ให้สามีไปเบิกประกันสังคม แทน

พูดกันตามหลักวิทยาศาสตร์แล้วคนเรามีโอกาสตั้งครรภ์แฝดได้บ่อยกว่าที่เราคิดกันอีกนะคะ เพราะการตั้งครรภ์ครั้งเดียวแต่มีตัวอ่อนฝังตัวมากกว่าหนึ่งเป็นเรื่องธรรมดา แต่ธรรมชาติจะคัดสรรให้มีเพียงหนึ่งเดียวเท่านั้นที่มีชีวิตรอดต่อไปค่ะ

Show

“รู้ไว้เพื่อใช้สิทธิ์" เบิกค่าคลอดบุตร สิทธิประกันสังคม

สำหรับคุณแม่ที่คลอดบุตรแล้ว อย่าลืม . . ใช้สิทธิประกันสังคม

เพียงคุณพ่อ หรือคุณแม่ เป็น “ผู้ประกันตน” ที่ส่งเงินประกันสังคม อย่างน้อย 7 เดือนติดต่อกัน ก่อนกำหนดคลอด 15 เดือน ก็มีสิทธิ์เบิกค่าคลอดได้13,000 บาท / ครั้ง โดยไม่จำกัดจำนวนครั้ง

ให้สามีไปเบิกประกันสังคม แทน

        แบบนี้เบิกได้ไหม?

  • เป็นแม่บ้านไม่ได้ส่งเงินเข้ากองทุน “ประกันสังคม” แต่สามี ส่งเงินเข้ากองทุนฯ มีสิทธิ์เบิกหรือไม่

คำตอบ : เบิกได้ . . โดยใช้สิทธิ์ของฝ่ายสามีในการเบิกเงินจากประกันสังคม ทั้งนี้สามีต้องเคยส่งเงินเข้าประกันสังคมตามเงื่อนไข

  • สามีและภรรยาต่างก็ส่งเงินเข้าประกันสังคมทั้งคู่ สามารถเบิกค่าคลอดบุตร โดยใช้สิทธิประกันสังคม คู่เลยได้ไหม?

คำตอบ : ไม่ได้ . . สามารถเลือกใช้สิทธิ์เบิกได้แค่ 1 สิทธิ์จากสามีหรือภรรยาเท่านั้น

สำหรับคุณพ่อ คุณแม่ที่เป็นผู้ประกันตน สามารถยื่นเรื่องขอรับเงินค่าคลอดบุตร ได้ที่สำนักงานประกันสังคมทั่วประเทศ ตามสาขาที่สะดวกหรือใกล้บ้าน (ยกเว้นสำนักงานใหญ่กระทรวงสาธารณสุข) ติดต่อได้ในวันและเวลาราชการ หากไม่สะดวกเข้ามาดำเนินเรื่องเอง ก็ให้ผู้อื่นยื่นเรื่องแทนได้ แต่จะต้องมีหนังสือมอบอำนาจ และเอกสารต่างๆ มาแสดงด้วย หรือจะยื่นเอกสารผ่านทางไปรษณีย์ได้เช่นกัน


ให้สามีไปเบิกประกันสังคม แทน

การเบิกค่าคลอดประกันสังคมจะต้องจัดเตรียมเอกสารเบิกค่าคลอดบุตร ประกันสังคม ดังนี้

  1. เอกสารแบบคำขอรับประโยชน์ทดแทน สปส. 2-01 โดยต้องกรอกให้ครบถ้วน แล้วเซ็นต์เอกสาร
  2. สำเนาสูติบัตรบุตร 1 ชุด (ถ้าคลอดบุตรแฝดให้แนบสำเนาสูติบัตรของคู่แฝดด้วย)
  3. สำเนาหน้าแรกสมุดบัญชีธนาคาร (ออมทรัพย์) ให้เห็นชื่อ เลขที่บัญชีชัดเจน โดยมี 11 ธนาคารที่สามารถทำรายการได้คือ กรุงเทพ, กสิกร, ไทยพาณิชย์, กรุงไทย, กรุงศรีฯ, ธนชาต, ธ.อิสลามฯ, CIMB, ออมสิน และ ธ.ก.ส.
  4. เนื่องจากคุณพ่อหรือคุณแม่จะเป็นผู้มาเบิกก็ได้ ดังนั้นหากคุณพ่อเป็นคนเบิก ให้แนบสำเนาทะเบียนสมรสมาด้วย แต่ถ้าไม่ได้จดทะเบียนก็แนบหนังสือรับรองของผู้ประกันตนกรณีไม่มีทะเบียนสมรส มาแทน

หากท่านใดมีข้อสงสัย หรืออยากปรึกษาเกี่ยวกับการเบิกค่าคลอดสิทธิประกันสังคมเพิ่มเติม

หรือสนใจ . . แพ็กเกจคลอดเหมาจ่าย สำหรับผู้ประกันตนที่มีประกันสังคมกับโรงพยาบาลบางปะกอก 3 และสามารถไปใช้บริการได้ที่โรงพยาบาลบางปะกอกสมุทรปราการได้

สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่  แผนกสูตินรีเวชกรรม โทร. 0-2109-3111 ต่อ 1124 / 1125 เปิดทำการทุกวัน เวลา 08.00 – 19.00 น.

           สามีภรรยาอยู่กินกันโดยเปิดเผย แต่ไม่ได้จดทะเบียนสมรสกัน และภรรยาก็ไม่ได้เป็นผู้ประกันตนด้วย แบบนี้ฝ่ายชายจะสามารถเบิกค่าคลอดบุตรแทนได้หรือไม่ คำตอบคือ สามารถเบิกได้ โดยให้ยื่นคำขอโดยใช้หนังสือรับรองของผู้ประกันตนกรณีไม่มีทะเบียนสมรสแทน

ทดแทนสำหรับผู้ที่มีรายได้ประจำ’ กันอยู่แล้ว ดังนั้นเมื่อคุณแม่ตั้งครรภ์ ก็อย่าลืมใช้สิทธิในการ เบิกค่าคลอดบุตร รวมถึงเบิกเงินส่วนอื่นๆ ที่คนท้องและคนเป็นพ่อแม่พึงได้รับกันนะคะ โดยในบทความนี้ Mama’s Choice สรุปรายละเอียดทั้งหมดมาให้แล้วค่ะ รับรองว่าเบิกง่าย ไม่ยาก!

 

เบิกค่าคลอดบุตร ได้กี่บาท?

เหมาจ่าย 15,000 บาท ต่อครั้ง ไม่จำกัดจำนวนครั้ง (ถ้าตั้งครรภ์ลูกแฝด ก็นับเป็น 1 ครั้งนะคะ) โดยคุณแม่ต้องสำรองจ่ายไปก่อน แล้วค่อยเตรียมเอกสารไปยื่นสำนักงานประกันสังคมเพื่อเบิกคืนทีหลังค่ะ

 

คุณแม่ต้องเป็นผู้ประกันตน ม. อะไร ถึง เบิกค่าคลอดบุตร ได้?

  • ม.33 หรือ มาตรา 33 คือ พนักงานบริษัทเอกชนทั่วไป ที่บริษัทหัก 5% ส่งประกันสังคมให้ทุกเดือนโดยอัตโนมัติ
  • ม.39 หรือ มาตรา 39 คือ คนที่ลาออกจากบริษัทเอกชนยังไม่เกิน 6 เดือน และต้องเคยส่งประกันสังคมมาไม่ต่ำกว่า 12 เดือน
  • ทั้งนี้ ไม่ว่าจะ ม. 33 หรือ ม.39 ก็ต้องเคยส่งประกันสังคมมาแล้วไม่ต่ำกว่า 5 เดือน ภายใน 15 เดือนก่อนใช้สิทธิ โดย 5 เดือนที่ส่งนั้นไม่จำเป็นต้องติดต่อกันก็ได้ค่ะ

 

คุณแม่ไม่ใช่ผู้ประกันตน ม. อะไรเลย ให้คุณพ่อ เบิกค่าคลอดบุตร แทนได้ไหม?

ได้ค่ะ

 

คุณแม่และคุณพ่อเป็นผู้ประกันตนทั้งคู่ ต้องใช้สิทธิของใคร?

ของใครก็ได้ เลือกแค่คนใดคนหนึ่งนะคะ

 

จำเป็นต้องคลอดที่โรงพยาบาลตามสิทธิประกันสังคมไหม?

ไม่จำเป็นค่ะ คุณแม่สามารถคลอดที่โรงพยาบาลใดก็ได้ที่สะดวก จะเป็นโรงพยาบาลรัฐหรือเอกชนก็ได้ค่ะ

 

ให้สามีไปเบิกประกันสังคม แทน

 

เบิกค่าคลอดบุตร ต้องใช้เอกสารอะไรบ้าง?

  1. สปส. 2-01 แบบคำขอรับประโยชน์ทดแทน โดยคุณพ่อหรือคุณแม่ผู้ประกันตนจะต้องกรอกข้อมูลให้ครบถ้วน พร้อมลงลายมือชื่อผู้ยื่นคำขอ
  2. บัตรประชาชนตัวจริง 
  3. เตรียมสำเนาสูติบัตรบุตร 1 ชุด
  4. ในกรณีคลอดบุตรแฝด ให้คุณแม่แนบสำเนาสูติบัตรของคู่แฝดไปด้วย 
  5. หากใช้สิทธิคุณพ่อจะต้องแนบสำเนาทะเบียนสมรสไปด้วย 
  6. ในกรณีที่คุณพ่อคุณแม่ไม่ได้จดทะเบียนสมรส ให้แนบหนังสือรับรองของผู้ประกันตนกรณีไม่มีทะเบียนสมรสไปด้วย
  7. สำเนาหน้าแรกของสมุดบัญชีเงินฝากธนาคารประเภทออมทรัพย์ ซึ่งมีชื่อและเลขที่บัญชีของผู้ยื่นคำขอ โดยมีธนาคารต่างๆ ที่เข้าร่วม ได้แก่ ธนาคารกรุงไทย ธนาคารกรุงศรีอยุธยา ธนาคารกรุงเทพ ธนาคารกสิกรไทย ธนาคารไทยพาณิชย์ ธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย ธนาคารซีไอเอ็มบีไทย และธนาคารทหารไทยธนชาต (เป็นการรวมตัวกันของธนาคารทหารไทยและธนาคารธนชาต)

 

เตรียมเอกสารพร้อมแล้ว ต้องทำอย่างไรต่อ?

  • ไปยื่นเอกสารเพื่อขอรับสิทธิประโยชน์เบิกเงินค่าคลอดบุตรได้ที่สำนักงานประกันสังคมทั่วประเทศ
    • สำนักงานประกันสังคมกรุงเทพมหานครพื้นที่ทั้ง 12 แห่ง
    • สำนักงานประกันสังคมจังหวัดและสาขาที่คุณแม่สะดวก
    • ยกเว้น สำนักงานใหญ่ที่ตั้งอยู่ภายในบริเวณกระทรวงสาธารณสุข
  • ยื่นเอกสารได้ทุกวันจันทร์ ถึง วันศุกร์ ตั้งแต่เวลา 8:30 – 16:30 น. (วัน-เวลา ราชการ)
  • ไปยื่นคำขอรับสิทธิประโยชน์เองหรือให้ผู้อื่นไปยื่นเรื่องแทนก็ได้ แต่ต้องแน่ใจว่าเอกสารที่ฝากผู้อื่นไปยื่นนั้นมีความถูกต้องครบถ้วนตามที่สำนักงานประกันสังคมร้องขอ และอย่าลืมเซ็นรับรองสำเนาถูกต้องในเอกสารทุกฉบับให้ชัดเจนด้วยนะคะ
  • นอกจากนี้ คุณพ่อคุณแม่ยังสามารถยื่นเอกสารขอรับสิทธิประโยชน์ผ่านทางไปรษณีย์ได้ด้วยเช่นกัน โดยจะต้องจ่าหน้าซองถึงผู้รับว่า ฝ่ายสิทธิประโยชน์ และส่งเอกสารไปตามที่อยู่ของสำนักงานประกันสังคมใกล้บ้าน

ให้สามีไปเบิกประกันสังคม แทน

 

สำนักงานประกันสังคมจะพิจารณาสั่งจ่ายเงินอย่างไร? 

สำนักงานประกันสังคมจะพิจารณาสั่งจ่ายเป็น 3 ช่องทาง ได้แก่

  1. เงินสดหรือเช็ค (ผู้ประกันตนจะมารับเองหรือมอบอำนาจให้ผู้อื่นมารับแทนก็ได้) 
  2. ส่งธนาณัติให้กับผู้ประกันตน
  3. โอนผ่านเข้าบัญชีของผู้ประกันตนตามที่แจ้งไว้

คุณพ่อคุณแม่จะได้รับเงินภายใน 5 – 7 วันทำการ หลังจากที่ได้รับการอนุมัติการสั่งจ่าย ซึ่งหากคุณพ่อคุณแม่ไม่เห็นด้วยกับการสั่งจ่ายประโยชน์ทดแทน สามารถยื่นอุทธรณ์ได้ภายใน 30 วัน นับแต่วันที่ได้รับแจ้งคำสั่ง

 

คนท้อง เบิกประกันสังคม อะไรได้อีกบ้าง?

ให้สามีไปเบิกประกันสังคม แทน

 

ค่าตรวจและฝากครรภ์ 

คุณแม่ที่เป็นผู้ประกันตนตาม ม.33 และ ม.39 สามารถเบิกเงินค่าตรวจและฝากครรภ์ได้สูงสุด 1,500 บาท (จากเดิม 1,000 บาท) โดยจะแบ่งจ่ายเป็นทั้งหมด 5 ครั้ง มีรายละเอียดดังนี้

  • คุณแม่ที่มีอายุครรภ์ไม่เกิน 12 สัปดาห์ เบิกได้ในอัตราเท่าที่จ่ายตามจริงไม่เกิน 500 บาท
  • คุณแม่ที่มีอายุครรภ์มากกว่า 12 สัปดาห์ แต่ไม่เกิน 20 สัปดาห์ เบิกได้ในอัตราเท่าที่จ่ายตามจริงไม่เกิน 300 บาท
  • คุณแม่ที่มีอายุครรภ์มากกว่า 20 สัปดาห์ แต่ไม่เกิน 28 สัปดาห์ เบิกได้ในอัตราเท่าที่จ่ายตามจริงไม่เกิน 300 บาท
  • คุณแม่ที่มีอายุครรภ์มากกว่า 28 สัปดาห์ แต่ไม่เกิน 32 สัปดาห์ เบิกได้ในอัตราเท่าที่จ่ายตามจริงไม่เกิน 200 บาท
  • คุณแม่ที่มีอายุครรภ์มากกว่า 32 สัปดาห์ ถึง 40 สัปดาห์ขึ้นไป เบิกได้ในอัตราเท่าที่จ่ายตามจริงไม่เกิน 200 บาท

 

เงินสงเคราะห์การหยุดงานจากการลาคลอดบุตร

  • คุณแม่ (ผู้ประกันตนฝ่ายหญิง) สามารถเบิกเงินสงเคราะห์การหยุดงานจากการลาคลอดบุตรได้ 50% ของเงินเดือนเฉลี่ยสูงสุดไม่เกิน 15,000 บาท
  • โดยเบิกได้เป็นระยะเวลา 90 วัน และเบิกได้ไม่เกิน 2 ครั้ง แต่หากคุณแม่มีบุตรคนที่ 3 จะไม่สามารถเบิกเงินตรงส่วนนี้ได้แล้ว
  • ถ้าคุณแม่กลับไปทำงานก่อนครบกำหนดระยะเวลา 90 วัน สำนักงานประกันสังคมก็จะยังคงจ่ายให้เต็ม 90 วัน
  • เช่น ถ้าคุณแม่มีเงินเดือน 15,000 บาท ก็จะได้รับเงินสงเคราะห์เดือนละ 7,500 บาท รวมแล้วเป็น 22,500 บาท

 

เงินทดแทนในกรณีแท้งบุตร 

แม้ว่าจะเป็นเหตุการณ์ที่เราไม่อยากให้เกิดขึ้นกับคุณแม่ท่านไหนก็ตาม แต่หากเกิดเหตุการณ์ที่ไม่คาดฝันขึ้นจริงๆ เราอยากให้ข้อมูลในส่วนตรงนี้เป็นประโยชน์กับคุณแม่ โดยคุณแม่สามารถขอรับเงินทดแทนได้เท่ากับการเบิกเงินค่าคลอดบุตร และจะได้รับเงินชดเชยการหยุดงานด้วยเช่นกัน มีเงื่อนไขดังนี้

  • เป็นผู้ประกันตนตามมาตรา 33 และ มาตรา 39 เท่านั้น
  • ภายใน 15 เดือน ก่อนเดือนที่มีการแท้งบุตร คุณพ่อคุณแม่จะต้องจ่ายเงินสมทบมาแล้วไม่น้อยกว่า 5 เดือน 
  • คุณแม่ต้องมีอายุครรภ์ขณะแท้งบุตรไม่ต่ำกว่า 28 สัปดาห์ หรือ 7 เดือน

 

เงินสงเคราะห์บุตร

คุณพ่อคุณแม่จะมีสิทธิได้รับเงินสงเคราะห์บุตรเพิ่มเติมอีกเดือนละ 800 บาท ต่อบุตร 1 คน (จากเดิม 600 บาท) โดยมีเงื่อนไข ดังนี้ 

  • เป็นผู้ประกันตนตาม ม.33, ม.39 และ ม.40
  • ภายในระยะเวลา 36 เดือนก่อนรับสิทธิ คุณพ่อหรือคุณแม่จะต้องจ่ายเงินสมทบมาไม่น้อยกว่า 12 เดือน 
  • ต้องเป็นบุตรชอบด้วยกฎหมาย ไม่รวมบุตรบุญธรรมหรือบุตรที่ยกให้เป็นบุตรบุคคลอื่น
  • สำนักงานประกันสังคมจะจ่ายเงินสงเคราะห์บุตรให้กับบุตรที่มีอายุตั้งแต่แรกเกิดจนถึง 6 ปีบริบูรณ์ คราวละไม่เกิน 3 คน

ให้สามีไปเบิกประกันสังคม แทน

และทั้งหมดนี้ก็คือข้อมูลการเบิกเงินที่เกี่ยวข้องกับการตั้งครรภ์จากกองทุนประกันสังคมที่ Mama’s Choice ได้นำมาฝากให้กับคุณแม่เก็บไว้เป็นข้อมูลและเตรียมความพร้อมสำหรับการมาถึงลูกน้อย แม้ว่าเงินตรงส่วนนี้จะไม่ใช่เงินถุงเงินถัง แต่ก็สามารถช่วยแบ่งเบาภาระของคุณพ่อคุณแม่ไปได้เปลาะหนึ่ง เพราะการเลี้ยงดูเด็กคนหนึ่งให้เติบโตมาแข็งแรงสมวัยไม่ใช่เรื่องที่ง่าย และเงินก็ถือเป็นปัจจัยสำคัญที่จำเป็นต้องใช้ในการเลี้ยงดู ดังนั้นอย่าปล่อยให้เสียสิทธิที่เราควรจะได้รับไปนะคะ 

ให้คนอื่นไป เบิก ประกันสังคม แทนได้ไหม

สามารถยื่นเรื่องขอรับเงินได้ที่สำนักงานประกันสังคมทั่วประเทศ ตามสาขาที่สะดวกหรือใกล้บ้านในเวลาราชการได้เลยครับ (ยกเว้นสำนักงานใหญ่กระทรวงสาธารณสุข) หรือหากไม่สะดวกมาด้วยตนเอง สามารถใช้หนังสือมอบอำนาจ เพื่อให้บุคคลอื่นดำเนินการแทนได้

ยื่นประกันสังคมคลอดบุตรแทนได้ไหม

ไปยื่นคำขอรับสิทธิประโยชน์เองหรือให้ผู้อื่นไปยื่นเรื่องแทนก็ได้ แต่ต้องแน่ใจว่าเอกสารที่ฝากผู้อื่นไปยื่นนั้นมีความถูกต้องครบถ้วนตามที่สำนักงานประกันสังคมร้องขอ และอย่าลืมเซ็นรับรองสำเนาถูกต้องในเอกสารทุกฉบับให้ชัดเจนด้วยนะคะ

เบิกค่าคลอดประกันสังคมของสามีใช้เอกสารอะไรบ้าง

เอกสารที่ต้องใช้สำหรับขอเบิกเงินค่าคลอดบุตร ใบเสร็จค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการคลอดบุตร สำหรับกรณีที่ผู้ชายเป็นคนขอใช้สิทธิ ต้องใช้ สำเนาทะเบียนสมรส หรือจะเป็นหนังสือรับรองของผู้ประกันตนกรณีไม่มีทะเบียนสมรสก็ได้ค่ะ

ค่าคลอดสามีเบิกได้ไหม

กรณีลาคลอด สิทธิการลาคลอดใช้ได้เฉพาะฝ่ายหญิงเท่านั้น ฝ่ายชายไม่สามารถเบิกใช้ได้ จ่ายให้ไม่เกินฐานเงินเดือน 15,000 บาท หากเงินเดือนมากกว่าจะคิดแค่ 15,000 บาท มีสิทธิได้รับเงินลาคลอดไม่จำกัดจำนวนครั้ง