หลักสูตรวิทยาการคอมพิวเตอร์ มก

สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์

ปัจจุบัน​วิทยาการ​ด้าน​คอมพิวเตอร์​มี​ความ​ก้าวหน้า​และ​เปลี่ยนแปลง​ไป​อย่าง​รวดเร็ว​ สาขา​วิชา​วิทยาการ​คอมพิวเตอร์​มี​เป้า​หมาย​ที่​จะ​พัฒนา​หลักสูตร​ให้​ทัน​สมัย​และ​สามารถ​ผลิต​บัณฑิต​ให้​มี​ความ​รู้​ความ​สามารถ​ด้าน​การ​เขียน​โปรแกรม​คอมพิวเตอร์ การ​จัดการ​ระบบ​ปฏิบัติ​การ​คอมพิวเตอร์ ระบบ​ฐาน​ข้อมูล เครือ​ข่าย​สื่อสาร​คอมพิวเตอร์ เทคโนโลยี​อิน​เทอร์​เน็ต การ​วิเคราะห์​ออกแบบ​และ​พัฒนา​ซอฟต์แวร์​ด้วย​เทคโนโลยี​ที่​ทัน​สมัย​และ​เหมาะ​สม ตรง​กับ​ความ​ต้องการ​ของ​ผู้​ใช้​และ​องค์กร​ให้​มาก​ที่สุด นอกจาก​นี้​หลักสูตร​ยัง​เน้น​ให้​บัณฑิต​มี​ความ​สามารถ​ใน​การ​ศึกษา​และ​วิจัย​ด้าน​คอมพิวเตอร์​เพื่อ​ให้​ได้​ผล​งาน​ที่​มี​ความ​ก้าวหน้า​และ​มี​ประสิทธิภาพ สามารถ​นำ​ความ​รู้​ความ​สามารถ​ไป​ประกอบ​อาชีพ​ที่​บัณฑิต​มี​ความ​สนใจ​ได้ เพื่อ​ให้​หลักสูตร​สอดคล้อง​กับ​ความ​ต้องการ​ของ​ตลาด​แรงงาน 

ก้าวเร็วอย่างรู้ลึกทันโลกคอมพิวเตอร์ ด้วยการนำความคิดสร้างสรรค์ผสานกับวิทยาการคอมพิวเตอร์ โดยมีหลักสูตรต้นแบบจากองค์กร IEEE และ ACM ซึ่งเป็นองค์กรชั้นนำทางด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อนำมาพัฒนาหลักสูตร

  • มีเครือข่ายพันธมิตรกับมหาวิทยาลัยชั้นนำและบริษัททั้งในและต่างประเทศ
  • มีโอกาสได้ใบประกอบวิชาชีพสากล จาก ITPE, Google, Java SE, Oracle, SAP Certificate เพิ่มโอกาสการได้งานทำ และได้เงินเดือนสูง
  • ออกแบบและสร้างผลงานที่สามารถนำไปต่อยอดธุรกิจ ด้าน Tech Startup
  • ส่งเสริมให้นักศึกษาพัฒนา Mobile Application และผลักดันให้ส่งผลงานเข้าแข่งขันในเวทีต่างๆ
  • โครงการแลกเปลี่ยนที่ประเทศญี่ปุ่น Ryukoku University
  • โอกาสในการขอทุนศึกษาต่อปริญญาโท Ritsumeikan University
  • มีรายได้ระหว่างเรียน เรียนจบมีงานทำ

ยกระดับนักศึกษาสู่โปรแกรมเมอร์มืออาชีพ

เทอมแรก   25,680

ตลอดหลักสูตร 4 ปี   361,480
ค่าเล่าเรียนตลอดหลักสูตร (ยังไม่รวมส่วนลด ทุน BU Bright)

ค่าเล่าเรียนปีการศึกษา 2566
ทุนการศึกษานี้มีจำนวนจำกัด โดยมีเงื่อนไขเป็นไปตามที่มหาวิทยาลัยกำหนด

วิทยาศาสตรบัณฑิต (วิทยาการคอมพิวเตอร์)

Bachelor of Science (Computer Science)

คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรม

School of Information Technology and Innovation

สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์

Computer Science


แผนการศึกษา ปีการศึกษา 2566

ดาวน์โหลด

รายวิชา ปีการศึกษา 2566

ดาวน์โหลด

ทุนการศึกษาที่สามารถขอได้

กยศ. ลักษณะที่ 2

คุณสมบัติ

  • ม.6 หรือเทียบเท่า,
  • ปวช.,
  • ปวส. (เทียบโอนได้)

โครงสร้างหลักสูตรวิทยาการคอมพิวเตอร์

โครงสร้างหลักสูตร

หลักสูตร                                  วิทยาศาสตรบัณฑิต

ชื่อหลักสูตร (เต็ม Eng)               Bachelor of Science Program in Computer Science

ชื่อหลักสูตร (เต็ม ไทย)               วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์

ชื่อปริญญา (เต็ม Eng)               Bachelor of Science

ชื่อปริญญา (เต็ม ไทย)               วิทยาศาสตรบัณฑิต

ชื่อปริญญา (ย่อ Eng)                 B.Sc.

ชื่อปริญญา (ย่อ ไทย)                 วท.บ.

ความเกี่ยวข้องกับหลักสูตร สกอ.

หลักสูตร (ตาม สกอ.)               วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์

กลุ่มสาขา (ISCED)(ตาม สกอ.)  Computer science

ระยะเวลาของหลักสูตร              ศึกษาปกติ 4 ปี ไม่เกิน 8 ปี

จำนวนภาคการศึกษาต่อปี          2 ภาค

กลุ่มหลักสูตร                             วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

หน่วยกิต       

จำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร                       131      หน่วยกิต

เกรดต่ำสุดที่สามารถจบ                                       2.00

วันที่สภามหาวิทยาลัยอนุมัติหลักสูตรครั้งแรก          2560-01-06

วันที่ กพ. รับรองหลักสูตรครั้งแรก                         2560-01-06

วันที่รับรองหลักสูตรโดย สกอ                               2560-01-06

วันที่สภาวิชาการให้ความเห็นชอบหลักสูตร             2559-12-01

วันที่สภาวิชาชีพให้การรับรอง (ถ้ามี)                      2560-01-06

ปรับปรุงครั้งล่าสุด                                               2559-09-21

ปรัชญาของหลักสูตร

สร้างบัณฑิต ให้มีปัญญา นำความรู้ไปแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ มีคุณธรรม จริยธรรม และรอบรู้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี ค้นคว้าวิจัยหาองค์ความรู้เพื่อจะนำมาซึ่งเทคโนโลยีและนวัตกรรมใหม่ที่จะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาชุมชน สังคม และประเทศชาติ

วัตถุประสงค์ของหลักสูตร

1. เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีทักษะศาสตร์การคำนวณ สามารถคิดเป็นระบบ แก้ไขปัญหาด้วยเหตุผล ซึ่งเป็นพื้นฐานการพัฒนาทักษะการเรียนรู้และต่อยอดกับงานด้านอื่นได้

2. เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ความสามารถด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์ เป็นพื้นฐานการศึกษาในระดับที่สูงขึ้น

3. เพื่อผลิตบัณฑิตที่สามารถประกอบอาชีพด้านคอมพิวเตอร์ ได้แก่ นักวิทยาการคอมพิวเตอร์ นักวิชาการคอมพิวเตอร์ นักพัฒนาซอฟต์แวร์ เจ้าหน้าที่ทำงานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ ในหน่วยงานของรัฐ เอกชน และสามารถเป็นผู้ประกอบการประกอบอาชีพอิสระด้านคอมพิวเตอร์ได้

4. เพื่อผลิตบัณฑิตที่สามารถประยุกต์ความรู้ในสาขาวิทยาการคอมพิวเตอร์กับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง และนำกลับไปพัฒนาชุมชนหรือประเทศชาติได้

5. เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีเจตคติที่ดี มีคุณธรรม จริยธรรม มีระเบียบวินัย ขยันหมั่นเพียร ใฝ่รู้ มีความสำนึกต่อจรรยาบรรณอาชีพ และมีความรับผิดชอบต่อหน้าที่และสังคม

6. เพื่อผลิตบัณฑิตให้สอดคล้องการเข้าสู่สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Association of Southeast Asian Nations หรือ ASEAN) และมาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรี สาขาคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2552

ค่าใช้จ่ายในหลักสูตร

56000.00

คุณสมบัติผู้เข้าศึกษา

1. รับผู้สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาชั้นปีที่ 6 ทุกแผนการเรียน หรือสำเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) สาขาวิชาเทคนิคคอมพิวเตอร์ ไฟฟ้า อิเล็กทรอนิกส์ โทรคมนาคม หรือสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์

2. รับผู้สำเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) สาขาวิชาระบบสารสนเทศ คอมพิวเตอร์ธุรกิจ เทคนิคคอมพิวเตอร์ ไฟฟ้า อิเล็กทรอนิกส์ โทรคมนาคม หรือสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์ โดยใช้วิธีการเทียบโอนตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ว่าด้วยการศึกษาระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2551 และข้อบังคับ มทร.ล้านนาที่ประกาศเพิ่มเติม

โครงสร้างหน่วยกิต

จำนวนหน่วยกิต ตลอดหลักสูตร

131 หน่วยกิต

หมวดวิชาศึกษาทั่วไป

30 หน่วยกิต

- บังคับ-ภาษาและการสื่อสาร

12 หน่วยกิต

- บังคับ-สุขภาพ

3 หน่วยกิต

- บังคับ-บูรณาการ

9 หน่วยกิต

- เลือก-สังคมศาสตร์และมนุยศาสตร์

3 หน่วยกิต

- เลือก-วิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์

3 หน่วยกิต

หมวดวิชาเฉพาะ

95 หน่วยกิต

- กลุ่มวิชาพื้นฐานวิชาชีพ

18 หน่วยกิต

- กลุ่มวิชาชีพบังคับ

62 หน่วยกิต

- กลุ่มวิชาชีพเลือก

15 หน่วยกิต

หมวดวิชาเลือกเสรี

6 หน่วยกิต

- กลุ่มวิชาเลือกเสรี

6 หน่วยกิต

 โครงสร้างรายวิชา

(1) หมวดวิชาศึกษาทั่วไป

30

- บังคับ-ภาษาและการสื่อสาร

12

GEBLC101 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารในชีวิตประจำวัน
English for Everyday Communication

3 (3-0-6)

GEBLC102 ภาษาอังกฤษเพื่อทักษะชีวิต
English for Life Skills

3 (3-0-6)

GEBLC103 ภาษาอังกฤษเชิงวิชาการ
Academic English

3 (3-0-6)

GEBLC201 ศิลปะการใช้ภาษาไทย
Arts of Using Thai Language

3 (3-0-6)

- บังคับ-สุขภาพ

3

GEBHT101 กิจกรรมเพื่อสุขภาพ
Activities for Health

3 (3-0-6)

- บังคับ-บูรณาการ

9

GEBIN101 กระบวนการคิดและการแก้ปัญหา
Process of Thinking and Problem Solving

3 (3-0-6)

GEBIN102 นวัตกรรมและเทคโนโลยี
Innovation and Technology

3 (3-0-6)

GEBIN103 ศิลปะการใช้ชีวิต
Art of Living

3 (3-0-6)

- เลือก-สังคมศาสตร์และมนุยศาสตร์

3

GEBSO101 ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและภูมิปัญญาในการดำเนินชีวิต
Sufficiency Economy and Wisdom of Living

3 (3-0-6)

GEBSO102 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและสังคม
Life and Social Skills

3 (3-0-6)

GEBSO103 สังคม เศรษฐกิจ การเมือง และกฎหมาย
Society, Economy, Politics and Law

3 (3-0-6)

GEBSO104 มนุษยสัมพันธ์
Human Relations

3 (3-0-6)

GEBSO105 ภูมิสังคมวัฒนธรรมอาเซียน
Social Geography and Culture of ASEAN

3 (3-0-6)

GEBSO106 จิตวิทยาเพื่อการดำเนินชีวิตและการทำงาน
Psychology for Living and Work

3 (3-0-6)

- เลือก-วิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์

3

GEBSC101 คณิตศาสตร์และสถิติในชีวิตประจำวัน
Mathematics and Statistics in Daily Life

3 (3-0-6)

GEBSC102 เทคโนโลยีสารสนเทศที่จำเป็นในชีวิตประจำวัน
Necessary Information Technology in Daily Life

3 (3-0-6)

GEBSC103 การคิดและการตัดสินใจเชิงวิทยาศาสตร์
Scientific Thinking and Decision Making

3 (3-0-6)

GEBSC104 การสร้างกระบวนการทางวิทยาศาสตร์เพื่อทำงานวิจัย และการสร้างนวัตกรรม
Creation of Scientific Methods for Research and Innovation

3 (3-0-6)

GEBSC105 วิทยาศาสตร์เพื่อสุขภาพ
Science for Health

3 (3-0-6)

GEBSC106 สิ่งแวดล้อมกับการพัฒนา
Environment and Development

3 (3-0-6)

(2) หมวดวิชาเฉพาะ

95

- กลุ่มวิชาพื้นฐานวิชาชีพ

18

BSCCC201 แคลคูลัส 1
Calculus 1

3 (3-0-6)

BSCCC202 แคลคูลัส 2
Calculus 2

3 (3-0-6)

Prerequisite : BSCCC201 แคลคูลัส 1 3 (3-0-6)

BSCCC203 คณิตศาสตร์เต็มหน่วย
Discrete Mathematics

3 (3-0-6)

BSCCC207 สถิติสำหรับวิทยาศาสตร์
Statistics for Science

3 (3-0-6)

BSCCS101 วิทยาการคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
Fundamental Computer Science

3 (2-2-5)

BSCCS102 ข้อมูลเชิงวิทยาศาสตร์สาหรับวิทยาการคอมพิวเตอร์
Scientific Information for Computer Science

3 (2-3-5)

- กลุ่มวิชาชีพบังคับ

62

BSCCC217 ระเบียบวิธีเชิงตัวเลข
Numerical Methods

3 (3-0-6)

Prerequisite : BSCCC202 แคลคูลัส 2 3 (3-0-6)

BSCCS103 จริยธรรมและกฎหมายคอมพิวเตอร์
Ethics and Computer Law

3 (3-0-6)

BSCCS104 การวิเคราะห์และออกแบบระบบ
System Analysis and Design

3 (2-2-5)

BSCCS105 วิทยาการคอมพิวเตอร์ในชุมชน สถานประกอบการ และองค์กร
Computer Science in Community, Company and Coperation

1 (0-3-1)

BSCCS201 ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์
Human-Computer Interaction

3 (2-2-5)

BSCCS202 ปัญญาประดิษฐ์เบื้องต้น
Introduction of Artificial Intelligence

3 (2-2-5)

BSCCS301 การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
Computer Programming

3 (2-2-5)

BSCCS302 การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ
Object Oriented Programming

3 (2-2-5)

Prerequisite : BSCCS301 การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ 3 (2-2-5)

BSCCS303 การเขียนโปรแกรมบนเว็บ
Web Programming

3 (2-2-5)

Prerequisite : BSCCS301 การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ 3 (2-2-5)

BSCCS304 วิศวกรรมซอฟต์แวร์
Software Engineering

3 (3-0-6)

BSCCS402 โครงสร้างข้อมูลและอัลกอริทึม
Data Structures and Algorithms

3 (2-2-5)

Prerequisite : BSCCS301 การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ 3 (2-2-5)

BSCCS403 ระบบฐานข้อมูล
Database Systems

3 (2-2-5)

BSCCS404 การวิเคราะห์และออกแบบขั้นตอนวิธี
Analysis and Design of Algorithms

3 (2-2-5)

Prerequisite : BSCCS301 การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ 3 (2-2-5)

BSCCS405 การสื่อสารข้อมูลและระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
Data Communication and Computer Network System

3 (2-2-5)

BSCCS501 องค์ประกอบและสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์
Computer Organization and Architecture

3 (3-0-6)

BSCCS502 ระบบปฏิบัติการ
Operating Systems

3 (2-2-5)

BSCCS503 ระบบไมโครคอมพิวเตอร์และการอินเตอร์เฟสซิ่ง
Microcomputer System and Interfacing

3 (2-2-5)

BSCCS701 สัมมนาวิทยาการคอมพิวเตอร์
Computer Science Seminar

1 (0-3-1)

BSCCS702 ระเบียบวิธีวิจัยทางวิทยาการคอมพิวเตอร์
Computer Science Research Methodology

3 (2-2-5)

BSCCS703 โครงงานทางวิทยาการคอมพิวเตอร์
Computer Science Project

3 (0-6-3)

Prerequisite : BSCCS702 ระเบียบวิธีวิจัยทางวิทยาการคอมพิวเตอร์ 3 (2-2-5)

BSCCS704 สหกิจศึกษาทางวิทยาการคอมพิวเตอร์
Cooperative Education in Computer Science

6 (0-40-0)

BSCCS705 การเตรียมโครงงานทางวิทยาการคอมพิวเตอร์
Computer Science Pre-Project

3 (0-6-3)

BSCCS706 ฝึกงานวิชาชีพทางวิทยาการคอมพิวเตอร์
Job Internship in Computer Science

3 (0-40-0)

- กลุ่มวิชาชีพเลือก

15

BSCCS106 ความเป็นผู้ประกอบการสำหรับการพัฒนาธุรกิจคอมพิวเตอร์
Entrepreneurship for Computer Business Development

3 (3-0-6)

BSCCS107 พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์บนอินเทอร์เน็ต
Electronic Commerce on Internet

3 (2-2-5)

BSCCS108 ความปลอดภัยของระบบคอมพิวเตอร์
Computer System Security

3 (2-2-5)

BSCCS109 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
Management Information System

3 (2-2-5)

BSCCS203 ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
Information System for Decision Support

3 (2-2-5)

BSCCS204 คอมพิวเตอร์กราฟิก
Computer Graphic

3 (2-2-5)

BSCCS205 การประมวลผลภาพ
Image Processing

3 (2-2-5)

BSCCS206 เทคโนโลยีสื่อประสม
Multimedia Technology

3 (2-2-5)

BSCCS207 การเรียนรู้จำรูปแบบ
Pattern Recognition

3 (2-2-5)

Prerequisite : BSCCC207 สถิติสำหรับวิทยาศาสตร์ 3 (3-0-6)

BSCCS208 การประมวลผลภาษาธรรมชาติ
Natural Language Processing

3 (2-2-5)

Prerequisite : BSCCS202 ปัญญาประดิษฐ์เบื้องต้น 3 (2-2-5)

BSCCS305 การวิเคราะห์และออกแบบเชิงวัตถุ
Object Oriented Analysis and Design

3 (3-0-6)

Prerequisite : BSCCS302 การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ 3 (2-2-5)

BSCCS306 การพัฒนาซอฟต์แวร์เชิงวัตถุ
Object Oriented Software Development

3 (2-2-5)

Prerequisite : BSCCS302 การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ 3 (2-2-5)

BSCCS307 การเขียนโปรแกรมสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Mobile Devices Programming

3 (2-2-5)

Prerequisite : BSCCS301 การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ 3 (2-2-5)

BSCCS308 ภาษาโปรแกรมสมัยใหม่
Modern Programming Language

3 (2-2-5)

Prerequisite : BSCCS301 การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ 3 (2-2-5)

BSCCS309 หลักการภาษาโปรแกรม
Principle of Programming Languages

3 (2-2-5)

BSCCS406 การบริหารเครือข่ายคอมพิวเตอร์
Computer Network Management

3 (2-2-5)

Prerequisite : BSCCS405 การสื่อสารข้อมูลและระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 3 (2-2-5)

BSCCS407 การโปรแกรมเครือข่ายคอมพิวเตอร์
Computer Network Programming

3 (2-2-5)

Prerequisite : BSCCS301 การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ 3 (2-2-5)

BSCCS408 การประมวลผลแบบขนานและแบบกระจาย
Parallel and Distributed Computing

3 (2-2-5)

Prerequisite : BSCCS301 การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ 3 (2-2-5)

BSCCS409 การประมวลผลแบบกลุ่มเมฆ
Cloud Computing

3 (2-2-5)

Prerequisite : BSCCS301 การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ 3 (2-2-5)

BSCCS410 การสื่อสารไร้สาย
Wireless Communication

3 (2-2-5)

Prerequisite : BSCCS405 การสื่อสารข้อมูลและระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 3 (2-2-5)

BSCCS504 ดิจิทัลเบื้องต้น
Introduction to Digital

3 (2-2-5)

BSCCS505 ระบบเครื่องคอมพิวเตอร์และภาษาแอสเซมบลี
Computer System and Assembly Languages

3 (2-2-5)

BSCCS506 เทคโนโลยีระบบฝังตัว
Embedded System Technology

3 (2-2-5)

BSCCS507 อินเทอร์เน็ตของทุกสิ่ง
Internet of Things

3 (2-2-5)

BSCCS601 เทคโนโลยีคลังข้อมูลและเหมืองข้อมูล
Data Warehouse and Data Mining Technology

3 (2-2-5)

Prerequisite : BSCCS403 ระบบฐานข้อมูล 3 (2-2-5)

BSCCS602 การวิเคราะห์ข้อมูลขนาดใหญ่
Big Data Analytics

3 (2-2-5)

Prerequisite : BSCCS403 ระบบฐานข้อมูล 3 (2-2-5)

BSCCS603 ชีวสารสนเทศศาสตร์
Bioinformatics

3 (2-2-5)

Prerequisite : BSCCS102 ข้อมูลเชิงวิทยาศาสตร์สาหรับวิทยาการคอมพิวเตอร์ 3 (2-3-5)

BSCCS604 เทคโนโลยีเว็บเชิงความหมาย
Semantic Web Technology

3 (2-2-5)

BSCCS605 ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์
Geographic Information Systems

3 (2-2-5)

BSCCS707 หัวข้อพิเศษทางวิทยาการคอมพิวเตอร์
Special Topic in Computer Science

1 (0-3-1)

(3) หมวดวิชาเลือกเสรี

6

- กลุ่มวิชาเลือกเสรี

6