ต่อแผง โซ ล่า เซลล์ อนุกรม 3 แผง

ในวิธีการนี้แผงโซลาร์เซลล์ทั้งหมดมีประเภทและอัตราพลังงานต่างกัน แรงดันไฟฟ้าพาเนลแต่ละตัวจะรวมเข้าด้วยกันเหมือน แต่ก่อนเวลานี้แอมแปร์จะถูก จำกัด ด้วยค่าของพาเนลต่ำสุดในสตริงอนุกรมในกรณีนี้ 1 แอมป์ จากนั้นอาร์เรย์จะผลิต 19 โวลต์ (3 + 7 + 9) ที่ 1.0 แอมป์เท่านั้นหรือเพียง 19 วัตต์จาก 69 วัตต์ที่เป็นไปได้ซึ่งช่วยลดประสิทธิภาพของอาเรย์ เราสามารถเห็นได้ว่าแผงโซลาร์เซลล์ที่ระดับ 9 โวลต์ 5 แอมป์จะใช้เพียงหนึ่งในห้าหรือ 20% ของศักยภาพสูงสุดในปัจจุบันที่ลดประสิทธิภาพและเสียเงินในการซื้อแผงโซล่าร์นี้ การเชื่อมต่อแผงโซลาร์เซลล์ในซีรีย์ที่มีการจัดอันดับกระแสต่างกันควรใช้เป็นการเตรียมการเท่านั้นเนื่องจากแผงโซลาร์ที่มีกระแสไฟต่ำสุดจะกำหนดเอาต์พุตปัจจุบันของอาเรย์ทั้งหมด

ต่อแผง โซ ล่า เซลล์ อนุกรม 3 แผง

การต่อแผงโซล่าเซลล์


              อุปกรณ์ไฟฟ้าที่ใช้ในระบบโซล่าเซลล์นั้น บางชนิดต้องการแรงดัน กระแส หรือกำลังไฟฟ้า ในการทำงานมากกว่าที่แผงโซล่าเซลล์แผงเดียวจะสามารถผลิตออกมาได้ เพื่อแก้ปัญหานี้จึงต่อมีการเพิ่มแผงโซล่าเซลล์ซึ่งการเพิ่มแผงโซล่าเซลล์นี้จะต้องมีการต่อกันระหว่างแผงโซล่าเซลล์


           การต่อแผงโซล่าเซลล์มีอยู่ด้วยกัน 3 แบบ คือ


1.การต่อแบบอนุกรม จะเป็นการเพิ่มแรงดันไฟ แต่กระแสยังคงเท่าเดิม ซึ่งเราหาแรงดันและกำลังไปได้คือ
              แรงดันรวม = จำนวนแผง x แรงดันไฟของแผง

     จากรูป                = 4x24V = 96 โวล์ต
              กระแสรวม  = 6 แอมป์
            กำลังไฟรวม = แรงดันรวม x กระแสรวม
                               = 96V x 6A = 576 วัตต์

ต่อแผง โซ ล่า เซลล์ อนุกรม 3 แผง


2.การต่อแบบขนาน จะเป็นการเพิ่มกระแสไฟ แต่แรงดันยังคงเท่าเดิม ซึ่งเราหากระแสและกำลังไปได้คือ
           แรงดันรวม = 24 โวล์ต
           กระแสรวม = จำนวนแผง x กระแสของแผง
จากรูป                 = 4x6A = 24 แอมป์
        กำลังไฟรวม = แรงดันรวม x กระแสรวม
                           = 24V x 24A = 576 วัตต์

ต่อแผง โซ ล่า เซลล์ อนุกรม 3 แผง


***จะสังเกตได้ว่า เมื่อจำนวนแผงโซล่าเซลล์ที่มีขนาดแรงดัน กระแส และจำนวนแผงที่เท่ากัน ไม่ว่าจะต่อแบบอนุกรมหรือขนาน กำลังไฟฟ้ารวมที่ออกมาจะเท่ากัน ดังนั้นเราต้องย้อนไปดูอุปกรณ์ไฟฟ้าที่ใช้ว่าต้องการกระแสหรือแรงดันตัวไหนมากกว่ากันในการทำงาน****


3.การต่อแบบผสม คือ การต่อแบบอนุกรมและขนานมารวมอยู่ด้วยกัน ซึ่งการต่อแบบนี้จะเป็นการพิ่มทั้งแรงดันไฟและกระแสไฟ แล้วยังส่งผงให้กำลังไฟเพิ่มขึ้นตามไปด้วย
จากรูป       แรงดันรวม = 24V + 24V = 48 โวล์ต
                 กระแสรวม = 4x6A = 24 แอมป์
              กำลังไฟรวม = แรงดันรวม x กระแสรวม
                                 = 48V x 24A = 1,152 วัตต์

ต่อแผง โซ ล่า เซลล์ อนุกรม 3 แผง

  • Category : แผงโซล่าเซลล์
  • 39123 View

สวัสดีครับ พี่น้องเกษตรกรครับ ในวันนี้พี่หมีโซล่าเซลล์ จะพาพี่น้องเกษตรกร ไปเรียนรู้ วิธีการ ต่ออนุกรมแผงโซล่าเซลล์ กันครับ เนื่องจากว่าในตอนนี้ มีพี่น้องเกษตรกร ทักไลน์มาถามพี่หมีกันเยอะมาก ว่าการต่ออนุกรมแผงโซล่าเซลล์ นั้น เค้ากันต่อกันอย่างไร? 

ต่อแผง โซ ล่า เซลล์ อนุกรม 3 แผง

และก็พอดีเลยครับ ในช่วงเดือนนี้ ที่ AEC brand กำลังจะมีการเปิดตัว ปั๊มน้ำหอยโข่ง โซล่าเซลล์ ขนาด 2 นิ้ว 2 แรงม้า รุ่นใหม่ล่าสุดเลยครับ ซึ่งปั๊มน้ำหอยโข่งโซล่าเซลล์รุ่นนี้ เป็นปั๊มน้ำที่ให้น้ำไหลแรงมากครับ และที่สำคัญนะครับ ปั๊มน้ำรุ่นนี้ใช้แผงโซล่าเซลล์ 4 แผงและเป็นการต่อแผงแบบอนุกรมด้วยครับดังนั้นเดี่ยวในวันนี้ พี่น้องเกษตรกร จะได้เรียนรู้วิธีการต่อแผงแบบอนุกรม และการประยุกต์ใช้งานจริงไปด้วยเลยครับ 

เอาละครับ พี่น้องเกษตรกรครับ ก่อนที่เราจะไปทำ Workshop เรียนรู้วิธีการต่ออนุกรมแผงโซล่าเซลล์ ด้วยตัวเองกัน เรามาเริ่มต้นจากการ ไปฝึกคำนวณหากำลังไฟฟ้า ที่ได้จากการต่ออนุกรมแผงโซล่าเซลล์กันก่อนครับ

 

ต่อแผง โซ ล่า เซลล์ อนุกรม 3 แผง
ต่อแผง โซ ล่า เซลล์ อนุกรม 3 แผง

 

ในการต่อนุกรมแผงโซล่าเซลล์ สิ่งที่เราจะได้ก็คือ ?

ต่อแผง โซ ล่า เซลล์ อนุกรม 3 แผง
ต่อแผง โซ ล่า เซลล์ อนุกรม 3 แผง

ขั้นตอนการต่ออนุกรมแผงโซล่าเซลล์

พี่น้องเกษตรกรครับ แผงโซล่าเซลล์ 1 แผง จะมีสายไฟอยู่แค่ 2 เส้น เท่านั้นเองครับ นั่นก็คือ สายไฟขั้วบวก และก็สายไฟขั้วลบครับ โดยสายไฟขั้วบวกของแผงโซล่าเซลล์ครับ จะมีหัวปลั๊กเป็น MC4 ตัวผู้ และก็สายไฟขั้วลบของแผงโซล่าเซลล์ จะมีหัวปลั๊กเป็น MC4 ตัวเมียครับ 

ต่อแผง โซ ล่า เซลล์ อนุกรม 3 แผง

ในขั้นตอนแรก

แล้วก็เอาสายไฟ ขั้วลบของแผงที่ 1 ไปต่อเข้ากับสายไฟขั้วบวก ของแผงที่ 2 ครับ เดี่ยวพี่หมีจะต่อให้ดูครับแบบนี้ครับ 

ต่อแผง โซ ล่า เซลล์ อนุกรม 3 แผง

ขั้นตอนต่อไป

เราก็เอาสายไฟ ขั้วลบของแผงที่ 3 ที่เหลืออยู่ครับ ไปต่อเข้าสายไฟขั้วบวก ของแผงที่ 4 ครับ เดี่ยวพี่หมีจะต่อให้ดูครับแบบนี้ครับ