ข อสอบ las ม.2 ภาษาอ งกฤษ พร อมเฉลย ป 2560

  • 1. Student Assessment (PISA) ขอสอบวิทยาศาสตร โครงการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ (PISA) สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ
  • 2. Student Assessment (PISA) ขอสอบวิทยาศาสตร ชุดที่ 1 โครงการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ (PISA) สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (สสวท.) 1
  • 4. แตละคําตอบจะมีตัวเลขแสดงอยูขางหนา คําถามประเภทนี้ ใหนักเรียนวงกลมลอมรอบตัวเลขที่อยูหนาคําตอบที่นักเรียนคิดวาถูกตอง บางขอมีคําถามใหนักเรียนตอบหลายคําตอบ โดยใหวงกลมลอมรอบคําตอบเดียวในแตละแถว สําหรับคําถามอื่นๆ นักเรียนจะตองเขียนคําตอบสั้นๆ ในทีวางที่เตรียมไวในแบบทดสอบของนักเรียน คําถาม ่ เหลานี้นักเรียนอาจตองเขียนคําตอบเปนตัวหนังสือ วาดภาพ และ/หรือเขียนตัวเลข บางคําถามตองการใหนักเรียนอธิบายคําตอบหรือใหเหตุผลประกอบคําตอบของนักเรียน คําถามเหลานี้มี คําตอบถูกไดหลายคําตอบ นักเรียนจะไดคะแนนจากวิธีที่นักเรียนแสดงความเขาใจของนักเรียนที่มีตอคําถาม และลักษณะการคิดที่นักเรียนแสดงออกมา นักเรียนควรเขียนคําตอบของนักเรียนในเสนบรรทัดที่กําหนดไวให จํานวนเสนบรรทัดจะเปนตัวบอกความยาวอยางคราวๆ ที่นักเรียนควรเขียนตอบ ขอสอบวิทยาศาสตรเหลานี้ เปนขอสอบที่เคยถูกนํามาใชในการประเมินของโครงการประเมินผล นักเรียนนานาชาติ (Programme for International Student Assessment หรือ PISA) ซึ่งบางขอ ถูกใชในการประเมินผลจริง และบางขอถูกใชในการทดลองภาคสนาม ทั้งนี้ ขอสอบเหลานี้ยอมให เผยแพรตอสาธารณชนแลว  คําชี้แจง ขอสอบวิทยาศาสตร ชุดที่ 1 หนา 3
  • 5. 1.6 กม. มีแมน้ําโคโลราโดไหลผานดานลางสุดของหุบเขา จงดูรูปขางลางซึ่งเปนรูปของแกรนดแคนยอนที่ถายจากขอบดานทิศใต สามารถเห็นชั้นหินที่แตกตางกัน หลายชั้นไดชัดตามแนวผนังของหุบเขา หินปูน A หินชนวน A หินปูน B หินชนวน B หินชีสตและหินแกรนิต คําถามที่ 1 : แกรนดแคนยอน S426Q07 ทุกๆ ปมีคนประมาณหาลานคนไปเที่ยวอุทยานแหงชาติแกรนดแคนยอน มีความกังวลกันวาจะมี ความเสียหายที่เกิดกับอุทยานเนื่องจากมีคนไปเที่ยวจํานวนมาก คําถามตอไปนี้สามารถตอบโดยการตรวจสอบทางวิทยาศาสตรไดหรือไม จงเขียนวงกลมลอมรอบ คําวา “ใช” หรือ “ไมใช” ในแตละคําถาม คําถามนี้สามารถตอบโดยการตรวจสอบทางวิทยาศาสตรไดหรือไม ใช หรือ ไมใช การกรอนที่เกิดขึ้นจากการใชเสนทางเดิน มีมากนอยเทาใด ใช / ไมใช พื้นที่ของอุทยานมีความสวยงามเทากับเมื่อ 100 ปกอนหรือไม ใช / ไมใช ขอสอบวิทยาศาสตร ชุดที่ 1 หนา 4
  • 6. แกรนดแคนยอน S426Q03 อุณหภูมิในแกรนดแคนยอนอยูในชวงตั้งแตต่ํากวา 0๐C จนถึงสูงกวา 40๐C แมวาจะเปนบริเวณ ทะเลทราย บางครั้งรอยแตกของหินก็กักเก็บน้ําไว การเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิและน้ําในรอยแตก ของหินไปเรงการแตกราวของหินไดอยางไร 1. น้ําที่เปนน้ําแข็งละลายหินที่รอน 2. น้ําทําใหหินเชื่อมติดกัน 3. น้ําแข็งขัดผิวหนาของหินใหราบเรียบ 4. น้ําที่กําลังแข็งตัวจะขยายตัวในรอยแตกของหิน คําถามที่ 3 : แกรนดแคนยอน S426Q05 มีฟอสซิลของซากสัตวทะเลหลายชนิด เชน หอยกาบ ปลา และปะการัง อยูในชั้นหินปูน A ของ แกรนดแคนยอน มีอะไรเกิดขึ้นเมื่อหลายลานปกอนที่อธิบายวาทําไมฟอสซิลเหลานี้จึงถูกพบที่นั่น 1. ในสมัยโบราณ ผูคนนําอาหารทะเลจากมหาสมุทรเขามาในบริเวณนี้ 2. ครั้งหนึ่งมหาสมุทรมีคลื่นรุนแรงมากและคลื่นยักษพัดพาสิ่งมีชีวิตในทะเลขึ้นมาบนบก 3. ในสมัยกอนบริเวณนั้นเปนบริเวณที่มีมหาสมุทรปกคลุม และไดเหือดแหงไปในตอนหลัง 4. สัตวทะเลบางชนิดครั้งหนึ่งมีชีวิตอยูบนบกกอนที่จะอพยพลงสูทะเล ขอสอบวิทยาศาสตร ชุดที่ 1 หนา 5
  • 7. การวิจัยแสดงวาโรคที่เกี่ยวของกับยาสูบทําใหทั่วโลก มีผูเสียชีวิตเกือบ 13,500 คนในแตละวัน และมีการทํานายวาในป 2020 โรคที่เกี่ยวของกับยาสูบจะ เปนสาเหตุของการตายทั่วโลกประมาณ 12% ควันของยาสูบมีสารที่เปนอันตรายอยูหลายชนิด สวนที่เปนอันตรายมากที่สุดคือ น้ํามันดิน นิโคติน และคารบอนมอนอกไซด คําถามที่ 4 : การสูบยา S439Q01 ควันของยาสูบจะถูกสูดเขาไปสูปอด น้ํามันดินจากควันจะเกาะอยูที่ปอดและขัดขวางการทํางานอยาง เต็มที่ของปอด ขอความใดตอไปนี้เปนหนาที่ของปอด 1. สูบฉีดโลหิตไปยังสวนตางๆ ของรางกาย 2. แลกเปลี่ยนออกซิเจนจากอากาศที่หายใจไปสูเลือด 3. ทําใหเลือดบริสุทธิ์โดยลดคารบอนไดออกไซดจนเปนศูนย 4. เปลี่ยนโมเลกุลของคารบอนไดออกไซดใหเปนโมเลกุลของออกซิเจน คําถามที่ 5 : การสูบยา S439Q02 การสูบยาเพิ่มความเสี่ยงของการเปนมะเร็งปอดและโรคอื่นๆ ความเสี่ยงในการเกิดโรคตอไปนี้เพิ่มขึ้นจากการสูบยาสูบหรือไม จงเขียนวงกลมลอมรอบคําวา “ใช” หรือ “ไมใช” ในแตละคําถาม ความเสี่ยงของการเกิดโรคเหลานี้เพิ่มขึ้นจากการสูบยาสูบหรือไม ใช หรือ ไมใช โรคถุงลมโปงพอง ใช / ไมใช โรคภูมิคุมกันบกพรอง/โรคเอดส ใช / ไมใช โรคอีสุกอีใส ใช / ไมใช ขอสอบวิทยาศาสตร ชุดที่ 1 หนา 6
  • 8. การสูบยา S439Q05 บางคนใชแผนนิโคตินชวยในการเลิกสูบยา แผนนิโคตินจะถูกแปะติดที่ผิวหนังและปลอยนิโคตินสูเลือด เพื่อชวยลดอาการอยากและอาการขาดยาเมื่อหยุดสูบยาแลว การศึกษาผลของแผนนิโคตินกับกลุมของผูสูบที่ตองการเลิกการสูบยาสูบ 100 คน ที่ไดจากการสุม ใช เวลาในการศึกษา 6 เดือน ผลของแผนนิโคตินไดรับการวัดโดยหาวามีอยูกี่คนในกลุมนี้ทไมไดเริ่มสูบ ี่ ยาอีกเมื่อสิ้นสุดการทดลอง การออกแบบการทดลองใดตอไปนี้ทดีที่สุด ี่ 1. ทุกคนในกลุมติดแผนนิโคติน 2. ทุกคนติดแผนนิโคตินยกเวนหนึ่งคนที่พยายามเลิกสูบยาสูบโดยไมติดแผนนิโคติน 3. แตละคนเลือกที่จะติดแผนนิโคตินหรือไมติดก็ไดเพื่อชวยเลิกสูบยาสูบ 4. สุมคนครึ่งหนึ่งใหใชแผนนิโคตินและอีกครึ่งหนึ่งไมใช คําถามที่ 7 : การสูบยา S439Q06 มีวิธีการหลายวิธที่ใชชักจูงใหคนเลิกสูบยาสูบ ี วิธีจัดการกับปญหาการสูบยาสูบตอไปนี้ใชพื้นฐานทางเทคโนโลยีหรือไม จงเขียนวงกลมลอมรอบคําวา “ใช” หรือ “ไมใช” ในแตละคําถาม วิธีที่ใชลดการสูบยาสูบนี้ใชพื้นฐานทางเทคโนโลยีหรือไม ใช หรือ ไมใช ขึ้นราคาบุหรี่ ใช / ไมใช ผลิตแผนนิโคตินเพื่อชวยใหคนเลิกสูบบุหรี่ ใช / ไมใช หามสูบบุหรี่ในบริเวณที่สาธารณะ ใช / ไมใช ขอสอบวิทยาศาสตร ชุดที่ 1 หนา 7
  • 9. (SPF) ที่แสดงวาผลิตภัณฑแตละชนิดดูดกลืนรังสีอัลตราไวโอเลตซึ่งเปน สวนประกอบของแสงแดดไดดีเพียงใด ผลิตภัณฑทมีคา SPF สูงจะปกปองผิวไดนานกวาผลิตภัณฑที่ ี่ มีคา SPF ต่ํา มีนา คิดหาวิธีเปรียบเทียบผลิตภัณฑกันแดดชนิดตางๆ เธอและดนัยจึงไดรวบรวมสิ่งตอไปนี้ แผนพลาสติกใสที่ไมดูดกลืนแสงแดดสองแผน กระดาษไวแสงหนึ่งแผน น้ํามันแร (M) และครีมที่มีสวนประกอบของซิงคออกไซด (ZnO) และ สารกันแดดสี่ชนิด ใชชื่อ S1 S2 S3 และ S4 มีนาและดนัยใชน้ํามันแรเพราะวามันยอมใหแสงแดดสวนใหญผานไปได และใชซิงคออกไซดเพราะกัน แสงแดดไดเกือบสมบูรณ ดนัยหยดสารชนิดละหนึ่งหยดลงภายในวงกลมที่เขียนไวบนแผนพลาสติกแผนหนึ่ง แลวใชแผน พลาสติกแผนที่สองวางทับดานบน ใชหนังสือเลมใหญๆ กดทับบนแผนพลาสติกทั้งสอง M S1 S2 ZnO S3 S4 จากนั้น มีนาวางแผนพลาสติกทั้งสองบนกระดาษไวแสง กระดาษไวแสงมีสมบัติเปลี่ยนสีจากเทาเขม เปนสีขาว (หรือสีเทาออนมากๆ) ขึ้นอยูกับวามันจะถูกแสงแดดนานเทาใด สุดทายดนัยนําแผนที่ซอน กันทุกแผนไปไวในบริเวณที่ถูกแสงแดด แผนพลาสติก กระดาษไวแสง ขอสอบวิทยาศาสตร ชุดที่ 1 หนา 8
  • 10. กันแดด S447Q02 ขอความใดตอไปนี้เปนการบอกถึงบทบาททางวิทยาศาสตรของน้ํามันแรและซิงคออกไซด ที่ใชในการ เปรียบเทียบประสิทธิภาพของสารกันแดด 1. น้ํามันแรและซิงคออกไซดเปนตัวที่ถูกทดสอบทั้งคู 2. น้ํามันแรเปนตัวทีถูกทดสอบ และซิงคออกไซดเปนสารใชเปรียบเทียบผลการทดลอง ่ 3. น้ํามันแรเปนสารใชเปรียบเทียบผลการทดลอง และซิงคออกไซดเปนตัวที่ถูกทดสอบ 4. ทั้งน้ํามันแรและซิงคออกไซดเปนสารใชเปรียบเทียบผลการทดลองทั้งคู คําถามที่ 9 : กันแดด S447Q03 มีนาและดนัยพยายามหาคําตอบของคําถามขอใด ตอไปนี้ 1. สารกันแดดแตละชนิดกันแดดไดเพียงใด เมื่อเปรียบเทียบกับสารกันแดดชนิดอื่น 2. สารกันแดดปกปองผิวของเราจากรังสีอัลตราไวโอเลตไดอยางไร 3. มีสารกันแดดใดหรือไม ที่ใหการปกปองนอยกวาน้ํามันแร 4. มีสารกันแดดใดหรือไม ที่ใหการปกปองมากกวาซิงคออกไซด คําถามที่ 10 : กันแดด S447Q04 ทําไมจึงตองกดแผนพลาสติกใสแผนที่สองลงบนแผนแรก 1. เพื่อไมใหหยดของสารแหงไป 2. เพื่อใหหยดของสารกระจายตัวออกมากที่สุด 3. เพื่อเก็บหยดของสารใหอยูในเครื่องหมายวงกลม 4. เพื่อทําใหหยดของสารมีความหนาเทากัน ขอสอบวิทยาศาสตร ชุดที่ 1 หนา 9
  • 11. กันแดด S447Q05 – 0 1 2 9 กระดาษไวแสงทีมีสีเทาเขม จะจางลงเปนสีเทาออนเมื่อถูกแสงแดดเล็กนอย และเปนสีขาวเมื่อถูก ่ แสงแดดมากๆ แผนผังใดที่แสดงแบบรูปที่อาจเกิดขึ้นไดจากการทดลอง จงอธิบายดวยวาทําไมนักเรียนจึงเลือกขอนั้น 1. 3. M S1 S2 M S1 S2 ZnO S3 S4 ZnO S3 S4 2. 4. M S1 S2 M S1 S2 ZnO S3 S4 ZnO S3 S4 คําตอบ: ............................................................. คําอธิบาย: .......................................................................................................................... ........................................................................................................................................... ........................................................................................................................................... ขอสอบวิทยาศาสตร ชุดที่ 1 หนา 10
  • 12. ธงชัยไปเที่ยวชนบทและปนขึ้นไปบนเขา ซึ่งเขาสังเกตเห็นดาวเปนจํานวน มากในขณะที่ไมสามารถมองเห็นไดเมื่ออยูในเมือง คําถามที่ 12 : แสงของดาว S441Q01 ทําไมจึงสามารถมองเห็นดาวไดเปนจํานวนมากในชนบทเมื่อเทียบกับในเมืองที่มผูคนอาศัยอยูมาก ี 1. ในเมืองมีดวงจันทรที่สวางกวาและบดบังแสงจากดาวอื่นๆ 2. ในชนบทมีฝุนอยูในอากาศมากจึงสะทอนแสงไดดีกวาในเมือง 3. ความสวางของแสงไฟในเมืองทําใหมองเห็นดาวไดยาก 4. อากาศในเมืองอบอุนกวาเนื่องจากการปลอยความรอนจากรถยนต เครื่องจักร และบานเรือน คําถามที่ 13 : แสงของดาว S441Q04 ธงชัยใชกลองโทรทรรศนที่เลนสมีเสนผานศูนยกลางขนาดใหญ เพื่อสองดูดาวที่มีความสวางนอย ทําไมการใชกลองโทรทรรศนที่เลนสมีเสนผานศูนยกลางขนาดใหญ จึงทําใหสังเกตเห็นดาวที่มีความ สวางนอยได 1. เลนสที่มีขนาดใหญขึ้นจะรับแสงไดมากขึ้น 2. เลนสที่มีขนาดใหญขึ้นจะมีกําลังขยายมากขึ้น 3. เลนสขนาดใหญจะทําใหมองเห็นทองฟาไดมากขึ้น 4. เลนสขนาดใหญจะสามารถรับสีเขมจากดาวได ขอสอบวิทยาศาสตร ชุดที่ 1 หนา 11
  • 13. มีกรณีที่ผูคนในละแวกนั้นปวยดวยโรคทางเดินหายใจเรื้อรัง คนในทองถิ่นเชื่อวาอาการ เหลานั้นเกิดจากการปลอยควันพิษออกมาจากโรงงานปุยเคมีที่อยูใกลเคียง ประชาชนมาประชุมกันเพื่ออภิปรายถึงอันตรายที่นาจะเกิดขึ้นจากโรงงานเคมีภัณฑ ซึ่งมีผลตอ สุขภาพของผูที่อยูอาศัยในทองถิ่น นักวิทยาศาสตรไดเสนอขอสรุปตอที่ประชุมดังตอไปนี้ คํากลาวของนักวิทยาศาสตรที่ทํางานใหกับบริษัทเคมี “เราไดศึกษาความเปนพิษตอดินในบริเวณใกลเคียง เราไมพบหลักฐานที่แสดงถึงพิษของ สารเคมีในตัวอยางดินที่เราเก็บมา” คํากลาวของนักวิทยาศาสตรที่ทํางานใหกับประชากรในทองถิ่น “เราศึกษาจํานวนกรณีของความเจ็บไขจากปญหาระบบทางเดินหายใจเรื้อรังในทองถิ่น เปรียบเทียบกับจํานวนกรณีในบริเวณที่หางออกไปจากโรงงานเคมีภัณฑ ปรากฏวาบริเวณที่อยู ใกลกับโรงงานเคมีภัณฑ มีกรณีที่เกิดขึ้นมากกวา” คําถามที่ 14 : ความเสี่ยงของสุขภาพ S515Q01 – 0 1 9 เจาของโรงงานเคมีภัณฑใชคํากลาวของนักวิทยาศาสตรที่ทํางานใหกับบริษัทเพื่อโตแยงวา “การปลอย ควันจากโรงงานไมมีความเสี่ยงตอสุขภาพของผูที่อยูอาศัยในทองถิ่น” จงใหเหตุผลหนึ่งขอที่เปนขอสงสัยในคํากลาวของนักวิทยาศาสตรที่ทํางานกับใหบริษัท ซึ่งคํากลาวนี้ สนับสนุนขอโตแยงของเจาของบริษัท ........................................................................................................................................... ........................................................................................................................................... ขอสอบวิทยาศาสตร ชุดที่ 1 หนา 12
  • 14. ความเสี่ยงของสุขภาพ S515Q03 – 0 1 9 นักวิทยาศาสตรที่ทํางานเกี่ยวกับประชากรไดเปรียบเทียบจํานวนผูปวยดวยโรคทางเดินหายใจเรื้อรัง ซึ่งอาศัยอยูใกลกับโรงงานเคมีภัณฑกับผูปวยที่อยูไกลออกไปจากโรงงาน จงอธิบายความแตกตางที่เปนไปไดหนึ่งประการของสองบริเวณที่นักเรียนคิดวาการเปรียบเทียบ ไมสมเหตุสมผล ........................................................................................................................................... ........................................................................................................................................... ........................................................................................................................................... ขอสอบวิทยาศาสตร ชุดที่ 1 หนา 13
  • 15. การหมุนนี้ทําใหมีพลังงานไฟฟาถูกผลิตจากเครื่องกําเนิดไฟฟาทีถูกหมุนดวยกังหันลม ่ คําถามที่ 16 : การผลิตพลังงานจากลม S529Q01 กราฟขางลางนี้ แสดงความเร็วลมเฉลี่ยตลอดทั้งปในสี่บริเวณที่แตกตางกัน กราฟใดทีชี้บอกบริเวณที่ ่ เหมาะสมในการตั้งเครื่องผลิตกระแสไฟฟาจากพลังลม 1. 2. ความเร็วลม ความเร็วลม 0 0 มกราคม ธันวาคม ธันวาคม มกราคม 3. 4. ความเร็วลม ความเร็วลม 0 0 ธันวาคม มกราคม ธันวาคม มกราคม ขอสอบวิทยาศาสตร ชุดที่ 1 หนา 14
  • 16. การผลิตพลังงานจากลม S529Q02 ยิ่งลมพัดแรงขึ้น ใบพัดของกังหันลมยิ่งหมุนเร็วขึ้น จึงผลิตกําลังไฟฟาไดมากขึ้น อยางไรก็ตาม ไมมี ความสัมพันธโดยตรงระหวางความเร็วลมกับกําลังไฟฟาที่ไดในสถานการณที่เปนจริง ขางลางนี้เปน เงื่อนไขการทํางานของการผลิตพลังงานจากลมในสถานการณที่เปนจริง ใบพัดจะเริ่มหมุนเมื่อความเร็วลมเปน V1 ดวยเหตุผลของความปลอดภัย การหมุนของใบพัดจะไมเพิ่มขึ้นเมื่อความเร็วลมสูงกวา V2 กําลังไฟฟาจะสูงสุด (W) เมื่อความเร็วลมเทากับ V2 ใบพัดจะหยุดหมุนเมื่อความเร็วลมถึง V3 กราฟใดตอไปนี้ที่แสดงไดดีที่สุดถึงความสัมพันธระหวางความเร็วลมและการผลิตกําลังไฟฟาภายใต เงื่อนไขการทํางานเหลานี้ 1. 2. W W กําลังไฟฟา กําลังไฟฟา 0 0 0 V1 V2 V3 0 V1 V2 V3 ความเร็วลม ความเร็วลม 3. 4. W W กําลังไฟฟา กําลังไฟฟา 0 0 0 V1 V2 V3 0 V1 V2 V3 ความเร็วลม ความเร็วลม ขอสอบวิทยาศาสตร ชุดที่ 1 หนา 15
  • 17. การผลิตพลังงานจากลม S529Q03 ยิ่งระดับความสูงเพิ่มขึ้น กังหันลมจะยิ่งหมุนชาลง สําหรับความเร็วลมเทากัน ขอใดตอไปนี้เปนเหตุผลดีที่สุดที่อธิบายวา ทําไมใบพัดของกังหันลมจึงหมุนไดชาลงเมื่ออยูในที่สูงขึ้น สําหรับความเร็วลมเทากัน 1. อากาศหนาแนนนอยลงเมื่อความสูงเพิ่มขึ้น 2. อุณหภูมิลดลงเมื่อความสูงเพิ่มขึ้น 3. แรงโนมถวงลดลงเมื่อความสูงเพิ่มขึ้น 4. ฝนตกบอยขึ้นเมื่อความสูงเพิ่มขึ้น คําถามที่ 19 : การผลิตพลังงานจากลม S529Q04 – 0 1 2 9 จงบอกถึงขอไดเปรียบหนึ่งขอ และขอเสียเปรียบหนึ่งขอของการผลิตพลังงานจากลมเปรียบเทียบกับ การผลิตพลังงานซึ่งใชเชื้อเพลิงฟอสซิล เชน ถานหินและน้ํามัน ขอไดเปรียบ ........................................................................................................................ ........................................................................................................................................... ขอเสียเปรียบ....................................................................................................................... ........................................................................................................................................... ขอสอบวิทยาศาสตร ชุดที่ 1 หนา 16
  • 18. Student Assessment (PISA) ขอสอบวิทยาศาสตร ชุดที่ 2 โครงการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ (PISA) สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (สสวท.)
  • 20. แตละคําตอบจะมีตัวเลขแสดงอยูขางหนา คําถามประเภทนี้ ใหนักเรียนวงกลมลอมรอบตัวเลขที่อยูหนาคําตอบที่นักเรียนคิดวาถูกตอง บางขอมีคําถามใหนักเรียนตอบหลายคําตอบ โดยใหวงกลมลอมรอบคําตอบเดียวในแตละแถว สําหรับคําถามอื่นๆ นักเรียนจะตองเขียนคําตอบสั้นๆ ในทีวางที่เตรียมไวในแบบทดสอบของนักเรียน คําถาม ่ เหลานี้นักเรียนอาจตองเขียนคําตอบเปนตัวหนังสือ วาดภาพ และ/หรือเขียนตัวเลข บางคําถามตองการใหนักเรียนอธิบายคําตอบหรือใหเหตุผลประกอบคําตอบของนักเรียน คําถามเหลานี้มี คําตอบถูกไดหลายคําตอบ นักเรียนจะไดคะแนนจากวิธีที่นักเรียนแสดงความเขาใจของนักเรียนที่มีตอคําถาม และลักษณะการคิดที่นักเรียนแสดงออกมา นักเรียนควรเขียนคําตอบของนักเรียนในเสนบรรทัดที่กําหนดไว ให จํานวนเสนบรรทัดจะเปนตัวบอกความยาวอยางคราวๆ ที่นักเรียนควรเขียนตอบ ขอสอบวิทยาศาสตรเหลานี้ เปนขอสอบที่เคยถูกนํามาใชในการประเมินของโครงการประเมินผล นักเรียนนานาชาติ (Programme for International Student Assessment หรือ PISA) ซึ่งบางขอ ถูกใชในการประเมินผลจริง และบางขอถูกใชในการทดลองภาคสนาม ทั้งนี้ ขอสอบเหลานี้ยอมให เผยแพรตอสาธารณชนแลว  คําชี้แจง ขอสอบวิทยาศาสตร ชุดที่ 2 หนา 3
  • 21. ประวัติของการฉีดวัคซีน แมรี่ มองตากู เปนผูหญิงสวย เธอรอดชีวิตจากการติดเชื้อฝดาษเมื่อป ค.ศ 1715 .แตก็มี แผลเปนปกคลุมบนผิวหนัง ขณะที่อยูในตุรกีในป ค.ศ 1717 . เธอสังเกตวิธีการที่เรียกวา การปลูกฝซึ่งใชกันอยูทั่วไป วิธการนี้ใชการขีดเชื้อไวรัสฝดาษที่ออนแอลงบนผิวหนังของ ี คนทีอายุนอยและมีสุขภาพดี ซึ่งตอมาจะมีอาการไข แตทุกรายจะมีอาการของโรคอยาง ่ ออนๆเทานั้น แมรี่ มองตากู เชื่อมั่นในความปลอดภัยของการปลูกฝ จนยอมใหลูกชายและลูกสาวของเธอ ไดปลูกฝ ในป ค.ศ1796 . เอ็ดเวิรด เจนเนอร ใชวิธีการปลูกฝดวยเชื้อโรคที่ใกลเคียงกันคือ ฝดาษ ในวัว เพื่อผลิตสารตานทานโรคฝดาษ เมื่อเปรียบเทียบกับการปลูกฝดวยเชื้อฝดาษ วิธีการ นี้มีผลขางเคียงนอย และผูที่ไดรับจะไมสามารถแพรเชื้อใหผูอื่น วิธีการนี้เปนที่รูจักกันวา การฉีดวัคซีน คําถามที่ 1 : แมรี่ มองตากู S477Q02 โรคชนิดใดบางที่มนุษยสามารถฉีดวัคซีนปองกันได 1. โรคที่ไดรับการถายทอดทางพันธุกรรม เชน โรคฮีโมฟเลีย (โรคเลือดไหลไมหยุด) 2. โรคที่มีสาเหตุมาจากเชื้อไวรัส เชน โปลิโอ 3. โรคที่เกิดจากการทํางานผิดปกติของรางกาย เชน เบาหวาน 4. โรคทุกชนิดทีไมมีทางรักษา ่ ขอสอบวิทยาศาสตร ชุดที่ 2 หนา 4
  • 22. แมรี่ มองตากู S477Q03 ถาสัตวหรือมนุษยปวยจากการติดเชื้อแบคทีเรียและหายจากโรคแลว แบคทีเรียที่ทําใหเกิดโรคนั้น ปกติจะไมทําใหสัตวหรือมนุษยเกิดอาการปวยซ้ําอีก เพราะเหตุใดจึงเปนเชนนั้น 1. รางกายฆาแบคทีเรียทั้งหมดที่เปนสาเหตุใหเกิดโรคชนิดเดียวกันนี้ 2. รางกายสรางสารตอตาน (แอนติบอดี) ซึ่งฆาแบคทีเรียชนิดนั้นกอนที่จะเพิ่มจํานวน 3. เซลลเม็ดเลือดแดงฆาแบคทีเรียทั้งหมดที่เปนสาเหตุใหเกิดโรคชนิดเดียวกันนี้ 4. เซลลเม็ดเลือดแดงจับและกําจัดแบคทีเรียชนิดนี้ใหหมดไปจากรางกาย คําถามที่ 3 : แมรี่ มองตากู S477Q04 – 0 1 9 จงใหเหตุผลหนึ่งขอวา ทําไมจึงแนะนําใหฉีดวัคซีนปองกันไขหวัดใหญ โดยเฉพาะเด็กและคนแก ........................................................................................................................................... ........................................................................................................................................... ........................................................................................................................................... ขอสอบวิทยาศาสตร ชุดที่ 2 หนา 5
  • 23. ่ เมื่อน้ําตาลเปนสิ่งที่หาไดงายจากการขยายอุตสาหกรรมน้ําตาลจากออย ปจจุบันนี้ เรามีความรูเปนอยางมากเกี่ยวกับฟนผุ ดังตัวอยางเชน: แบคทีเรียที่เปนสาเหตุของฟนผุไดอาหารจากน้ําตาล น้ําตาลถูกเปลี่ยนไปเปนกรด กรดทําลายผิวของฟน การแปรงฟนชวยปองกันฟนผุ ฟน 1 – น้ําตาล 2 – กรด 3 – แรธาตุจากสารเคลือบฟน 2 1 3 แบคทีเรีย คําถามที่ 4 : ฟนผุ S414Q01 แบคทีเรียมีบทบาทใดที่ทําใหเกิดฟนผุ 1. แบคทีเรียสรางสารเคลือบฟน 2. แบคทีเรียสรางน้ําตาล 3. แบคทีเรียสรางแรธาตุ 4. แบคทีเรียสรางกรด ขอสอบวิทยาศาสตร ชุดที่ 2 หนา 6
  • 24. ฟนผุ S414Q04 กราฟตอไปนี้ แสดงถึงการบริโภคน้ําตาลและจํานวนของฟนผุในประเทศตางๆ แตละประเทศแสดง ดวยจุดบนกราฟ 10 คาเฉลี่ยของจํานวนฟนผุตอคน 9 8 ในประเทศตางๆ 7 6 5 4 3 2 1 20 40 60 80 100 120 140 คาเฉลี่ยของการบริโภคน้ําตาล (กรัม/คน/วัน) ขอความใดตอไปนี้ที่สนับสนุนขอมูลที่ไดจากกราฟ ในบางประเทศ ผูคนแปรงฟนบอยครั้งกวาประเทศอื่น 1. การกินน้ําตาลนอยกวา 20 กรัมตอวันจะรับประกันไดวาไมเกิดฟนผุ 2. คนที่กินน้ําตาลมาก ก็จะเกิดฟนผุมากขึ้นดวย 3. ในปที่ผานมานี้ อัตราของการเกิดฟนผุเพิ่มขึ้นในหลายประเทศ 4. ในปที่ผานมานี้ การบริโภคน้ําตาลเพิ่มขึ้นในหลายประเทศ คําถามที่ 6 : ฟนผุ S414Q08 ในประเทศหนึ่ง มีจํานวนฟนผุโดยเฉลี่ยตอคนสูงมาก คําถามตอไปนี้เกี่ยวกับฟนผุในประเทศนี้ สามารถตอบไดโดยการทดลองทางวิทยาศาสตรหรือไม จงเขียนวงกลมลอมรอบคําวา “ใช” หรือ “ไมใช” ในแตละคําถาม คําถามที่เกี่ยวกับฟนผุเหลานี้ สามารถตอบได ใช หรือ ไมใช โดยการทดลองทางวิทยาศาสตรหรือไม การใสฟลูออไรดในน้ําประปาจะมีผลตอฟนผุอยางไร ใช / ไมใช การไปหาทันตแพทยควรเสียคาใชจายเทาใด ใช / ไมใช ขอสอบวิทยาศาสตร ชุดที่ 2 หนา 7
  • 25. ค.ศ. 2004 สามารถมองเห็นดาวศุกรเคลื่อนที่ผานดวงอาทิตยไดในหลายบริเวณของ โลก เรียกปรากฏการณนี้วา “การเคลื่อนผาน” ของดาวศุกร และจะเกิดขึ้นเมื่อวงโคจรของดาวศุกรมา อยูระหวางดวงอาทิตยและโลก การเคลื่อนผานของดาวศุกรครั้งที่แลวเกิดขึ้นในป ค.ศ. 1882 และมี การทํานายวาครั้งตอไปวาจะเกิดขึ้นในป ค.ศ. 2012 รูปขางลาง แสดงถึงการเคลื่อนผานของดาวศุกรในป ค.ศ. 2004 โดยสองกลองโทรทรรศนไปที่ ดวงอาทิตยและฉายภาพลงบนกระดาษขาว พื้นผิวของดวงอาทิตย ดาวศุกร คําถามที่ 7 : การเคลื่อนผานของดาวศุกร S507Q01 ทําไมการสังเกตการเคลื่อนผานของดาวศุกรจึงตองฉายภาพลงบนกระดาษขาวแทนที่จะมองผานกลอง โทรทรรศนดวยตาเปลาโดยตรง 1. แสงอาทิตยสวางมากเกินไปที่จะมองเห็นดาวศุกรได 2. ดวงอาทิตยมีขนาดใหญมากจนมองเห็นไดโดยไมตองขยาย 3. การมองดวงอาทิตยผานกลองโทรทัศนอาจเปนอันตรายตอดวงตา 4. ตองทําภาพใหเล็กลงดวยการฉายลงบนกระดาษ ขอสอบวิทยาศาสตร ชุดที่ 2 หนา 8
  • 26. การเคลื่อนผานของดาวศุกร S507Q02 เมื่อมองจากโลก สามารถมองเห็นการเคลื่อนผานดวงอาทิตยของดาวเคราะหดวงใดไดในบางเวลา 1. ดาวพุธ 2. ดาวอังคาร 3. ดาวพฤหัส 4. ดาวเสาร คําถามที่ 9 : การเคลื่อนผานของดาวศุกร S507Q04 – 0 1 9 ขอความตอไปนี้มีคําหลายคําในขอความถูกขีดเสนใตไว นักดาราศาสตร ทํานายวาการมองจากดาวเนปจูนจะเห็นการเคลื่อนผานของดาวเสารผานดวงอาทิตย ในชวงปลายศตวรรษนี้ คําที่ขีดเสนใตสามคําใดที่เปนคําที่มีประโยชนที่สุดในการคนหาขอสนเทศจากอินเทอรเน็ต หรือ หองสมุด เพื่อคนหาวาจะเกิดการเคลื่อนผานเมื่อใด ........................................................................................................................................... ........................................................................................................................................... ........................................................................................................................................... ขอสอบวิทยาศาสตร ชุดที่ 2 หนา 9
  • 27. ซึ่งถูกสรางไวที่มหาวิหารอโครโพลิส ในกรุงเอเธนสเมื่อกวา 2,500 ปมาแลว รูปแกะสลักนี้ทําดวยหินชนิดหนึ่งที่เรียกวาหินออน หินออนประกอบดวยแคลเซียมคารบอเนต ในป ค.ศ.1980 รูปแกะสลักเดิมถูกยายมาอยูภายในพิพิธภัณฑของอโครโพลิส และเอารูปสลักจําลอง  วางไวแทนที่ เนื่องจากรูปแกะสลักเดิมถูกกัดกรอนจากฝนกรด คําถามที่ 10 : ฝนกรด S485Q02 – 0 1 2 9 น้ําฝนปกติมีความเปนกรดเล็กนอย เพราะน้ําฝนดูดซับคารบอนไดออกไซดจากอากาศ ฝนกรดมี ความเปนกรดมากกวาน้ําฝนปกติ เพราะฝนกรดดูดซับกาซ เชน ออกไซดของซัลเฟอรและออกไซด ของไนโตรเจนไวดวย ออกไซดของซัลเฟอร และออกไซดของไนโตรเจนในอากาศมาจากไหน ........................................................................................................................................... ........................................................................................................................................... ขอสอบวิทยาศาสตร ชุดที่ 2 หนา 10
  • 28. เราสามารถชั่งน้ําหนักของหินออนแหงกอนและหลังการทดลองได คําถามที่ 11 : ฝนกรด S485Q03 หินออนชิ้นเล็กๆ กอนใสลงในน้ําสมสายชูมีมวล 2.0 กรัม เมื่อใสลงในน้ําสมสายชูทิ้งไวคางคืน วันรุงขึ้นนําเศษหินขึ้นมาและทําใหแหง มวลของหินออนที่แหงแลวควรเปนเทาใด 1. นอยกวา 2.0 กรัม 2. 2.0 กรัมเทาเดิม 3. ระหวาง 2.0 – 2.4 กรัม 4. มากกวา 2.4 กรัม คําถามที่ 12 : ฝนกรด S485Q05 – 0 1 2 9 นักเรียนทีทําการทดลองขางตน ไดทดลองใสหินออนชิ้นเล็กๆ ลงในน้ําบริสุทธิ์ (น้ํากลั่น) ่ และทิ้งคางคืนไวเชนกัน จงอธิบายเหตุผลวา ทําไมนักเรียนผูนจึงทําการทดลองขั้นตอนนีดวย ี้ ้ ........................................................................................................................................... ........................................................................................................................................... ขอสอบวิทยาศาสตร ชุดที่ 2 หนา 11
  • 29. แสดงขอสนเทศของฟอสซิลสามชนิดและมาในยุคปจจุบัน อีควุส ชื่อ ไฮราโคเธเรียม เมโซฮิปปุส เมอรี่ฮิปปุส (มาในปจจุบัน) รูปราง ภายนอก (มาตราสวน เดียวกัน) ชวงเวลาที่มี 55 ถึง 50 ลานป 39 ถึง 31 ลานป 19 ถึง 11 ลานป 2 ลานปกอนถึง ชีวิต กอน กอน กอน ปจจุบัน โครงกระดูก ของขา (มาตราสวน เดียวกัน) ขอสอบวิทยาศาสตร ชุดที่ 2 หนา 12
  • 30. วิวัฒนาการ S472Q01 – 0 1 2 9 ขอสนเทศใดในตารางที่แสดงวา มาในยุคปจจุบันมีวิวัฒนาการมาจากซากฟอสซิลทั้งสามชนิดใน ตาราง จงอธิบาย ........................................................................................................................................... ........................................................................................................................................... ........................................................................................................................................... คําถามที่ 14 : วิวัฒนาการ S472Q02 การวิจัยเพิ่มเติมในเรื่องใดที่นักวิจัยสามารถทําเพื่อใหคนพบวามามีวิวัฒนาการอยางไร ในชวงเวลาที่ ผานมา จงเขียนวงกลมลอมรอบคําวา “ใช” หรือ “ไมใช” ในแตละขอความ งานวิจัยนี้จะชวยใหคนพบไดวามามีวิวัฒนาการอยางไรใน ใช หรือ ไมใช ชวงเวลาที่ผานมา ใชหรือไม เปรียบเทียบจํานวนของมาที่มีชีวิตอยูในชวงเวลาที่ตางกัน ใช / ไมใช คนหาโครงกระดูกของบรรพบุรุษมาที่มีชีวิตในชวง 50 – 40 ใช / ไมใช ลานปกอน คําถามที่ 15 : วิวัฒนาการ S472Q03 ขอความใดตอไปนี้ที่นํามาประยุกตใชไดดีที่สุดกับทฤษฎีวิวัฒนาการ 1. ทฤษฏีไมสามารถเชื่อถือไดเพราะเปนไปไมไดที่สามารถเห็นการเปลี่ยนแปลงของสปชีส 2. ทฤษฎีวิวัฒนาการของสัตวเปนไปได แตไมสามารถนํามาประยุกตใชกับมนุษยได 3. วิวัฒนาการเปนทฤษฎีทางวิทยาศาสตรที่ปจจุบันนี้อยูบนพื้นฐานของการสังเกตเปนจํานวนมาก 4. วิวัฒนาการเปนทฤษฎีที่ไดรับการพิสูจนแลววาถูกตองโดยการทดลองทางวิทยาศาสตร ขอสอบวิทยาศาสตร ชุดที่ 2 หนา 13
  • 31. ซึ่งออนและเปนมันกวา ลิปมัน ลิปสติก สวนผสม : สวนผสม : น้ํามันละหุง 5 กรัม น้ํามันละหุง 5 กรัม ไขผึ้ง 0.2 กรัม ไขผึ้ง 1 กรัม ไขมันปาลม 0.2 กรัม ไขมันปาลม 1 กรัม สีผสมอาหาร 1 ชอนชา สีผสมอาหาร 1 ชอนชา สารแตงรสชาติ 1 หยด สารแตงรสชาติ 1 หยด วิธีทํา : วิธีทํา : อุนน้ํามันและไขในอางน้ําจนผสมกันดี จากนั้น อุนน้ํามันและไขในอางน้ําจนผสมกันดี จากนั้น เติมสีผสมอาหารและสารแตงรสชาติ แลวผสม เติมสีผสมอาหารและสารแตงรสชาติ แลวผสม ใหเขากัน ใหเขากัน คําถามที่ 16 : ลิปมัน S470Q01 – 0 1 9 ในการทําลิปมันและลิปสติก น้ํามันและไขถูกผสมเขาดวยกัน แลวเติมสีผสมอาหารและสารแตงรสชาติ ลิปสติกทีทําจากสวนผสมนี้จะแข็งและใชยาก นักเรียนจะเปลี่ยนสัดสวนของสวนผสมอยางไรเพื่อทําให ่ ลิปสติกออนลงกวาเดิม ........................................................................................................................................... ........................................................................................................................................... ........................................................................................................................................... ขอสอบวิทยาศาสตร ชุดที่ 2 หนา 14
  • 32. ลิปมัน S470Q02 น้ํามันและไขเปนสารที่ผสมกันไดอยางดี น้ําไมผสมกับน้ํามัน และไขก็ไมละลายในน้ํา ขอใดตอไปนี้นาจะเกิดขึ้นไดมากทีสุด ถาน้ําจํานวนมาก หกลงในสวนผสมของลิปสติกในขณะกําลังอุน ่ 1. ไดของผสมที่มันและออนตัวกวา 2. ของผสมจับตัวกันแนนขึ้น 3. ของผสมแทบจะไมเปลี่ยนไปเลย 4. มีกอนไขมันลอยอยูเหนือผิวน้ํา คําถามที่ 18 : ลิปมัน S470Q03 เมื่อเติมสารที่เรียกวาอิมัลซิฟายเออรลงไปจะทําใหน้ํามันและไขผสมกันไดกับน้ํา ทําไมสบูและน้ําจึงสามารถลบลิปสติกออกได 1. น้ํามีอิมัลซิฟายเออรที่ทําใหสบูและลิปสติกผสมกันได 2. สบูทําหนาที่เปนอิมัลซิฟายเออร ทําใหน้ําและลิปสติกผสมกันได 3. อิมัลซิฟายเออรในลิปสติกทําใหสบูและน้ําผสมกันได 4. สบูและลิปสติกผสมกันจนเปนอิมัลซิฟายเออรที่ผสมกับน้ําได ขอสอบวิทยาศาสตร ชุดที่ 2 หนา 15
  • 33. มหาสมุทรของอากาศและทรัพยากรธรรมชาติที่มีคายิ่งสําหรับการดํารงชีวิตบนโลก แต โชครายที่กิจกรรมของมนุษย ทั้งเพื่อประโยชนตนหรือประโยชนชาติ กําลังกอใหเกิดผลกระทบตอทรัพยากร สวนรวมนี้ ที่เห็นชัดคือ การทําลายชั้นโอโซนอันเปราะบาง ซึ่งทําหนาที่เปนเสมือนโลปกปองชีวิตบนโลก โมเลกุลของโอโซนประกอบดวยออกซิเจน 3 อะตอม ซึ่งตรงขามกับโมเลกุลของออกซิเจนที่ประกอบดวย ออกซิเจนเพียง 2 อะตอม โมเลกุลของโอโซนมีนอยมาก มีนอยกวา 10 โมเลกุล ในทุกๆ หนึ่งลานโมเลกุล ของอากาศ อยางไรก็ตามเกือบพันลานปมาแลวที่โอโซนทําหนาที่ปกปองสิ่งมีชีวิตบนโลกใหปลอดภัย แตโอโซนอาจทําไดทั้งปกปอง หรือทํารายสิ่งมีชีวิตบนโลก ทั้งนี้ขึ้นอยูกับตําแหนงที่มันอยู โอโซนที่อยูใน ชั้นโทรโปสเฟยร (สูงขึ้นไปจากผิวโลก จนถึง 10 กม.) เปนโอโซน “เสีย” ที่สามารถทําลายเยื่อปอด และ ทําลายพืชได แตโอโซนประมาณ 90% จะอยูในบรรยากาศชั้นสตราโทรเฟยร (ระหวาง 10 ถึง 40 กม. เหนือผิวโลก) เปนโอโซน “ดี” ซึ่งเลนบทบาทเปนผูคุมครอง โดยทําหนาที่ดูดซับรังสีอัลตราไวโอเลตที่เปน อันตราย (UV-B) ที่แผมาจากดวงอาทิตย หากปราศจากชั้นโอโซนที่มีประโยชนนี้ มนุษยจะเปนโรคบางอยางไดงาย เนื่องจากไดรับรังสีอัลตราไวโอเลต จากดวงอาทิตยมากขึ้น ในสิบปที่ผานมา ปริมาณโอโซนไดลดลง ในป พ.ศ. 2517 มีการตั้งสมมุติฐานวา สารคลอโรฟลูออโรคารบอน (CFCs) อาจเปนสาเหตุนี้ จนกระทั่งป พ.ศ. 2540 การศึกษาความสัมพันธ เชิงเหตุ-ผล ก็ไมสามารถสรุปไดแนนอนวาสาร CFCs เปนสาเหตุ อยางไรก็ตาม ในเดือนกันยายน พ.ศ. 2541 ผูแทนจากทั่วโลก ไดมาประชุมที่เมืองมอนทรีอัล (แคนนาดา) และตกลงกันที่จะจํากัดการใชสาร CFCs อยางเขมงวด ขอสอบวิทยาศาสตร ชุดที่ 2 หนา 16
  • 34. โอโซน S253Q01 – 01 11 12 21 22 23 31 99 ในบทความขางบนนี้ ไมไดกลาวถึงการเกิดโอโซนในบรรยากาศ ตามความเปนจริงในแตละวันจะมี โอโซนบางสวนเกิดขึ้นใหม และมีบางสวนหายไป วิธีการเกิดโอโซน แสดงไดดังรูปการตูนตอไปนี้ สมมุติคุณลุงของนักเรียนพยายามจะทําความเขาใจกับการตูนนี้ แตเขาไมเคยไดเรียนวิทยาศาสตรใน โรงเรียน และไมเขาใจวาผูเขียนการตูนกําลังอธิบายอะไร เขารูวาในบรรยากาศไมมีเจาตัวเล็กๆ แต สงสัยวาเจาตัวเล็กๆ ในภาพแทนอะไร เครื่องหมาย O2 และ O3 หมายถึงอะไร และการตูนนี้แสดง กระบวนการอะไร คุณลุงตองการคําอธิบายจากนักเรียน โดยสมมติวาคุณลุงของนักเรียน  ทราบแลววา O เปนสัญลักษณแทนออกซิเจน  ทราบแลววา อะตอม และโมเลกุลคืออะไร จงเขียนคําบรรยายภาพของการตูนสําหรับคุณลุง ในคําบรรยาย ใหใชคําวา อะตอม และโมเลกุล ในทํานองเดียวกับที่ใชในบรรทัดที่ 4 และ 5 ........................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................ ขอสอบวิทยาศาสตร ชุดที่ 2 หนา 17
  • 35. โอโซน S253Q02 โอโซนเกิดขึ้นไดในขณะเกิดพายุฟาคะนอง ซึ่งทําใหมีกลิ่นเฉพาะหลังพายุฟาคะนอง ในบรรทัดที่ 8 ถึง 10 ผูเขียนไดกลาวถึง “โอโซนเสีย" และ “โอโซนดี” โอโซนที่เกิดขึ้นในระหวางเกิดพายุฟาคะนองเปน โอโซนเสีย หรือ โอโซนดี จงเลือกคําตอบและคําอธิบายที่มีขอมูลสนับสนุนจากบทความ โอโซนเสียหรือ คําอธิบาย โอโซนดี 1. เสีย มันเกิดขึ้นในขณะที่ภูมิอากาศไมดี 2. เสีย มันเกิดขึ้นในโทรโปสเฟยร 3. ดี มันเกิดขึ้นในสตราโทสเฟยร 4. ดี มันมีกลิ่นดี คําถามที่ 21 : โอโซน S253Q05 – 0 1 9 บรรทัดที่ 12 และ 13 กลาววา “หากปราศจากชั้นโอโซนที่มีประโยชนนี้ มนุษยจะมีโอกาสเปนโรค บางอยางไดงาย เนื่องจากไดรับรังสีอัลตราไวโอเลตจากดวงอาทิตยมากขึ้น” จงบอกชื่อของโรคเฉพาะเหลานี้มา 1 อยาง ........................................................................................................................................... ขอสอบวิทยาศาสตร ชุดที่ 2 หนา 18
  • 36. โอโซน S270Q03 ในตอนทายของเรื่อง ไดกลาวถึงการประชุมนานาชาติในมอนทรีอัล ในการประชุมนั้นมีการนําคําถามที่ เกี่ยวกับการที่ชั้นโอโซนถูกทําลายมาอภิปรายกันมากมาย ดังเชน 2 คําถาม ที่แสดงไวในตาราง ขางลางนี้ คําถามเหลานี้สามารถตอบโดยการวิจัยทางวิทยาศาสตร ไดหรือไม ใหเขียนวงกลมลอมรอบคําวา ได หรือ ไมได ในแตละขอ ตอบโดยการวิจัยทาง คําถาม วิทยาศาสตร ไดหรือไม การที่นักวิทยาศาสตรยังสรุปแนนอนไมไดวา สาร CFCs มี อิทธิพลตอการทําลายชั้นโอโซน รัฐบาลควรจะถือเอาเปน ได / ไมได เหตุผลที่จะไมทําอะไรเลย ใช หรือไม ความเขมขนของสาร CFCs ในบรรยากาศจะเปนเทาไร ในป พ.ศ. 2545 ถาการปลอยสาร CFCs เขาสูบรรยากาศ เกิดขึ้น ได / ไมได ในอัตราเดียวกับที่เปนอยูในปจจุบัน ขอสอบวิทยาศาสตร ชุดที่ 2 หนา 19
  • 37. Student Assessment (PISA) ขอสอบวิทยาศาสตร ชุดที่ 3 โครงการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ (PISA) สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (สสวท.)

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

แปลภาษาไทย ไทยแปลอังกฤษ โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน lmyour แปลภาษา ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv แปลภาษาอาหรับ-ไทย แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip แอพแปลภาษาอาหรับเป็นไทย ค้นหา ประวัติ นามสกุล ห่อหมกฮวกไปฝากป้า หนังเต็มเรื่อง ไทยแปลอังกฤษ ประโยค Terjemahan เมอร์ซี่ อาร์สยาม ล่าสุด แปลภาษาจีน กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น ่้แปลภาษา Google Translate ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย พร บ ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 วิธีใช้มิเตอร์วัดไฟดิจิตอล สหกรณ์ออมทรัพย์กรมส่งเสริมการปกครอง ส่วนท้องถิ่น ห่อหมกฮวก แปลว่า Bahasa Thailand Thailand translate mu-x มือสอง รถบ้าน การวัดกระแสไฟฟ้า ด้วย แอมมิเตอร์ การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 4 ก่อนจะนิ่งก็ต้องกลิ้งมาก่อน เนื้อเพลง ก่อนจะนิ่งก็ต้องกลิ้งมาก่อน แคปชั่น พจนานุกรมศัพท์ทหาร ภูมิอากาศ มีอะไรบ้าง สถาบันพัฒนาบุคลากรท้องถิ่น อาจารย์ ตจต อเวนเจอร์ส ทั้งหมด เขียน อาหรับ แปลไทย ใบรับรอง กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน Google map Spirited Away 2 spirited away ดูได้ที่ไหน tor คือ จัดซื้อจัดจ้าง กินยาคุมกี่วัน ถึง ปล่อยในได้ ธาตุทองซาวด์เนื้อเพลง บช.สอท.ตำรวจไซเบอร์ ล่าสุด บบบย มิติวิญญาณมหัศจรรย์ ตอนจบ รหัสจังหวัด อําเภอ ตําบล ศัพท์ทางทหาร military words สอบ O หยน