เฉลย ใบงาน วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย ม. 4

ใบงานที่ 4 เรื่อง ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทย
ใบงานที่ 4 เรื่อง ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทย
 ID: 2365773
Language: Thai
School subject: ประวัติศาสตร์
Grade/level: มัธยมศึกษาตอนต้น
Age: 12-15
Main content: ภูมิปัญญาไทย
Other contents: ประวัติศาสตร์

เฉลย ใบงาน วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย ม. 4
 Add to my workbooks (3)
เฉลย ใบงาน วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย ม. 4
 Download file pdf
เฉลย ใบงาน วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย ม. 4
 Embed in my website or blog
เฉลย ใบงาน วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย ม. 4
 Add to Google Classroom
เฉลย ใบงาน วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย ม. 4
 Add to Microsoft Teams
เฉลย ใบงาน วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย ม. 4
 Share through Whatsapp

Link to this worksheet:  Copy
เฉลย ใบงาน วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย ม. 4

Baidubu

Show

เฉลย ใบงาน วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย ม. 4

What do you want to do?

เฉลย ใบงาน วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย ม. 4
เฉลย ใบงาน วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย ม. 4
Check my answersEmail my answers to my teacher

Enter your full name:

Group/level:

School subject:

Enter your teacher's email or key code:

Cancel

Please allow access to the microphone
Look at the top of your web browser. If you see a message asking for permission to access the microphone, please allow.

Close

ใบงาน เรื่อง การสร้างสรรค์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย
ให้นักเรียนตอบคำถามเกี่ยวกับการสร้างสรรค์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย สมัยสุโขทัย - ปัจจุบันให้สมบูรณ์ที่สุด
 ID: 2855289
Language: Thai
School subject: ประวัติศาสตร์
Grade/level: ม.4
Age: 16-16
Main content: การสร้างสรรค์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย
Other contents: การสร้างสรรค์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย สมัยสุโขทัย - ปัจจุบัน

เฉลย ใบงาน วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย ม. 4
 Add to my workbooks (1)
เฉลย ใบงาน วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย ม. 4
 Download file pdf
เฉลย ใบงาน วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย ม. 4
 Embed in my website or blog
เฉลย ใบงาน วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย ม. 4
 Add to Google Classroom
เฉลย ใบงาน วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย ม. 4
 Add to Microsoft Teams
เฉลย ใบงาน วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย ม. 4
 Share through Whatsapp

Link to this worksheet:  Copy
เฉลย ใบงาน วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย ม. 4

KruThidarath


เฉลย ใบงาน วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย ม. 4

What do you want to do?

เฉลย ใบงาน วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย ม. 4
เฉลย ใบงาน วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย ม. 4
Check my answersEmail my answers to my teacher

Enter your full name:

Group/level:

School subject:

Enter your teacher's email or key code:

Cancel

Please allow access to the microphone
Look at the top of your web browser. If you see a message asking for permission to access the microphone, please allow.

Close

บทความนี้ ครูอาชีพดอทคอม ขแอนะนำ มาตรการฟื้นฟูภาวะถดถอยทางการเรียนรู้ learning loss recovery จัดทำโดยสำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา โดยใช้หลักการ R E C O V E R เพื่อให้โรงเรียนสามรารถ การแก้ปัญหา learning lossสถานการณ์ Covid-19 ทำให้กระบวนการการจัดการศึกษาต้องเปลี่ยนแปลง จากการเรียนในห้องเรียน (On Site) เป็นการเรียนแบบ Online ส่งผลให้เด็กไทยเกิดภาวะถดถอยทางการเรียนรู้ ( Learning loss ) จาก 5 ปัจจัยที่สำคัญ ดังนี้

  1. ทักษะด้านสารสนเทศ สื่อ และเทคโนโลยี (Information, media and technology skills)
    2 การกำกับตนเองในการเรียนรู้ (Self-regulated learning)
  2. ทักษะของครู (Teacher skills)
  3. การมีส่วนร่วมของพ่อแม่ในการส่งเสริมการเรียนรู้ที่บ้าน (Home-based parental involvement)
  4. การจัดการสภาพแวดล้อมทางการเรียนรู้ (Learning environment)

พอทราบสาเหตุหลักแล้ว ทุกคนก็คงอยากทราบแนวทางแก้ไข หรือวิธีรับมือใช่ไหมล่ะคะ โดยสำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษาร่วมกับทีมนักวิจัย Learning Loss ได้ค้นคว้าวิธีฟื้นฟูภาวะถดถอยการเรียนรู้ ที่จะเป็นแนวทางให้หน่วยงานทุกฝ่าย วางแผนปรับตัว และจะช่วยทุกคนให้ผ่านวิกฤตนี้ไปด้วยกันกับ 𝗥-𝗘-𝗖-𝗢-𝗩-𝗘-𝗥 มาตรการและวิธีการ ฟื้นฟูภาวะถดถอยทางการเรียนรู้ ของเด็กไทยในยุค Covid-19 ดังรายละเอียดต่อไปนี้

เฉลย ใบงาน วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย ม. 4
ดาวน์โหลด เอกสารมาตรการฟื้นฟูภาวะถดถอยทางการเรียนรู้ โดยสำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา

สารบัญ
    ความเป็นมา
    ผลกระทบของโควิด -19 ต่อระบบการศึกษาไทย
    มาตรการฟื้นฟูภาวะถดถอยทางการเรียนรู้
    มาตรการในระยะเร่งด่วน
    กลไกสู่การปฏิบัติและเงื่อนไขความสำเร็จ
    เอกสารอ้างอิงการสังเคราะห์
    คณะผู้จัดทำ

การระบาดของโรคโควิด-19 ส่งผลให้ระบบการศึกษาไทยต้องปรับเปลี่ยนอย่างฉับพลันจนปรับตัวไม่ทัน จากระบบปกติในโรงเรียนเป็นการเรียนรู้ที่บ้าน (Home-based learning ) จากระบบชั้นเรียนเป็นการเรียนรู้ส่วนบุคคล (Personalized learning) โดยมีปัจจัยการเปลี่ยนแปลงด้านเทคโนโลยีดิจิทัล (Digital disruption) เข้ามาเป็นโจทย์สำคัญในการจัดการศึกษา ทั้งการจัดการศึกษาในช่วงสถานการณ์วิกฤติของโรคระบาดและการพัฒนาการศึกษาหลังยุคโควิด-19(Post-COVID) ที่จะส่งผลให้เกิดการปรับรูปแบบและวิธีการเรียนรู้พฤติกรรมการเรียนรู้ของผู้เรียน และการปรับบทบาทของครูผู้สอน อีกทั้งเทคโนโลยีจะเป็นเครื่องมือที่สำคัญในการสร้างโอกาสการเรียนรู้ตลอดชีวิต และพัฒนาการศึกษาของประเทศในระยะยาวเพื่อพัฒนาศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ของประเทศไทยให้สามารถแข่งขันได้ในอนาคต

เฉลย ใบงาน วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย ม. 4
ที่มา OEC News สภาการศึกษา

มาตรการฟื้นฟูภาวะถดถอยทางการเรียนรู้

เฉลย ใบงาน วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย ม. 4
ดาวน์โหลด เอกสารมาตรการฟื้นฟูภาวะถดถอยทางการเรียนรู้ โดยสำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา 5

จากการสังเคราะห์ผลการวิจัย ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายและข้อเสนอแนะเชิงการปฏิบัติ รวมทั้งข้อเสนอแนะจากการประชุมสัมมนา ได้สรุปและจัดทำเป็น “มาตรการฟื้นฟู ภาวะถดถอยทางการเรียนรู้” การแก้ปัญหา ความ ถดถอย ของการเรียน รู้ learning lossขึ้น ดังรายละเอียดต่อไปนี้

R E C O V E R มาตรการฟื้นฟูภาวะถดถอยทางการเรียนรู้ Learning loss

Redesigning new learning process

ออกแบบกระบวนการจัดการเรียนรู้ใหม่ที่ตอบสนองบริบทความเปลี่ยนแปลงและความต้องการของผู้เรียน

1.ปรับหลักสูตรสถานศึกษา

โดยดำเนินการสำรวจความพร้อมและความต้องการของผู้เรียนและครูผู้สอนเป็นข้อมูลวิเคราะห์เพื่อปรับหลักสูตรสถานศึกษาอาจจัดหลักสูตรเสริมเพื่อพัฒนาความรู้และ ทักษะตามความต้องการจำเป็นของผู้เรียน หรือจัดหลักสูตรแบบเร่งรัดเพื่อช่วยเหลือผู้เรียนในเนื้อหาที่มีปัญหา หรือกระชับหลักสูตรเน้นเนื้อหาสาระการเรียนรู้ที่สำคัญจำเป็น หรือจัดหลักสูตรที่ยืดหยุ่น
เนื้อหาและเวลาเรียนตามความเหมาะสมกับสถานการณ์และบริบทของผู้เรียน

2. ปรับรูปแบบและวิธีการวัดและประเมินผล

โดยกำหนดหลักเกณฑ์ เครื่องมือ และวิธีการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ให้มีความยืดหยุ่น ใช้วิธีการวัดและประเมินผลที่หลากหลายตามความถนัดและศักยภาพของผู้เรียน เน้นการวัด
และประเมินผลตามสภาพจริง เน้นการวัดและประเมินผลเพื่อพัฒนาผู้เรียนมากกว่าตัดสินผลการเรียน ลดการทดสอบที่ไม่จำเป็นเน้นการวัดผลจากการปฏิบัติ การทำชิ้นงาน การทำกิจกรรมระหว่างเรียนตามความเหมาะสมของระดับการศึกษา และให้ข้อมูลผลการประเมินป้อนกลับแก่ผู้เรียนอย่างสร้างสรรค์

3. จัดการเรียนรู้แบบบูรณาการและเชื่อมโยง

ประสบการณ์ในชีวิตประจำวันของผู้เรียนโดยบูรณาการด้วยการเชื่อมโยงเนื้อหาทั้งภายในและระหว่างกลุ่มสาระการเรียนรู้ ใช้ปรากฎการณ์หรือสถานการณ์ใหม่ ๆ มาเชื่อมโยงความคิดรวบยอดในกลุ่มสาระต่าง ๆ เข้าด้วยกัน รวมทั้งเชื่อมโยงองค์ความรู้เนื้อหาในบทเรียนร่วมกับประสบการณ์ในชีวิตประจำวันของผู้เรียน ด้วยการเรียนรู้จากสิ่งใกล้ตัวผู้เรียนในชีวิตจริง

4. จัดการเรียนรู้แบบนำตนเองหรือกำกับตนเองในการเรียนรู้อย่างเหมาะสมกับช่วงวัยของผู้เรียน

โดยจัดการเรียนรู้ที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนตั้งเป้าทมายและวางแผนการเรียนรู้ของตนเอง สร้างความรับผิดชอบต่อหน้าที่ ครูคอยกระตุ้นให้ผู้เรียนมีวินัย ทำข้อตกลงการเรียนรู้ร่วมกันระหว่างครูกับผู้เรียนเสริมแรง ให้คำแนะนำปรึกษา กำกับติดตามให้ผู้เรียนสามารถกำกับตนเอง และให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องจนบรรลุเป้าหมายการเรียนรู้ของผู้เรียนที่ตั้งไว้

5. ส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียนรายบุคคล

โดยวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล จัดทำแผนพัฒนาผู้เรียนรายบุคคลหรือซ่อมเสริมผู้เรียนเป็นรายบุคคล ส่งเสริมกิจกรรมและมอบหมายงานตามความถนัดของผู้เรียน และใช้เครื่องมือวัดผู้เรียนเป็นรายบุคคล รวมทั้ง พัฒนาช่องทางการเรียนรู้ที่หลากหลายมีแพลตฟอร์มการเรียนรู้ที่เอื้อต่อการเรียนรู้เป็นรายบุคคลสำหรับผู้เรียนทุกช่วงวัย

6. จัดกิจกรรมที่พัฒนาทักษะสังคมและอารมณ์ของผู้เรียน

โดยจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เสริมสร้างปฏิสัมพันธ์ที่ดี ด้วยการทำงานร่วมกับเพื่อน ๆ หรือให้ผู้เรียนร่วมทำกิจกรรมเชิงสังคมที่เหมาะสมผ่านกิจกรรมทางศิลปะสุนทรียะ เช่น โครงงานศิลปะ การออกแบบการวาดภาพ ดนตรี เป็นต้น หรือร่วมกิจกรรมทางสังคมและวัฒนธรรม หรือร่วมทำกิจกรรมทางวิชาการใหม่ ๆ เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนได้ปรับตัวและเกิดแรงจูงใจในการเรียนรู้ ทั้งนี้ หากยังมีภาวะของโรคระบาด ควรออกแบบกิจกรรมให้เหมาะกับความปลอดภัยของผู้เรียน

7. พัฒนารูปแบบห้องเรียนเคลื่อนที่

โดยจัดเป็นกลุ่มเล็ก ๆ ตามความเหมาะสมของบริบท สถานการณ์และความต้องการจำเป็นของพื้นที่ เพื่อจัดการเรียนรู้ให้แก่ผู้เรียนที่ไม่สามารถเดินทางมาเรียนในสถานศึกษาได้ สำหรับกรณีในพื้นที่ที่ยังมีความเสี่ยงของโรคระบาด ควรดำเนินการภายใต้มาตรการป้องกันโรคอย่างเข้มงวดหรือ Bubble & Seal

8. พัฒนาการจัดการเรียนรู้แบบHybrid Learning

โดยผสมผสานรูปแบบ กิจกรรม วิธีการจัดเรียนรู้แบบออนไลน์ต่าง ๆ กับชั้นเรียนปกติอย่างยืดหยุ่นและมีประสิทธิภาพ และประยุกต์ใช้สื่อเทคโนโลยีที่หลากหลายตามความพร้อมและความถนัดของผู้เรียน เพื่อสร้างความคุ้นเคย ความพร้อมในการจัดการเรียนรู้ยุคใหม่ให้เกิดขึ้นในสถานศึกษาโดยใช้ประสบการณ์จากช่วงโควิด-19 เช่น แผนการเรียนรู้บูรณาการ กิจกรรม Home based learning การใช้ชุมชนเป็นฐานการเรียนรู้ การใช้ปรากฏการณ์ Phenomenon based learning เป็นต้น เพื่อปรับเปลี่ยนการเรียนรู้ บทบาทครูและผู้เรียนสู่ยุค New normal

9. ออกแบบ พัฒนา และจัดสรรสื่อการเรียนรู้ที่เหมาะสม และพัฒนาแหล่งการเรียนรู้ที่ส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียนอย่างหลากหลาย

โดยส่งเสริมครูผู้สอนให้สามารถผลิตและใช้สื่อการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับความถนัด ความต้องการ และความพร้อมของผู้เรียนรายบุคคล ทั้งสื่อออนไลน์ ออฟไลน์ และสื่อที่เป็นของจริงรวมทั้งพัฒนาแหล่งการเรียนรู้ที่หลากหลาย เอื้อให้ครูผู้สอนและผู้เรียนสามารถเลือกใช้ได้ตามความเหมาะสมของกิจกรรมนอกจากนี้ ควรจัดสรรหนังสือเด็กและอุปกรณ์ส่งเสริมการเรียนรู้ที่สร้างสรรค์ให้แก่ผู้เรียนปฐมวัยและประถมศึกษาที่ด้อยโอกาสได้เพิ่มโอกาสในการเรียนรู้ทั้งที่บ้านและสถานศึกษา

Empowering teachers and principals

เสริมพลังพัฒนาครู และผู้บริหารสถานศึกษา

1. พัฒนาเทคนิคการสอนของครู

โดยพัฒนาครูให้มีสมรรถนะการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการเทคนิคการออกแบบการจัดการเรียนรู้และการจัดการชั้นเรียนของแบบการเรียนรู้เชิงรุก (Active learning) การใช้เทคนิคการจัดการเรียนรู้ที่น่าสนใจ หลากหลาย ดึงดูดความสนใจของผู้เรียน รวมถึงเทคนิควิธีสอนที่เหมาะสมกับการเรียนทางไกลและการเรียนออนไลน์

2. พัฒนาสมรรถนะด้านเทคโนโลยีดิจิทัลของครู

โดยพัฒนาครูผู้สอนทุกช่วงวัยให้มีสมรรถนะในการจัดการเรียนรู้ที่ใช้สื่อและเทคโนโลยีในยุคดิจิทัลได้อย่างมีประสิทธิภาพ พัฒนาเทคนิคการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีที่มีความน่าสนใจสามารถสร้างแรงจูงใจในการเรียนรู้ให้แก่ผู้เรียน รวมทั้งจัดทำกรอบสมรรถนะดิจิทัลสำหรับครูและบุคลากรทางการศึกษา เพื่อเป็นกรอบที่ชัดเจนในการพัฒนาทักษะและสมรรถนะของครูและบุคลากรทางการศึกษา

3. ปรับบทบาทครูให้เป็นโค้ชหรือผู้อำนวยความสะดวกในการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ

โดยพัฒนากระบวนการโค้ชเพื่อพัฒนาศักยภาพผู้เรียน สามารถออกแบบการจัดการเรียนรู้ที่ส่งเสริมศักยภาพผู้เรียนตามความถนัด สร้างสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ที่เหมาะสม แนะนำวิธีเรียนรู้กระตุ้น และสร้างแรงบันดาลใจในการเรียนรู้ให้แก่ผู้เรียน

4. ปรับบทบาทผู้บริหารสถานศึกษาเป็นSuper Coach ในการจัดการเรียนรู้

โดยพัฒนากระบวนทัศน์ใหม่ เสริมสร้างวิสัยทัศน์และกลยุทธ์ในการบริหารและการจัดการเรียนรู้เป็นผู้นำการปรับหลักสูตรการวางแผนพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้ การนิเทศและพัฒนาครู
การจัดหาและพัฒนาเทคโนโลยี สื่อ และแหล่งเรียนรู้ในสถานศึกษารวมถึงระบบการดูแลช่วยเหลือผู้เรียน และการสร้าง ระดมประสานความร่วมมือกับทุกฝ่ายอย่างมีประสิทธิภาพ

5. ใช้รูปแบบและวิธีการพัฒนาที่เน้นการปฏิบัติและสามารถนำไปใช้พัฒนาการเรียนการสอนได้

โดยจัดให้มีรูปแบบวิธีการพัฒนาที่ดี มีตัวอย่างการปฏิบัติที่หลากหลายจัดให้มีศูนย์พัฒนาครูเพื่อฟื้นฟูคุณภาพการเรียนรู้ในระดับสถานศึกษา และเขตพื้นที่การศึกษาเพื่อดำเนินการพัฒนาครูและให้คำปรึกษาแก่ครูผู้สอนในด้านการพัฒนาการเรียนการสอนยุคใหม่ และให้คำแนะนำปรึกษาและกำกับติดตามการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง

Collaborating effective learning with stakeholders

สร้างการมีส่วนร่วมในการจัดการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพระหว่างสถานศึกษา ครู
ผู้ปกครอง ชุมชน และทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง

1. จัดทำหลักสูตรหรือคู่มือสำหรับผู้ปกครอง

เพื่อสื่อสารและสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดการเรียนการรู้ให้แก่ผู้ปกครองได้เข้าใจอย่างชัดเจนเกี่ยวกับแนวปฏิบัติและการจัดการ
เรียนการสอนของสถานศึกษา

2. สร้างปฏิสัมพันธ์และสัมพันธภาพที่ดีระหว่างครูผู้สอนและผู้ปกครอง

โดยมีรูปแบบ วิธีการ ช่องทางการสื่อสารที่หลากหลาย ผู้ปกครองสามารถสื่อสาร ซักถาม แสดงคิดเห็นได้สะดวก เพื่อให้ผู้ปกครองมีความเข้าใจที่ชัดเจน มีส่วนร่วมในการวางแผนการเรียน กำกับติดตาม และส่งเสริมสนับสนุนการเรียนรู้ของผู้เรียน

3. ส่งเสริมกิจกรรมการมีส่วนร่วมของชุมชนในการจัดการเรียนรู้

โดยผ่านหลักสูตรที่ใช้แหล่งเรียนรู้ทางธรรมชาติ สิ่งแวดล้อมวัฒนธรรม ประเพณี โบราณคดี และภูมิปัญญาของคนในชุมชนเป็นฐานการเรียนรู้

4. สร้างเครือข่ายความร่วมมือในการฟื้นฟูการศึกษาจากภาคส่วนต่าง ๆ

โดยภาครัฐ ภาคเอกชน และสถานประกอบการ เข้ามามีส่วนพัฒนาและฟื้นฟูการศึกษาร่วมกันในทุกระดับ เพื่อสนับสนุนการจัดการเรียนรู้แก่สถานศึกษาที่มีความต้องการจำเป็น ทั้งด้านงบประมาณ สื่อ วัสดุ อุปกรณ์ รวมทั้งการกระจายสัญญาณอินเทอร์เน็ต

Open educational resources

พัฒนาคลังสื่อดิจิทัลเพื่อการเรียนรู้แบบเปิด
และเชื่อมโยงข้อมูลสารสนเทศทางการศึกษา

1. พัฒนาคลังสื่อดิจิทัลเพื่อการเรียนรู้แบบเปิดเพื่อเป็นคลังสื่อกลางในการเรียนรู้ร่วมกันระหว่างครู ผู้เรียน และผู้ปกครอง

โดยรวบรวมสื่อการเรียนรู้และนวัตกรรมการเรียนการสอนสำหรับเผยแพร่ให้ครู ผู้เรียน และผู้ปกครองสามารถเข้าถึงและใช้สื่อการเรียนรู้ร่วมกันได้ และครูผู้สอนสามารถแลกเปลี่ยนและแบ่งปันสื่อในการจัดการเรียนรู้ได้อย่างสะดวกกว้างขวางตามบริบทของสถานศึกษา

2. บูรณาการเชื่อมโยงข้อมูลสารสนเทศที่สำคัญและจำเป็น

โดยออกแบบระบบกลางให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องเข้าถึงข้อมูลที่สำคัญและจำเป็นได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว ให้สถานศึกษาหรือหน่วยงานนำเข้าข้อมูลรายการที่จัดเก็บเพียงครั้งเดียว แล้วสามารถใช้ข้อมูลร่วมกันในการวางแผนและแก้ไขปัญหาการจัดการศึกษาในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้ทันต่อเหตุการณ์

Valuing positive attitudes and well-being

สร้างทัศนคติที่ดีต่อการเรียนรู้และสุขภาวะ
ที่ดีของผู้เรียนทั้งสุขภาพกายและสุขภาพจิต

1. จัดสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมต่อการเรียนรู้

ทั้งสุขภาพกายและสุขภาพจิต ทั้งที่บ้านและในสถานศึกษา ให้มีบรรยากาศที่เป็นมิตรในการเรียนรู้ ให้ผู้เรียนมีความสบายใจในการเรียนรู้

2. ส่งเสริมกิจกรรมพัฒนาสุขภาพกายและสุขภาพจิต

โดยให้ผู้เรียนมีกิจกรรมที่ผ่อนคลาย รับประทานอาหารที่มีประโยชน์ออกกำลังกาย ทำกิจกรรมร่วมกับครอบครัว เพื่อลดความเครียดและวิตกกังวล และเสริมแรงจูงใจเชิงบวกในการเรียนรู้ให้แก่ผู้เรียน รวมทั้งสอดแทรกการเรียนรู้ทักษะการป้องกันภัยให้แก่ผู้เรียนควบคู่กับการเรียนรู้ด้านวิชาการ เพื่อป้องกันและสร้างความปลอดภัยด้านสุขภาพกายและใจแก่ผู้เรียน

3. เสริมสร้างทัศนคติที่ดีในการเรียนรู้และการดำเนินชีวิต

โดยทั้งผู้ปกครองและครูผู้สอนร่วมกันส่งเสริมและพัฒนาทัศนคติที่ดีในการเรียนรู้และการพัฒนาตนเองของผู้เรียน พัฒนากรอบความคิดเชิงบวกหรือแบบเติบโต (Growth mindset) ให้แก่ผู้เรียนอย่างต่อเนื่องตามสถานการณ์ที่เหมาะสม รวมทั้งการปลูกฝังคุณธรรรมและคำนิยมที่พึงประสงค์

4. ส่งเสริมการรู้เท่าทันสื่อเทคโนโลยีให้แก่ผู้เรียน

ให้ผู้เรียนมีความตระหนักและรู้เท่าทันสื่อ รวมถึงการเฝ้าระวังและกำกับติดตามผู้เรียนในการเข้าถึงสื่อ เพราะสื่อที่ไม่เหมาะสมอาจส่งผลต่อการเรียนรู้และสุขภาพจิตของผู้เรียน

5. จัดตั้งระบบช่วยเหลือด้านสุขภาพจิต สังคมและอารมณ์ของผู้เรียนขึ้นในสถานศึกษา

โดยทำความร่วมมือกับกระทรวงสาธารณสุขและกระทรวงการพัฒนาสังคมฯ หรือหน่วยงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องในด้านบุคลากรความรู้ที่มาช่วยสนับสนุนการดำเนินงานของระบบนี้ เช่น นักสาธารณสุข นักจิตวิทยา เป็นต้น

6. สร้างปฏิสัมพันธ์ที่มีคุณภาพระหว่างครูและผู้เรียนทั้งในห้องเรียนและนอกห้องเรียน

ผ่านการสื่อสารในช่องทางต่าง ๆ เพื่อให้คำปรึกษา กำกับติดตามการเรียนรู้ ความก้าวหน้า ความพร้อม และส่งเสริมสนับสนุนในเรื่องต่าง ๆ ให้แก่ผู้เรียน

Elevating learning with Edtech

ยกระดับการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยี
อย่างเป็นระบบและมีประสิทธิภาพ

1. จัดสรรอินเทอร์เน็ตฟรีเพื่อการศึกษา

ให้ครอบคลุมพื้นที่สถานศึกษาทุกแห่งอย่างทั่วถึงและมีประสิทธิภาพ

2. จัดหาอุปกรณ์ เครื่องมือ และโปรแกรมที่ทันสมัยแก่สถานศึกษาและครูผู้สอน

เพื่อจัดการเรียนการสอนในยุคดิจิทัลได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยเร่งจัดหาอุปกรณ์ให้แก่สถานศึกษาที่ขาดแคลนและมีความจำเป็นในลำดับแรก

3. จัดตั้งศูนย์สื่อและเทคโนโลยีทางการศึกษา

ในระดับจังหวัด หรือเขตพื้นที่การศึกษา เพื่อสนับสนุน ช่วยเหลือ และให้คำปรึกษาแก่สถานศึกษาในพื้นที่ให้สามารถใช้เทคโนโลยีในการจัดการเรียนการสอนได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ โดยมีเจ้าหน้าด้านเทคนิคที่สามารถไปช่วยเหลือยังสถานศึกษาได้ตามความต้องการจำเป็น

4. เร่งพัฒนาแพลตฟอร์มการเรียนรู้ที่หลากหลาย

โดยเฉพาะแพลตฟอร์มการเรียนรู้ออนไลน์ที่มีประสิทธิภาพสูงและเชื่อมโยงแพลตฟอร์มการพัฒนาการเรียนรู้อย่างเป็นระบบเพื่อให้ครูและผู้เรียนทุกคนสามารถเข้าถึง และใช้พัฒนาการเรียนรู้ได้ตามความต้องการอย่างเต็มตามศักยภาพและเท่าเทียมกัน

5. สนับสนุนค่าใช้จ่ายหรืออุปกรณ์แก่ผู้เรียนในการเรียนรู้ทางไกล

เช่น ค่าใช้จ่ายรายหัว Smart devices เป็นต้น โดยจัดสรรให้เหมาะสมกับความต้องการที่แท้จริงของผู้เรียน ครอบคลุมกลุ่มที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษ เช่น เด็กด้อยโอกาส เด็กพิการ เป็นต้นเพื่อลดความเหลื่อมล้ำในการเข้าถึงการศึกษาของทุกกลุ่ม

Regarding safety and welfare

จัดสวัสดิการ ความปลอดภัย และสร้างขวัญและกำลังใจ

1. จัดสวัสดิการในการเดินทางและประกันความปลอดภัย

ให้แก่ครูที่ออกปฏิบัติงานนอกสถานศึกษาเช่น ค่าพาหนะ เบี้ยเลี้ยง ทำประกันภัย ฉีดวัคซีน เป็นต้น

2. มีระบบสร้างขวัญและกำลังใจให้แก่ครู

ที่ทุ่มเท เสียสละ และอุทิศตนเพื่อการเรียนการสอนเช่น การยกย่อง การเลื่อนขั้นเงินเดือน การประเมินผลการปฏิบัติงาน เป็นต้น

3.เสริมสร้างระบบและกลไกการดูแลความปลอดภัยของสถานศึกษาให้แก่ผู้เรียน

อย่างมีคุณภาพและได้มาตรฐานโดยต้นสังกัดที่จัดการศึกษา เช่น กระทรวงศึกษาธิการกระทรวงมหาดไทย เป็นต้น ร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ได้แก่กระทรวงสาธารณสุข พัฒนาระบบมาตรฐานความปลอดภัยในสถานศึกษาให้ได้มาตรฐานอย่างต่อเนื่อง ทั้งด้านสุขภาพกายและสุขภาพจิตของผู้เรียน เพื่อป้องกัน ดูแล และช่วยเหลือผู้เรียนได้อย่างทันท่วงทีจากภัยต่าง ๆ ที่จะเป็นอันตรายแก่ผู้เรียนทั้งด้านร่างกายและจิตใจ

เฉลย ใบงาน วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย ม. 4
ดาวน์โหลด เอกสารมาตรการฟื้นฟูภาวะถดถอยทางการเรียนรู้ โดยสำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา 6

คลิกอ่านแบบ PDF : https://online.fliphtml5.com/wbpvz/aqfw/#p=1

ดาวน์โหลดไฟล์

ที่มา : มาตรการฟื้นฟูภาวะถดถอยทางการเรียนรู้
จัดทำโดย สำนักมาตรฐานการศึกษาและพัฒนาการเรียนรู้ สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา

บทความที่เกี่ยวข้อง

  • ดาวน์โหลดรายงานผลการศึกษาภาวะถดถอยทางการเรียนรู้ ของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานในสถานการณ์โควิด-19 โดยสำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา
  • ดาวน์โหลด เอกสารมาตรการฟื้นฟูภาวะถดถอยทางการเรียนรู้ โดยสำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา
  • ตรีนุช เน้นย้ำผอ.เขตฯ เตรียมพร้อมเปิดเทอม 17 พ.ค. เดินหน้าแก้ไขภาวะถดถอยทางการเรียนรู้ อย่างจริงจัง

Share this:

  • Twitter
  • Facebook

Like this:

Like Loading...

  • แท็ก
  • Learning loss
  • ดาวน์โหลด
  • ดาวน์โหลดฟรี
  • ภาวะถดถอยทางการเรียนรู้

Facebook

Twitter

Pinterest

LINE

บทความก่อนหน้านี้แบบทดสอบออนไลน์ เรื่อง วันสิ่งแวดล้อมโลก 2565 ทำผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80 จะได้รับเกียรติบัตร โดยโรงเรียนลาซาลโชติรวีนครสวรรค์ อ.เมือง จ.นครสวรรค์

บทความถัดไปด่วนก่อนเต็ม!! เปิดรับสมัครเพิ่ม หลักสูตร “ยุทธศาสตร์การบริหารและการพัฒนาการเรียนการสอน โรงเรียนวิถีพุทธ” (รูปแบบออนไลน์) สมัครตั้งแต่วันที่ 6 มิ.ย. 65 เวลา 13.00 น. ถึง 10 มิ.ย. 65

ครูอาชีพดอทคอม

https://www.kruachieve.com

บทความโดย : ครูอาชีพดอทคอม ติดตามได้ที่ : https://www.facebook.com/kruachieve เว็บไซต์ : https://www.kruachieve.com

บทความที่เกี่ยวข้องเพิ่มเติมจากผู้เขียน

เฉลย ใบงาน วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย ม. 4

ดาวน์โหลด

แจกไฟล์ E-Book ภาษิต สำนวนไทย ๔ ภาค ฉบับราชบัณฑิตยสภาดาวน์โหลดฟรี

เฉลย ใบงาน วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย ม. 4

ดาวน์โหลด

แจกไฟล์ E-Book สำนวนไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน มากกว่า 128 เรื่อง ดาวน์โหลดฟรี

เฉลย ใบงาน วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย ม. 4

ดาวน์โหลด

ดาวน์โหลดไฟล์ ตัวอย่างเล่มรายงานรางวัล ผลงานวิจัยของคุรุสภา ประจำปี 2566

เฉลย ใบงาน วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย ม. 4

ข้อสอบ

แจกไฟล์ รวมไฟล์ คลังข้อสอบ O-Net ม.6 วิชาสังคมศึกษา ย้อนหลัง ปี 2559-2564 พร้อมเฉลย

เฉลย ใบงาน วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย ม. 4

ข้อสอบ

แจกไฟล์ รวมไฟล์ คลังข้อสอบ O-Net ม.6 วิชาภาษาไทย ย้อนหลัง ปี 2559-2564 พร้อมเฉลย

เฉลย ใบงาน วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย ม. 4

ข้อสอบ

แจกไฟล์ รวมไฟล์ คลังข้อสอบ O-Net ม.6 วิชาภาษาอังกฤษ ย้อนหลัง ปี 2559-2564 พร้อมเฉลย

ทิ้งคำตอบไว้ ยกเลิกการตอบ

กรุณาใส่ความคิดเห็นของคุณ!

กรุณาใส่ชื่อของคุณที่นี่

คุณป้อนที่อยู่อีเมลไม่ถูกต้อง!

กรุณาใส่ที่อยู่อีเมลของคุณที่นี่

บันทึกชื่ออีเมลและเว็บไซต์ของฉันในเบราว์เซอร์นี้ในครั้งต่อไปที่ฉันแสดงความคิดเห็น

Δ

เฉลย ใบงาน วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย ม. 4

ค้นหา

เว็บไซต์พันธมิตรฯ

สอบ IELTS  |  IELTS Life Skills

E-sports     |  รับทำบัญชี

เฉลย ใบงาน วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย ม. 4

เฉลย ใบงาน วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย ม. 4

เฉลย ใบงาน วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย ม. 4

ป้ายกำกับ

Active Learning COVID-19 Starfish Labz ก.ค.ศ. กระทรวงศึกษาธิการ การประกวด ข้อตกลงในการพัฒนางาน (PA) ครูผู้ช่วย คุรุสภา คู่มือ ณัฏฐพล ทีปสุวรรณ ดาวน์โหลด ดาวน์โหลดฟรี ตรีนุช เทียนทอง ทดสอบออนไลน์ บรรจุครู พนักงานราชการ พุทธศาสนา ภาษาอังกฤษ ภาษาไทย รับเกียรติบัตรฟรี ลูกเสือ วPA วิทยฐานะ วิทยฐานะเกณฑ์ใหม่ วิทยาการคำนวณ วิทยาศาสตร์ สพฐ. สมัครงาน สมัครสอบ สสวท สอบครู สอบครูผู้ช่วย สื่อการสอน หลักสูตร อบรมออนไลน์ อบรมออนไลน์ฟรี อัมพร พินะสา เปิดภาคเรียน เรียกบรรจุครูผู้ช่วย เรียนออนไลน์ เสวนาออนไลน์ แผนการจัดการเรียนรู้ โควิด 19 ใบประกอบวิชาชีพ