อาคารผู้โดยสารขาออกในประเทศ สุวรรณภูมิ

รู้ไว้ไม่งง! ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ปรับเปลี่ยนจุดตรวจผู้โดยสารภายในประเทศแล้ว

อาคารผู้โดยสารขาออกในประเทศ สุวรรณภูมิ

Muzika

21 พฤศจิกายน 2562 ( 15:00 )

37.8K

2

     ตั้งแต่วันที่ 19 พฤศจิกายน 2562 เป็นต้นไป ใครที่จะต้องเดินทางผ่านสนามบินสุวรรณภูมิ ต้องรู้ครับว่าตอนนี้เขาย้ายจุดตรวจค้นผู้โดยสารขาออกภายในประเทศ ไปที่ชั้น 2 และชั้น 3 ของอาคารเทียบเครื่องบิน A และ B แล้ว เพื่อแก้ไขความแออัด และเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการผู้โดยสาร ดังต่อไปนี้

อาคารผู้โดยสารขาออกในประเทศ สุวรรณภูมิ

สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม โทร AOT Contact Center 1722

===============

Tag

#ขนส่งมวลชน#ท่าอากาศยาน#สนามบิน#สุวรรณภูมิ

อาคารผู้โดยสารใหม่ SAT-1 สนามบินสุวรรณภูมิ เปิดใช้ 2565

อาคารเทียบเครื่องบินรองหลังที่ 1 SAT-1

อาคารผู้โดยสารขาออกในประเทศ สุวรรณภูมิ

บริษัทท่าอากาศยานไทย หรือ AOT เตรียมเปิด อาคารเทียบเครื่องบินรองหลังที่ 1 (SAT-1) ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ในปี 2565 ที่จะถึงนี้

อาคารเทียบเครื่องบินรองหลังที่ 1 (SAT-1) เป็นหนึ่งในโครงการพัฒนาท่าอากาศยานสุวรรณภูมิเฟส2 ปีงบประมาณ 2554-2560 วงเงินลงทุนกว่า 39,760 ล้านบาท โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการรองรับผู้โดยสาร จากเดิม 45 ล้านคนต่อปี เป็น 60 ล้านคนต่อปี อีกทั้งยังบรรเทาความแออัดของผู้โดยสารและเที่ยวบินที่เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องทุกปี

ในส่วนของการก่อสร้าง ขณะนี้โครงสร้างอาคารสร้างเสร็จแล้ว 100%  และกำลังติดตั้งระบบขนส่งผู้โดยสาร (APM) ซึ่งคืบหน้าไปแล้ว 84.69% ในส่วนของตกแต่งภายใน กำลังดำเนินการตามส่วนต่างๆ

สำหรับกลุ่มงานการพัฒนาสามารถแบ่งออกเป็น 2 ส่วนได้แก่

  1. งานออกแบบและก่อสร้างงานอาคารเทียบเครื่องบินรองหลังที่ 1 และลานจอดประชิดอาคาร
  2. งานออกแบบและก่อสร้างส่วนต่อเชื่อมอุโมงค์ด้านทิศใต้และระบบขนส่งผู้โดยสาร (APM)

รายละเอียดจะเป็นยังไง สามารถติดตามได้ที่บทความข้างล่างได้เลยค่ะ

อาคารผู้โดยสารขาออกในประเทศ สุวรรณภูมิ

  • PROJECT DETAIL
  • LOCATION

อาคารผู้โดยสารขาออกในประเทศ สุวรรณภูมิ

อาคารผู้โดยสารขาออกในประเทศ สุวรรณภูมิ

สำหรับ อาคารเทียบเครื่องบินรองหลังที่ 1 ตั้งอยู่ในบริเวณสนามบินสุวรรณภูมิ โดยมีลักษณะเป็นอาคาร 4 ชั้น มีพื้นที่ประมาณ 216,000 ตร.ม. มีจำนวนประตูทางออกที่เชื่อมต่อกับหลุมจอดประชิดอาคาร 28 หลุมจอด สามารถจอดอากาศยานขนาด CODE F เช่น A380 ได้ 8 หลุมจอด และอากาศยานขนาด  CODE E เช่น Boeing 747 ได้ 20 หลุมจอด

สำหรับตัวโครงการได้เริ่มก่อสร้างเมื่อปี 2559 ด้วยงบประมาณกว่า 39,760 ลบ. โดยกำหนดระยะเวลาก่อสร้างอยู่ที่ 67 เดือน คาดว่าจะเสร็จในปี 2565 สำหรับวัตถุประสงค์หลักในการพัฒนาคือ

  1. เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการรองรับผู้โดยสาร จากเดิม 45 ล้านคนต่อปีเป็น 60 ล้านคนต่อปี
  2. เพื่อบรรเทาความแออัดของผู้โดยสารและเที่ยวบินที่เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องทุกปี

ที่มา : AOT

อาคารผู้โดยสารขาออกในประเทศ สุวรรณภูมิ

DESIGN CONCEPT

  • ฝ้า
  • เสา
  • ผนัง

รูปแบบ Concept ของตัวอาคารจะเน้นดีไซน์ที่เข้ากับตัวอาคารเดิม โดยที่เพิ่มความเป็นไทยเข้าไป ซึ่งแบ่งออกดังนี้

  1. ฝ้า – จะใช้ลายจักสานและลายผ้าไหมบริเวณฝ้าของตัวอาคาร โดยจะใช้ Pattern และ ลายเส้น
  2. เสา – สำหรับจะใช้รูปแบบของตัวค้ำยันและใช้รูปทรงของพญานาค
  3. ผนัง – จะใช้เป็นตัว Pattern ของลายกระเบื้องศิลาดล

SUSTAINABLE DESIGN

นอกจากนี้แล้ว ทางโครงการยังชูในเรื่องของ Sustainable Designไว้ดังต่อไปนี้

  1. อาคารประหยัดพลังงาน
  2. ใช้แสงธรรมชาติลดการเปิดไฟ
  3. ติดอุปกรณ์กันความร้อน

  • 4. นำน้ำเสียกลับมาใช้ 
  • 5. ใช้ Solar Cell ช่วยลดการใช้พลังงาน 
  • 6. ลดการสร้างมลพิษสู่ภายนอก

  • 1
  • 2

อาคารผู้โดยสารขาออกในประเทศ สุวรรณภูมิ

อาคารผู้โดยสารขาออกในประเทศ สุวรรณภูมิ

ที่มา : AOT

ผังอาคาร

อาคารเทียบเครื่องบินรองมีลักษณะเป็นอาคาร 4 ชั้น พื้นที่ทั้งหมดประมาณ 216,000 ตารางเมตร โดยแบ่งชั้นดังนี้

  • ชั้น B2 : สถานีขนส่งผู้โดยสาร (APM Station) 
  • ชั้น B1 : ชั้นลำเลียงกระเป๋าและสัมภาระ (Baggage Handling) 
  • ชั้น GF : ชั้นลานจอดเครื่องบิน (Apron Level)  โดยชั้นนี้เป็นชั้นที่มีรถบัสรับ-ส่ง, มีโถงพักคอย และ Office ของเจ้าหน้าที่

  • ชั้น 2 : ชั้นผู้โดยสารขาเข้า (Arrival Level) 
  • ชั้น 3 : ชั้นผู้โดยสารขาออก (Departure Level) 
  • ชั้น 4 : ชั้นบริการผู้โดยสารพิเศษ (VIP Lounges Level)

ชั้น B2

  • B2
  • B2 Zoom

อาคารผู้โดยสารขาออกในประเทศ สุวรรณภูมิ

อาคารผู้โดยสารขาออกในประเทศ สุวรรณภูมิ

ชั้น B1

  • B1
  • B1 Zoom

อาคารผู้โดยสารขาออกในประเทศ สุวรรณภูมิ

อาคารผู้โดยสารขาออกในประเทศ สุวรรณภูมิ

   

ชั้น GF

  • GF
  • GF Zoom1
  • GF Zoom2
  • GF Zoom3

ชั้น 2

  • Fl.2
  • Fl.2 Zoom1
  • Fl.2 Zoom2
  • Fl.2 Zoom3

ชั้น 3

  • Fl.3
  • Fl.3 Zoom1
  • Fl.3 Zoom2

ชั้น 4

  • Fl.4
  • Fl.4 Zoom

อาคารผู้โดยสารขาออกในประเทศ สุวรรณภูมิ

อาคารผู้โดยสารขาออกในประเทศ สุวรรณภูมิ

1.4 สิ่งอำนวยความสะดวก

สำหรับสิ่งอำนวยความสะดวกภายในอาคารสามารถแบ่งออกตามหมวดหมู่ดังต่อไปนี้

  • 1. ส่วนที่นั่งพักคอย : Open Gate ออกแบบได้ตามมาตรฐานสากล  ส่วนเข้าแถวรอกว้างและ สะดวกสบาย 
  • 2. ห้องน้ำผู้โดยสาร : จัดสรรให้เพียงพอตามมาตรฐานสากล รองรับผู้โดยสารที่มาใช้พร้อมๆกัน จำนวนมากและอยู่ในตำแหน่งที่เหมาะสม 

  • 3. โถงพักคอยผู้โดยสารรถบัส : ออกแบบเผื่อการขยายในอนาคต จอดเทียบรถรับส่งได้สะดวก อีกทั้งสร้างบรรยากาศให้มีบรรยากาศดี มองเห็นวิว และสวนภายใน  
  • 4. พื้นที่ร้านค้าและสันทนาการ : ร้านค้าอยู่ในตำแหน่งที่เห็นได้ชัด ผู้โดยสารเดินผ่านตลอดเวลา มีผู้เชี่ยวชาญในทีมให้คำปรึกษา  
  • 5. พื้นที่บริการผู้โดยสารพิเศษ / SKY LOUNGE : มองเห็นได้ชัด ขึ้นมาใช้ได้สะดวก มีที่นั่งพักผ่อนที่เป็นส่วนตัวและสามารถชมวิวสนามบินได้  

ที่พักคอย

  • Perspective
  • Plan

อาคารผู้โดยสารขาออกในประเทศ สุวรรณภูมิ

อาคารผู้โดยสารขาออกในประเทศ สุวรรณภูมิ

ห้องน้ำผู้โดยสาร

  • Image
  • Plan

อาคารผู้โดยสารขาออกในประเทศ สุวรรณภูมิ

อาคารผู้โดยสารขาออกในประเทศ สุวรรณภูมิ

โถงผู้โดยสารรถบัส

  • Plan

อาคารผู้โดยสารขาออกในประเทศ สุวรรณภูมิ

พื้นที่ร้านค้าและสันทนาการ

  • Perspective
  • Plan

อาคารผู้โดยสารขาออกในประเทศ สุวรรณภูมิ

อาคารผู้โดยสารขาออกในประเทศ สุวรรณภูมิ

SKY LOUNGE

  • Perspective
  • Plan

อาคารผู้โดยสารขาออกในประเทศ สุวรรณภูมิ

อาคารผู้โดยสารขาออกในประเทศ สุวรรณภูมิ

1.5 เส้นทางสัญจรของผู้โดยสาร

ขาเข้าและขาออก

  • ขาออก
  • ขาเข้า

อาคารผู้โดยสารขาออกในประเทศ สุวรรณภูมิ

อาคารผู้โดยสารขาออกในประเทศ สุวรรณภูมิ

เส้นทางสัญจรผู้โดยสารขาออก  1. จากสถานีรถ APM

2. ขึ้นบันไดเลื่อน

3. มายังพื้นที่โถงผู้โดยสารขาออก

4. เดินตามทางเดิน / ทางเลื่อน

5. ไปยังที่พักคอยผู้โดยสาร / โถงพักคอย ผู้โดยสารรถบัส

เส้นทางสัญจรผู้โดยสารขาเข้า  1. จากสะพานเทียบเครื่องบิน / โถงรับ  ผู้โดยสารรถบัสขาเข้า

2. เดินตามทางเดิน / ทางเลื่อน

3. มายังพื้นที่โถงผู้โดยสารขาเข้า

4. ลงบันไดเลื่อน / ไปยังจุดผู้โดยสาร เปลี่ยนเครื่อง

5. ขึ้นรถ APM เพื่อไปยัง อาคาร ผู้โดยสารหลัก

เปลี่ยนเครื่อง

  • Transit
  • Transit Zoom

อาคารผู้โดยสารขาออกในประเทศ สุวรรณภูมิ

อาคารผู้โดยสารขาออกในประเทศ สุวรรณภูมิ

เส้นทางสัญจรผู้โดยสารเปลี่ยนเครื่อง  1. จากสะพานเทียบเครื่องบิน

2. เดินตามทางเดิน / ทางเลื่อน

3. มายังพื้นที่โถงผู้โดยสารขาออก

4. เข้ามายังพื้นตรวจค้น / ติดต่อที่เคาท์ เตอร์สายการบิน

5. ขึ้นบันไดเลื่อนมายังชั้นผู้โดยสารขาออก

6. ไปยังที่พักคอยผู้โดยสารขาออกเพื่อทำการขึ้นเครื่องบินต่อไป

อาคารผู้โดยสารขาออกในประเทศ สุวรรณภูมิ

อาคารผู้โดยสารขาออกในประเทศ สุวรรณภูมิ

ระบบขนส่งผู้โดยสาร หรือ ​Automated People Mover (APM) เป็นรถไฟฟ้าไร้คนขับแห่งแรกของไทย ที่สามารถรองรับผู้โดยสารได้ประมาณ 210 คนต่อขบวน ซึ่งจะสามารถขนส่งผู้โดยสารได้มากถึง 3,590  คนต่อชั่วโมงต่อเที่ยว โดยจุดประสงค์หลักของ APM คือเชื่อมต่ออาคารผู้โดยสารและอาคารเทียบเครื่องบินรองหลังที่ 1 เพื่อให้ผู้โดยสารเดินทางได้อย่างสะดวกรวดเร็ว อีกทั้งยังไม่กีดขวางกิจกรรมบนทางขับและลานจอดอากาศยาน

ในส่วนของการก่อสร้าง เดิมมีการก่อสร้างอุโมงค์ไว้แล้ว 812 ม. และมีการสร้างต่อเติมอีก 700 ม. รวมถึงติดตั้งระบบขนส่งผู้โดยสาร (APM) เชื่อมต่อระหว่างอาคารผู้โดยสารและอาคารเทียบเครื่องบินรองหลังที่ 1 เพื่อรองรับผู้โดยสารที่จะใช้บริการอาคารเทียบเครื่องบินรองหลังที่ 1 ให้เพียงพอต่อความต้องการ

ที่มา : AOT, Interlink

อัพเดทความคืบหน้า APM 

ความคืบหน้าล่าสุดในส่วนของอุโมงค์เชื่อมต่อเสร็จสมบูรณ์แล้ว 100 % ขณะนี้กำลังดำเนินการในส่วนงานติดตั้งงานระบบ APM ซึ่งคืบหน้าไปแล้ว 84.69%

อาคารผู้โดยสารขาออกในประเทศ สุวรรณภูมิ

สำหรับความคืบหน้าล่าสุดคือ ในส่วนของอาคารเทียบเครื่องบินรองหลังที่ 1 (ภายนอก) และ ลานจอดประชิดอาคาร เสร็จสมบูรณ์แล้ว 100%

สำหรับงานออกแบบภายใน ขณะนี้กำลังทำตามส่วนต่างๆ ทั้งที่นั่งพักคอย, โถงพักคอยรสบัส, พื้นที่ร้านค้าและสันทนาการ, Sky Lounge, ห้องน้ำผู้โดยสาร และอื่นๆ  คาดว่าพร้อมเปิดใช้บริการปี 65 นี้

ที่มา : AOT

ภายนอกอาคาร

ภายในอาคาร