ เช่น จุดประสงค์การเรียนรู้ เนื้อหาสาระ ผู้เรียน สถานที่เรียน แหล่งวิทยาการ วัสดุอุปกรณ์
เป็นต้น โครงสร้างระบบการเรียนการสอนที่มักนิยมนำไปใช้

ความสำคัญของสื่อกับกระบวนการเรียนการสอน

คำว่า สื่อ (Media) แตงแต้ว ณ นคร (แตงแต้ว ณ นคร ,- : 55) โดยทั่วไป หมายถึง ตัวกลาง
หรือระหว่าง (Between) ซึ่งในที่นี้ถ้าหมายถึงการสื่อสารแล้ว สื่อจะหมายถึงสื่อต่าง ๆ ที่เป็นการแนะนำ

ความรู้หรือสารสนเทศ (Information) ระหว่างผู้สื่อกับผู้รับ เช่น ภาพยนตร์ วิทยุ โทรทัศน์ รูปภาพ วัสดุ
ื่
ฉาย สิ่งพิมพ์และอน ๆ สิ่งเหล่านี้ ก็คือ สื่อที่ใช้ในการสื่อสาร แต่เมื่อนำสิ่งเหล่านี้มาใช้ในการเรียนการสอน
แล้ว เราเรียกสิ่งเหล่านี้ว่า สื่อการเรียนการสอน ด้วยเหตุนี้ สื่อการเรียนการสอนจึงมีหน้าที่เป็นพาหนะนำ

ความรู้ไปสู่ผู้เรียนในขณะที่มีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน คำว่า สื่อการสอน ตรงกับคำภาษาองกฤษ
ว่า Instructional Media จึงแยกคำว่าสื่อการสอนออกเป็น 2 คำ คือ สื่อ

(Medium เป็นเอกพจน์ Media เป็นพหุพจน์) กับคำว่าการสอน (Instruction) สื่อ
(Medium,pl. Media) เป็นคำที่มาจากภาษาลาตินว่า “ Medium” แปลว่าระหว่าง between หมายถึง สิ่ง

ใดก็ตามที่บรรจุข้อมูลเพื่อให้ผู้ส่งและผู้รับ สามารถสื่อสารกันได้ตรงตามวัตถุประสงค์ สื่อที่นิยมใช้ประกอบการ

เรียนการสอน เช่น สไลด์ วิทยุ โทรทัศน์ วิดีโอ แผนภูมิ ภาพนิ่ง เครื่องฉายข้ามศีรษะ (Over head) ซึ่ง
จะกล่าวถึงคุณประโยชน์ วิธีการใช้ ข้อดี ข้อเสีย และวิธีเก็บรักษาสื่อเหล่านี้ในรายละเอียดต่อไป

ความสำคัญของสื่อการเรียนการสอน
สื่อการสอนแต่ละชนิดนั้นมีคุณค่าต่อการเรียนการสอนเป็นอย่างยิ่ง ผู้สอนสามารถที่จะเอาสื่อใช้

ประกอบการเรียนการสอนได้ทุกระดับชั้น ตั้งแต่การศึกษาระดับปฐมวัยจนถึงระดับอุดมศึกษา โดยเฉพาะ
อย่างยิ่งในระดับปฐมวัยนั้น การใช้สื่อการเรียนการสอนกับวัยเด็กยิ่งมีความจำเป็นและมีความสำคัญเป็นอย่าง

ยิ่งเพราะเป็นวัยแรกเริ่มแห่งการพัฒนาการในทุก ๆ ด้าน ซึ่งได้กล่าวถึงประโยชน์และความสำคัญของสื่อการ

เรียนการสอนไว้ดังนี้
ประโยชน์และความสำคัญของสื่อการเรียนการสอน

1.ช่วยให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ได้มากและจดจำได้นาน

2.ช่วยให้ผู้เรียนสนใจและมีส่วนร่วมอย่างแข็งขันในกระบวนการเรียนการสอน
3.ช่วยส่งเสริมการคิดเป็นและการแก้ปัญหาใจกระบวนการเรียนของผู้เรียน

4.ช่วยอธิบายสิ่งที่ยากสลับซับซ้อนให้เข้าใจได้ง่าย
5.ช่วยส่งเสริมการเรียนรู้ของเอกลักษณ์บุคคลไม่ว่าจะเป็นเด็กเก่งหรือเด็กเรียนช้า

6.ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการสอนโดยประหยัดเวลาและแรงงาน
7.ทำให้ครูสามารถปับเปลี่ยนกิจกรรมการเรียนการสอนได้หลายรูปแบบ

8.ช่วยเพิ่มประสบการณ์ของผู้เรียนให้กว้างขวางมากขึ้น

9.ช่วยแก้ปัญหาข้อจำกัดในการเรียนการสอนบางประการ อาทิ เช่น
9.1ทำสิ่งที่ซับซ้อนให้ง่ายขึ้น

9.2ทำสิ่งเคลื่อนไหวเร็วให้ช้าลง

9.3ทำสิ่งเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงช้าให้เร็วขึ้น
9.4ทำสิ่งที่ใหญ่ให้ย่อขนาดลง

9.5ทำสิ่งที่เล็กมากให้ขยายใหญ่ขึ้น

9.6นำอดีตมาศึกษาได้
9.7ทำสิ่งที่เป็นนามธรรมให้เป็นรูปธรรม

9.8นำสิ่งที่อยู่ใกล้หรือลี้ลับมาศึกษาได้
10.ช่วยให้นักเรียนเรียนสำเร็จเร็วขึ้นและสอบได้คะแนนมากขึ้น

11.ช่วยให้ความหมายของศัพท์เพิ่มขึ้น
12.พัฒนาความคิดได้ต่อเนื่อง เช่น ภาพยนตร์

13.ถ้าใช้สื่อการสอนอย่างสม่ำเสมอ จะสามารถเปลี่ยนความคิด ทัศนคติ ทั้งยังช่วยสร้างทัศนคติให้

มั่นคงได้
14.ช่วยให้ผู้เรียนนำความรู้ที่ได้ไปใช้ประโยชน์

ประเภทของสื่อการสอน

เอดการ์ เดล (Edgar Dale, 1965, 42 – 43) ได้แบ่งประเภทของสื่อการสอน
ไว้ 3 ประเภท คือ

1.สื่อประเภทวัสดุ (Software) หมายถึง สื่อที่เก็บความรู้อยู่ในตัวเอง ซึ่งจำแนกย่อย
เป็น 2 ลักษณะ คือ


1.1วัสดุประเภทที่สามารถถ่ายทอดความรู้ได้ด้วยตนเอง โดยไม่จำเป็นจะต้องอาศัยอปกรณ์
อื่นช่วย เช่น แผ่นเสียง ลูกโลก รูปภาพ หุ่นจำลอง ฯลฯ

1.2วัสดุที่ไม่สามารถถ่ายทอดความรู้ได้ด้วยตนเอง จำเป็นต้องอาศัยอุปกรณ์อื่น

ช่วย เช่น แผ่นฟิล์ม ภาพยนต์ สไลด์
2.สื่อประเภทอุปกรณ์ (Hardware) หมายถึง สิ่งที่เป็นตัวกลางหรือตัวผ่าน ทำให้ข้อมูลหรือความรู้ที่

บันทึกในวัสดุที่สามารถถ่ายทอดออกมาให้เห็นหรือได้ยิน เช่น เครื่องฉายแผ่นโปร่งใส่เครื่องฉาย

3.สื่อประเภทเทคนิคและวิธีการ (Techniques and Methods) หมายถึง สื่อที่มีลักษณะเป็น
แนวความคิดหรือรูปแบบขั้นตอนในการเรียนการสอน โดยสามารถนำสื่อวัสดุและอุปกรณ์มาใช้ช่วยในการ

สอนได้ เช่น เกม สถานการณ์จำลอง บทบาทสมมุติ และการสาธิต เป็นต้น
หลักการเลือกใช้สื่อการเรียนการสอน

การเลือกสื่อในการเรียนการสอนนั้นเป็นสิ่งที่สำคัญ เป็นหน้าที่ของผู้สอนโดยตรงที่จะต้องใช้
ื่
วิจารณญาณ ตัดสินใจเลือกใช้สื่อที่เหมาะสมกับวัยของผู้เรียน และเนื้อหาที่จะสอน เพอให้เกิดประโยชน์แก่
ผู้เรียนมากที่สุด โดยผู้สอนจะต้องดำเนินการตามขั้นตอนดังต่อไปนี้

1.ศึกษาเนื้อหาที่จะสอนให้เข้าใจแจ่มแจ้ง
2.ตั้งวัตถุประสงค์ในการสอนเนื้อหานั้น ๆ ให้ชัดเจน

3.กำหนดเทคนิคหรือวิธีที่จะสอน

4.กำหนดกิจกรรมในการเรียนการสอน
5.กำหนดชนิดของสื่อที่จะใช้ประกอบการเรียนการสอนให้เหมาะสมกับวัยของผู้เรียนและเนื้อหาที่จะ

สอน

หลักเกณฑ์ในการพิจารณาเลือกใช้สื่อ

1.สอดคล้องกบวัตถุประสงค์ของบทเรียน
2.ตรงกับเนื้อหาที่จะสอน
3.น่าสนใจ

4.เหมาะสมกับวัยของผู้เรียน
5.สะดวกต่อการใช้ การเคลื่อนย้าย และการเก็บรักษา

6.สื่อต้องอยู่ในสภาพใช้การได้ดี ไม่ชำรุดเสียหาย

7.ต้องมีความถูกต้องตรงกับความเป็นจริง
8.สัมพันธ์กับความเดิมของผู้เรียน

9.เหมาะสมกับเวลา สถานการณ์ และสถานที่

10.ประหยัด ไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายสูง คุ้มค่าถ้าจะนำมาใช้
11.หาง่าย


12.ปลอดภัย ไม่มีอันตราย ไม่กอให้เกิดความเสียหาย
13.แข็งแรงทนทาน

14.ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
15.ถ้าเป็นเครื่องมือ ต้องง่ายต่อการรักษาซ่อมแซมหาอะไหล่ง่าย

หลักการใช้สื่อการสอนอย่างมีประสิทธิภาพ

เมื่อเลือกสื่อหรือผลิตสื่อได้แล้ว มิได้หมายความว่าสื่อนั้น ๆ จะช่วยให้การเรียนการสอนบรรลุ
เป้าหมายได้ สื่อการสอนที่ถูกคัดเลือกมาอย่างถูกต้อง จะมีคุณค่ายิ่งก็ต่อเมื่อครูมีวิธีการใช้อย่าง

ถูกต้อง เพราะสื่อแต่ละชนิดมีวิธีการใช้ที่แตกต่างกันออกไป ผู้ใช้ต้องมีความรู้ ความเข้าใจ มีทักษะในการ

ใช้ จึงจะเกิดประโยชน์สูงสุดต่อผู้เรียน ซึ่งสิริรัตน์ เบาใจ (สิริรัตน์ เบาใจ, 2529 : 161) ได้กล่าวถึงการ
วางแผนเตรียมการใช้สื่อ ประกอบด้วย 4 ส่วน ดังนี้

1.เตรียมตัวผู้สอน
-พิจารณาวัตถุประสงค์ของเนื้อหาก่อนที่จะสอน

-พิจารณาความต้องการและความสนใจของผู้สอน
-ทำความรู้จักกับสื่อแต่ละชนิดที่จะนำมาใช้

-วางแผนการใช้สื่อว่า จะใช้อย่างไร ใช้เมื่อใด โดยกำหนดขั้นตอนการใช้อย่างชัดเจน

ื่
-ทดลองใช้เพื่อกันการผิดพลาดและเพอความมั่นใจ

2.เตรียมตัวผู้เรียน

-การใช้สื่อบางชนิดผู้เรียนอาจต้องเตรียมบางสิ่งบางอย่างมาด้วย หรือเตรียมตนเองกอน

เรียน ซึ่งผู้สอนต้องบอกให้ทราบล่วงหน้า

-เตรียมอ่านเอกสารล่วงหน้า

-การใช้สื่อบางประเภทผู้สอนต้องอธิบายชี้แจง แนะนำ เพื่อให้ผู้เรียนมีส่วนร่วม หรือ
สังเกต เช่น ชี้แจงให้รู้จักเครื่องมือทดลองชี้แจงการบันทึกข้อมูล การระวังอันตรายที่จะเกิดขึ้นจาก

การทดลอง ภารกิจที่ต้องทำ
-บอกให้ผู้เรียนทราบว่า จะต้องทำอะไรหลังการใช้สื่อนั้น ๆ

3.เตรียมสถานที่
-เตรียมสภาพห้องให้เหมาะสมกับการใช้สื่อ เช่น ถ้าสาธิตควรจะจัดที่นั่งอย่างไร ถ้าเรียน

แบบศูนย์การเรียนจะจัดอย่างไร

-ตรวจสภาพความพร้อมต่าง ๆ เช่น ห้องฉาย ระบบไฟ ระบบระบายอากาศ การควบคุม
แสงภายในห้อง ระบบเสียง

4.จัดเตรียมสื่อ

-ในบทเรียนหนึ่ง ไม่ควรใช้สื่อมากเกินไป ควรใช้เท่าที่จำเป็น

-ตรวจสอบสภาพของสื่อให้พร้อมกอนที่จะนำออกใช้
-ตรวจสอบจำนวนการใช้งาน
-ทดลองใช้สื่อดูก่อน

-จัดลำดับสื่อที่จะใช้ก่อนหลัง
-สื่อที่นำมาใช้ควรมีขนาดใหญ่ เห็นได้ชัดเจน ได้ยินอย่างชัดเจน

-ตัวอักษะ รูปภาพ ข้อวาม ควรมีขนาดเหมาะสม เห็นได้ชัดเจนสวยงาม ชวนดู

ขั้นใช้สื่อการเรียนการสอน
-นำเสนอสื่อตามขั้นตอนที่เตรียมไว้ก่อนหลัง ในเวลาที่พอเหมาะไม่เร็วและไม่ช้าจนเกินไป

-พยายามให้ผู้เรียนได้มีส่วนร่วมในการใช้สื่อ

-การอธิบายของครูต้องชัดเจน
-ควบคุมเวลาตามแผนที่วางไว้

-สังเกตการตอบสนองของผู้เรียน
-กระตุ้นให้ผู้เรียนได้ใช้ความคิด

-ให้โอกาสผู้เรียนซักถามข้อข้องใจ
-ให้เวลาเผื่อทำความเข้าใจพอสมควร

-ให้ทุกคนมองเห็นอย่างชัดเจน

-พยายามเน้นจุดที่น่าสนใจ
-สอดคล้องกับเรื่องที่กำลังดำเนินการสอนอยู่อย่างแท้จริง

-ขณะที่ใช้อย่ายืนบัง ควรยืนอยู่ด้านข้าง

-การชี้อุปกรณ์ ให้ใช้ไม้ชี้
-เมื่อยังไม่ถึงเวลา ไม่ควรติดหรือแสดงสื่อการสอน เปิดทิ้งไว้ให้เห็นอาจทำให้ความสนใจ

ของผู้เรียนลดลง

-การนำสื่อออกแสดงไม่ควรให้ผู้เรียนรอนานเกินไปเพราะอาจหมดความสนใจเสียก่อน
-เมื่อใช้ผ่านไปแล้วควรเก็บลง เพื่อจะได้ไม่แย่งความสนใจ ในขณะที่ใช้สื่อการสอนอื่น

ขั้นประเมินผล ขั้นนี้ทำเพื่อเหตุผล 4 ประการ คือ
1.ทำให้ทราบว่าการใช้สื่อของครู ช่วยให้เกิดการเรียนรู้ตามวัตถุประสงค์เพียงใด เพื่อจะได้มีการ


ปรับปรุงแกไข
2.ทำให้ทราบว่าสื่อการสอนนั้นเหมาะสมกับเนื้อหา ขนาดความชัดเจน ความสะดวกในการใช้

เพียงใด เพื่อจะได้ปรับปรุงให้ดีขึ้น

3.ทำให้ทราบอุปสรรคที่เกิดขึ้นขณะการใช้งาน
4.เพื่อมอบหมายให้ผู้เรียนทำกิจกรรมต่อไป เพื่อเพิ่มความเข้าใจในสิ่งที่เรียน

แนวการเลือกและผลิตสื่อการสอนเป็นรายหมวดวิชา

การผลิตสื่อการสอนเป็นรายหมวดวิชาแตกต่างกันไปตามธรรมชาติ และลักษณะเนื้อหาชองหมวด
วิชาต่างๆ

บทที่ 3

วิธีดำเนินการทดลอง
การจัดทำสมุนไพรลูกประคบมีวิธีดำเนินการทดลอง ดังนี้

ขั้นตอนการดำเนินงาน

1.คิดหัวข้อโครงการเพอนำเสนออาจารย์
ื่
2.ศึกษาค้นคว้ารวบรวมข้อมูล ที่เกี่ยวข้องกับสมุนไพร

3.ศึกษาสมุนไพรในท้องถิ่น
4.ทำเอกสารสรุปรายงาน โครงการ

สมุนไพรที่นำมาทำลูกประคบ ดังนี้
1.ไพล ๕๐0 กรัม 2.ตะไคร้ 10๐ กรัม

๓.ผิวมะกรูด ๒๐๐ กรัม ๔.ใบมะขาม ๓๐๐ กรัม

๕.ขมิ้นชัน ๑๐๐ กรัม ๖.การบูร ๒ ช้อนโต๊ะ
๗.ใบส้มป่อย ๑๐๐ กรัม ๘.เกลือ 1 ช้อนโต๊ะ

๙.พิมเสน ๑ ช้อนโต๊ะ

วัสดุอื่นๆ
1.ผ้าขาวบางขนาด กว้าง x ยาว 13 นิ้ว x 13 นิ้ว/ผืน

2.กรรไกร/เครื่องชั่ง
3.มีด กระด้ง ถาด

4.เชือกขาว

5.กะละมังเล็ก ทัพพีสำหรับสมุนตักไพร ช้อนสำหรับตักสมุนไพร
ขั้นตอนการผลิต

1.ล้างสมุนไพรให้สะอาด หั่นเป็นชิ้นเล็กๆ โคลกพอแหลกใส่เกลือ พิมเสน การบูร คลุกให้เข้ากน

แบ่งเป็น 2-3 ส่วน
2.นำส่วนผสมทั้งหมดมาวางไว้ตรงกลาง เริ่มจับมุมผ้า ทีละ 2 มุม ขึ้นมาทบกัน จับจนครบทั้ง 4 มุม

ให้รวบมุมผ้าทีล่ะมุม อีกครั้งหนึ่งจนครบอีกทั้ง 4 มุม
3.แต่งชายผ้าให้เรียบร้อย ซ้อนกันเป็นชายเดียวจากนั้นค่อยๆจัดแต่งลูกประคบ ให้เป็นรูปทรงกลมท ี่

ี่
สวยงาม มัดด้วยเชือกททำเป็นห่วงคล้อง แล้วมัดปมให้แน่น
4.การทำด้ามจับ โดยการจับชายผ้าที่เหลือมาซอนกันให้เรียบร้อย เสร็จแล้วพับเข้าหากันเพื่อเก็บซ่อน

ชายผ้าทั้งสองด้าน

5.จัด แต่งและซ้อนชายผ้าเรียบร้อยแล้ว ให้พับปลายลงมาประมาณ กะประมาณความยาวก้านให้

สวยงามม้วนทบด้ามให้เรียบร้อย ใช้ปลายเชือกเส้นเดิมผูกแบบเงื่อนตายให้แน่น อกครั้งหนึ่ง
6.ซ่อนปลายเชือกไว้ในซอกผ้าตรงรอยพับที่เป็นด้ามจับ และเพอให้ลูกประคบมีความแข็งแรงสวยงาม
ื่
คงทนต่อการใช้งาน การทำเช่นนี้จะทำให้เชือกเรียงกันดูสวยงามและเป็นระเบียบ

บทที่ 4

ผลการทดลอง
1.เพื่อการศึกษาสมุนไพรในท้องถิ่นมาเป็นลูกประคบ

2.นำไปใช้ทำอะไรได้บ้าง

- แก้บรรเทาอาการปวดเมื่อยของร่างกาย ลดอาการปวด
- ใช้นวดหลังจากการคลอดบุตร

3.มีประโยชน์อะไร
- ทำให้เลือดไหลเวียนได้ดี ช่วยเพิ่มการไหลเวียนของเลือด

- ลดอาการเกร็งของกล้ามเนื้อ ช่วยให้เนื้อเยื่อ พังผืดยืดตัวออก
- ลดไขมันหน้าท้อง หน้าท้องยุบ

- ทำให้มดลูกเข้าอู่เร็ว

- ทำให้น้ำคาวปลาไหลเวียนสะดวก
4.ทำเป็นธุรกิจได้แบบไหนบ้าง

- ร้านสปา

- ร้านนวด

บทที่ 5

สรุป อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ
สรุปผลโครงการ

สรุปผลการทดลองการผลิตลูกประคบสมุนไพร ดังนี้

การดำเนินงานโครงการนี้บรรลุจุกประสงค์ที่กำหนดไว้คือ เพอศึกษาสมุนไพรในท้องถิ่นมาเป็นลูก
ื่
ประคบเพอสุขภาพเป็นการศึกษาเกี่ยวกับสมุนไพรลูกประคบ และสร้างความสนใจช่วยพฒนาหาความรู้ของ

ื่
ื่
ผู้สนใจมีความเข้าใจ เห็นความสำคัญของสมุนไพรเพอสุขภาพที่นำสมุนไพรในท้องถิ่นมาใช้ กรณีศึกษา
สมุนไพรในท้องถิ่นเป็นสื่อที่มีประโยชน์ และประสิทธิภาพสมุนไพร

อภิปรายผล
การศึกษาและพฒนาสมุนไพรลูกประคบเป็นการใช้สมุนไพรในท้องถิ่นมาใช้ และสมุนไพรที่ได้รับการ

ตรวจมีคุณลักษณะดีไม่พบสารเคมีในสมุนไพร ลูกประคบที่ดีต้องอยู่ได้ถึง 12 สัปดาห์และชิ้นส่วนภายในไม่

หลุดร่วงออกมา มีขนาดพอเหมาะเป็นความต้องการของผู้ใช้
ข้อเสนอแนะ

1.ควรเพิ่มสมุนไพรเพื่อให้ลูกประคบมีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น หรือมีการดัดแปลงกลิ่นจากเดิม เช่น กลิ่น

จากดอกไม้ กลิ่นจากผลไม้ เพื่อดึงดูดความสนใจ
2.ดัดแปลงจากผ้าขาว เป็นผ้าที่มีลวดลายสีสันสวยงามเพื่อดึงดูดความสนใจ และเป็นความแปลกใหม่

ของลูกประคบ

บรรณานุกรม
ศึกษาเนื้อหาและรายละเอียดในการทำโครงงาน

- ปราชญ์ชาวบ้าน บ้านคลองหกวา นางเวียง โกชา
- www.yesspathailand.com www.tungsong.com

กระทู้ที่เกี่ยวข้อง

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

แปลภาษาไทย ไทยแปลอังกฤษ โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน lmyour แปลภาษา ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv แปลภาษาอาหรับ-ไทย แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip แอพแปลภาษาอาหรับเป็นไทย ค้นหา ประวัติ นามสกุล ห่อหมกฮวกไปฝากป้า หนังเต็มเรื่อง ไทยแปลอังกฤษ ประโยค Terjemahan เมอร์ซี่ อาร์สยาม ล่าสุด แปลภาษาจีน กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น ่้แปลภาษา Google Translate ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย พร บ ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 วิธีใช้มิเตอร์วัดไฟดิจิตอล สหกรณ์ออมทรัพย์กรมส่งเสริมการปกครอง ส่วนท้องถิ่น ห่อหมกฮวก แปลว่า Bahasa Thailand Thailand translate mu-x มือสอง รถบ้าน การวัดกระแสไฟฟ้า ด้วย แอมมิเตอร์ การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 4 ก่อนจะนิ่งก็ต้องกลิ้งมาก่อน เนื้อเพลง ก่อนจะนิ่งก็ต้องกลิ้งมาก่อน แคปชั่น พจนานุกรมศัพท์ทหาร ภูมิอากาศ มีอะไรบ้าง สถาบันพัฒนาบุคลากรท้องถิ่น อาจารย์ ตจต อเวนเจอร์ส ทั้งหมด เขียน อาหรับ แปลไทย ใบรับรอง กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน Google map Spirited Away 2 spirited away ดูได้ที่ไหน tor คือ จัดซื้อจัดจ้าง กินยาคุมกี่วัน ถึง ปล่อยในได้ ธาตุทองซาวด์เนื้อเพลง บช.สอท.ตำรวจไซเบอร์ ล่าสุด บบบย มิติวิญญาณมหัศจรรย์ ตอนจบ รหัสจังหวัด อําเภอ ตําบล ศัพท์ทางทหาร military words สอบ O หยน