ทางคอนกร ต ไม ม ไหล ทางม ผลเส ยไหม

หากคุณมีอาการเหล่านี้ คุณอาจกำลังตกอยู่ในภาวะเสี่ยงที่จะเป็นโรคลำไส้อักเสบโดยไม่รู้ตัว ... ดังนั้นเรามาทำความรู้จักกับโรคลำไส้อักเสบกันค่ะ

โรคลำไส้อักเสบคืออะไร?

โรคลำไส้อักเสบ (Ulcerative Colitis) คือ โรคที่มีการอักเสบของระบบทางเดินอาหารชนิดหนึ่ง ซึ่งเกิดการอักเสบที่เยื่อบุผนังบริเวณลำไส้ใหญ่ ส่งผลให้เกิดแผลที่ผนังทางเดินอาหาร โดยอาการอักเสบที่เกิดขึ้นส่งผลให้เกิดเลือดออกที่ผนังลำไส้ ทำให้ลำไส้บีบตัวเร็วขึ้น ผู้ป่วยจึงมีอาการปวดท้อง ท้องร่วง ถ่ายมีมูกเลือดปนออกมา ทั้งนี้เกิดจากการหลุดลอกของเยื่อบุผนังลำไส้ที่มีเกิดการอักเสบนั่นเอง

โรคลำไส้อักเสบ เกิดจากสาเหตุใด?

ทางการแพทย์ยังไม่พบสาเหตุที่ทำให้เกิดโรคลำไส้อักเสบ แต่สาเหตุที่เป็นไปได้นั้นอาจเกิดจากระบบภูมิคุ้มกันร่างกายทำงานผิดปกติ เพราะโดยปกติแล้วระบบภูมิคุ้มกันจะทำหน้าที่ป้องกันและกำจัดสิ่งแปลกปลอมที่เข้ามาในร่างกายอย่างเชื้อไวรัสหรือแบคทีเรีย แต่เมื่อระบบภูมิคุ้มกันทำงานผิดปกติจึงทำให้เชื้อโรคเข้าสู่ร่างกายได้ง่ายขึ้น ดังนั้นจึงทำให้เกิดการติดเชื้อและการอักเสบที่ลำไส้ตามมา ส่วนในกรณีที่ผู้ป่วยมีระบบภูมิคุ้มกันที่ทำงานผิดปกติเป็นระยะเวลานานๆ อาจทำให้เกิดอาการลำไส้อักเสบเรื้อรังได้

อาการที่บ่งชี้ว่าคุณกำลังเป็นโรคลำไส้อักเสบ

อาการที่พบได้บ่อยในโรคลำไส้อักเสบ คือ ท้องเสียหรือท้องร่วงร่วมกับปวดท้อง โดยอาการปวดท้องนั้นจะมีลักษณะแบบปวดบีบๆ นอกจากนั้นอาจมีอาการอื่นที่พบร่วมด้วย เช่น

  • ลักษณะอุจจาระอาจเหลว เป็นน้ำ เป็นมูกหรือเป็นมูกเลือด
  • มีไข้สูง หรือ ไข้ต่ำ รู้สึกหนาวสั่น
  • คลื่นไส้ อาเจียน
  • อ่อนเพลีย

หากท้องเสียมาก มีอาเจียนร่วมด้วย และดื่มน้ำได้น้อย อาจทำให้เกิดภาวะขาดน้ำได้ ซึ่งถ้ามีอาการดังที่กล่าวมาอย่างรุนแรง อาการไม่ดีขึ้นหรืออาการแย่ลงภายใน 24 ชั่วโมง ควรรีบไปโรงพยาบาลเพื่อพบแพทย์ แต่ถ้ากรณีมีไข้สูง ปวดท้องมากและเกิดอาการจากภาวะขาดน้ำ เช่น ตาโหล ปากแห้ง วิงเวียน เป็นลม ใจสั่น ต้องรีบไปโรงพยาบาลโดยทันที

ปัญหาต่อมทอนซิลอักเสบพบได้บ่อยทั้งในเด็กและผู้ใหญ่ โดยจะมีอาการมากน้อยแตกต่างกันออกไป ซึ่งหากมีการอักเสบบ่อย ๆ เป็นซ้ำหลาย ๆ ครั้งภายในปีเดียว อาจเรื้อรังจนรุนแรงได้ ดังนั้นจึงไม่ควรชะล่าใจและรีบรักษาโดยเร็วตามคำแนะนำของแพทย์เพื่อให้ใช้ชีวิตได้เต็มที่ในทุก ๆ วัน

รู้จักต่อมทอนซิล

ต่อมทอนซิล คือ เนื้อเยื่อต่อมน้ำเหลืองที่ภายในมีเม็ดเลือดขาวหลายชนิดอยู่ในลำคอทั้งสองข้าง โดยมีหน้าที่หลักในการดักจับและกำจัดเชื้อโรคที่จะเข้าสู่ทางเดินหายใจและทางเดินอาหาร และมีบทบาทบางส่วนในการสร้างภูมิคุ้มกัน โดยปัญหาที่พบบ่อย คือ ต่อมทอนซิลเกิดการอักเสบ หรือต่อมทอนซิลมีขนาดโตผิดปกติ ส่งผลกระทบกับการหายใจและการกลืนของผู้ป่วยได้

ทอนซิลอักเสบเฉียบพลัน

ภาวะทอนซิลอักเสบเฉียบพลันเป็นสาเหตุของการเจ็บคอที่พบบ่อย พบได้ทั้งในเด็กและผู้ใหญ่ โดยพบได้บ่อยกว่าในเด็กอายุน้อยกว่า 10 ปี สาเหตุของการอักเสบมักเกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรียและไวรัส ผู้ป่วยทอนซิลอักเสบมักมีอาการ เช่น เจ็บคอ บางครั้งอาจเจ็บจนร้าวไปหู มีไข้หนาวสั่น กลืนเจ็บ กลืนลำบาก อาจคลำได้ต่อมน้ำเหลืองที่คอบวมโต ในผู้ป่วยเด็กอาจมีน้ำลายไหลหรืออาเจียนหลังทานอาหาร โดยหากมีอาการอักเสบบ่อย ๆ ทำให้ต่อมมีขนาดที่โตขึ้นและอาจกลายเป็นการอักเสบแบบเรื้อรัง มีการอักเสบซ้ำ ๆ ปีละหลายครั้ง หรือระคายเคืองคอเรื้อรัง มีกลิ่นปาก

การรักษาทอนซิลอักเสบเฉียบพลัน

การรักษาทอนซิลอักเสบเฉียบพลัน โดยปกติแพทย์จะพิจารณาให้การรักษาตามอาการ เช่น ยาลดไข้ ยาแก้ปวด ยาปฏิชีวนะ หรือยาแก้อักเสบตามเชื้อที่สงสัย โดยเฉพาะจากเชื้อแบคทีเรีย โดยควรได้รับยาปฏิชีวนะอย่างน้อย 7 – 10 วัน หากอาการไม่ดีขึ้น มีอาการรุนแรง ไข้สูง มีภาวะขาดน้ำขาดอาหาร อาจจำเป็นต้องเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลเพื่อให้น้ำเกลือหรือยาปฏิชีวนะทางเส้นเลือด ในกรณีที่พบภาวะแทรกซ้อนของทอนซิลอักเสบ เช่น การอักเสบติดเชื้อกระจายเป็นวงกว้าง เกิดหนองบริเวณรอบต่อมทอนซิล เกิดภาวะการติดเชื้อเข้าไปในกระแสเลือด ซึ่งเป็นภาวะที่มีอันตรายถึงแก่ชีวิต อาจจำเป็นจะต้องอาศัยการผ่าตัดเพื่อระบายหนองหรือการติดเชื้อร่วมกับการให้ยา

ชื่ออื่นๆ ท่อม อีถ่าง

ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : กระท่อมเป็นไม้ยืนต้นขนาดใหญ่ปานกลาง มีแก่นเป็นไม้เนื้อแข็ง สูง10 -15 เมตร อยู่ในตระกูล Mitragyna speciosa ใบคล้ายใบกระดังงา มีชนิดก้านใบแดงและใบเขียว ดอกกลมโตขนาดเท่าผลพุทรา ใบเป็นใบเดี่ยวสีเขียว เรียงตัวเป็นคู่ตรงข้าม แผ่นใบขนาดกว้างประมาณ
5-10 ซม. ยาวประมาณ 8-14 ซม. ดอกมีสีขาวอมเหลืองออกเป็นช่อตุ้มกลมขนาด 3-5 ซม.

แหล่งที่พบ ในบางจังหวัดของภาคกลาง เช่น ปทุมธานี แต่จะพบมากในป่าธรรมชาติบริเวณภาคใต้ เช่น สุราษฎร์ธานี นครศรีธรรมราช ตรัง สตูลพัทลุง สงขลา ยะลา ปัตตานี นราธิวาส และตอนบนของประเทศมาเลเซีย

ชื่อวิทยาศาสตร์ Mitragyna speciosa Korth. อยู่ในวงศ์ Rubiaceae

สารเสพติดที่พบในใบกระท่อม คือ ไมทราไจนีน (Mitragynine) เป็นสารจำพวกอัลคาลอยด์ ออกฤทธิ์กดประสาทส่วนกลาง (CNS depressant) เช่นเดียวกับยาเสพติดกลุ่มเดียวกัน เช่น psilocybin LSD และ ยาบ้า

วิธีเสพ เคี้ยวใบสดหรือบดใบแห้งให้เป็นผง ละลายน้ำดื่ม บางรายเติมเกลือด้วยเล็กน้อยเพื่อป้องกันท้องผูก ส่วนมากจะเคี้ยวเพียง 2-3 ใบ และดื่มน้ำอุ่น หรือกาแฟร้อนตาม ใช้วันละ 3-10 ครั้งต่อวันตามอาการเหนื่อย เมื่อใช้ไประยะหนึ่ง ปริมาณการใช้จะเพิ่มขึ้น (ประมาณร้อยละ 37 ใช้วันละ 21-30 ใบ)

ผลจากการเสพ พบว่าหลังเคี้ยวใบกระท่อมไปประมาณ 5-10 นาที จะมีอาการเป็นสุข กระปรี้กระเปร่า ไม่รู้สึกหิว (ไม่อยากอาหาร) กดความรู้สึกเมื่อยล้าขณะทำงาน ทำให้สามารถทำงานได้นาน และทนแดดมากขึ้น แต่จะเกิดอาการกลัวหนาวสั่นเวลาอากาศครึ้มฟ้าครึ้มฝน ผู้เสพจะมีผิวหนังแดงเพราะเลือดไปเลี้ยงผิวหนังมากขึ้น อาการข้างเคียง ได้แก่ ปากแห้ง ปัสสาวะบ่อย เบื่ออาหาร ท้องผูก อุจจาระแข็งเป็นก้อนเล็กๆ นอนไม่หลับ ถ้าเสพใบกระท่อมในปริมาณมากๆ จะทําให้มึนงง และคลื่นไส้อาเจียน (เมากระท่อม) แต่ในบางรายเสพเพียง 3 ใบ ก็ทำให้เมาได้ ในรายที่เสพใบกระท่อมมากๆ หรือเป็นระยะเวลานาน มักจะทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของเม็ดสีขึ้นที่บริเวณผิวหนัง ทำให้ผู้ที่รับประทานมีผิวคล้ำและเข้มขึ้น และยังพบอีกว่าเสพกระท่อมโดยไม่ได้รูดเอาก้านใบออกจากตัวใบก่อน อาจจะทำให้เกิดอาการที่เรียกว่า “ถุงท่อม” ในลำไส้ได้ เนื่องจากก้านใบและใบของกระท่อมไม่สามารถย่อยได้ จึงตกตะกอนติดค้างอยู่ภายในลำไส้ ทำให้ขับถ่ายออกมาไม่ได้ เกิดพังผืดขึ้นมาหุ้มรัดอยู่โดยรอบก้อนกากกระท่อมนั้น ทำให้เกิดเป็นก้อนถุงขึ้นมาในลำไส้ บางรายจะมีอาการโรคจิตหวาดระแวง เห็นภาพหลอน คิดว่าคนจะมาทำร้ายตน และพูดไม่ค่อยรู้เรื่อง

อาการเมื่อหยุดเสพ

  • ไม่มีแรง
  • ปวดเมื่อยตามกล้ามเนื้อและกระดูก
  • แขนขากระตุก
  • อ่อนเพลีย ไม่สามารถทำงานได้
  • อารมณ์ซึมเศร้า
  • นํ้าตาไหล นํ้ามูกไหล
  • ก้าวร้าว
  • นอนไม่หลับ
  • ร่างกายมีอุณหภูมิสูงผิดปกติ
  • ถ่ายอุจจาระเหลวมากปกติ
  • อยากอาหารยาก
  • อาเจียนคลื่นใส้
  • มีอาการไอมากขึ้น
  • กระวนกระวายมากขึ้น

สรรพคุณทางยา สมัยโบราณ กระท่อมเป็นพืชที่ใช้เข้าเป็นตัวยาในตำรับพวกประเภทยาแก้ท้องเสีย ในสูตรยาของหมอพื้นบ้านหรือหมอแผนโบราณ เช่น ตำรับยาประสะกระท่อม เป็นต้น อย่างไรก็ตาม ไม่มีความจำเป็นต้องใช้ยาขนาดนี้แล้ว เพราะมียาแผนปัจจุบันและแผนโบราณให้ผลเท่าเทียมหรือดีกว่าอีกทั้ง แม้ใบกระท่อมให้ผลการออกฤทธิ์ที่อาจมีประโยชน์ทางยาได้ แต่ทำให้เสพติดและมีผลเสียต่อสุขภาพ หากใช้ติดต่อกันนานๆ

การนำใปใช้ในทางที่ผิด ปัจจุบันใบกระท่อมมีปัญหาการแพร่ระบาดในกลุ่มวัยรุ่นและนักเรียน อาจเนื่องมาจากมีราคาถูกและทำให้เกิดอาการเคลิบเคลิ้มได้เช่นเดียวกับสารเสพติดอื่น โดยมักนิยมนำน้ำกระท่อมต้ม ผสมกับโค้ก ยากันยุง และยาแก้ไอ (4×100)

การควบคุมตามกฎหมาย ปี พ.ศ. 2486 ประเทศไทยเป็นประเทศแรกที่ประกาศควบคุมการใช้พืชกระท่อม โดยตราพระราชบัญญัติพืชกระท่อม พ.ศ. 2486 ระบุห้ามปลูกและครอบครองรวมทั้งห้ามจำหน่ายและเสพใบกระท่อม ปี พ.ศ. 2522 กระท่อมเป็นพืชเสพติดให้โทษประเภท 5 ตามพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. 2522 ปี พ.ศ. 2564 ตามพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ (ฉบับที่ 8) พ.ศ. 2564 และประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง ระบุชื่อยาเสพติดให้โทษในประเภท 5 (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2564 เป็นการกำหนดยกเลิกพืชกระท่อมจากการเป็นยาเสพติดให้โทษในประเภท 5 ซึ่งมีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 24 สิงหาคม 2564 เป็นต้นไป ทั้งนี้การนำพืชกระท่อมมาแปรรูปหรือนำมาใช้เป็นวัตถุดิบหรือเป็นส่วนประกอบในผลิตภัณฑ์ต่างๆ เช่น ผลิตภัณฑ์สมุนไพร ยา อาหาร เครื่องสำอาง ผู้ผลิตจะต้องดำเนินการตามกฎหมายที่เกี่ยวข้องของผลิตภัณฑ์นั้นๆ ด้วย ปี พ.ศ. 2565 พระราชบัญญัติพืชกระท่อม พ.ศ. 2565 กำหนดการควบคุมพืชกระท่อมเป็นการเฉพาะ โดยอยู่ในความรับผิดชอบของกระทรวงยุติธรรม

การควบคุมในต่างประเทศ สหประชาชาติ(UN) จะยังมิได้มีการประกาศควบคุมพืชกระท่อมในบัญชีรายชื่อยาเสพติดหรือวัตถุออกฤทธิ์ตามอนุสัญญาระหว่างประเทศ แต่จาก World drug report 2013 ของสำนักงานควบคุมยาเสพติดและอาชญากรรมแห่งสหประชาชาติ (UNODC) ได้มีการขอความร่วมมือให้ประเทศสมาชิกเฝ้าระวังและติดตามสถานการณ์ของสารออกฤทิ์ตัวใหม่ๆ ซึ่งมีพืชกระท่อมรวมอยู่ด้วย ซึ่งจากการสืบค้นข้อมูลพบว่าประเทศในยุโรป เช่น เดนมาร์ก ลัตเวีย ลิทัวเนีย โปแลนด์ โรมาเนีย สวีเดน มีการควบคุมพืชกระท่อม สาร mitragynine และ 7-hydroxymitragynine สำหรับออสเตรเลีย พม่า รวมถึงไทย มีการควบคุมพืชกระท่อมภายใต้กฎหมายที่เกี่ยวกับยาเสพติด ส่วนนิวซีแลนด์ ควบคุมพืชกระท่อม และสาร mitragynine ภายใต้กฎหมาย Medicines Amendment Regulations จาก World drug report 2013 ของสำนักงานควบคุมยาเสพติดและอาชญากรรมแห่งสหประชาชาติ (UNODC) ให้ข้อมูลการแพร่ระบาดของพืชกระท่อมว่า พืชกระท่อมมีการใช้อย่างแพร่หลายในประเทศแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และมีการรายงานการใช้ในประเทศเกาหลีใต้ ซึ่งในปี ค.ศ. 2011 ยุโรปเริ่มการมีขายพืชกระท่อมทางอินเตอร์เน็ตอย่างแพร่หลาย

บรรณานุกรม กระท่อม ยาระงับปวดหรือยาเสพติดเรียบเรียงโดย ผศ.ดร.นิวัติ แก้วประดับ ภาควิชาเภสัชเวทและเภสัชพฤษศาสตร์ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ //herbal.pharmacy.psu.ac.th/index.php?option=com_content&task=view&id=114&Itemid=43 วิกิพีเดีย : กระท่อม //th.wikipedia.org รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการศึกษาผลกระทบต่างๆในการควบคุมพืชกระท่อมเป็นยาเสพติดให้โทษในประเภท 5 กองควบคุมวัตถุเสพติด สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ปี 2546 //www.thaigoodview.com/library/contest2551/health02/11/katom.html กลุ่มงานเภสัชกรรม สถาบันธัญญารักษ์ //www.gotoknow.org/blogs/posts/102951

update มกราคม 2566

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

แปลภาษาไทย ไทยแปลอังกฤษ โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน lmyour แปลภาษา ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv แปลภาษาอาหรับ-ไทย แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip แอพแปลภาษาอาหรับเป็นไทย ค้นหา ประวัติ นามสกุล ห่อหมกฮวกไปฝากป้า หนังเต็มเรื่อง ไทยแปลอังกฤษ ประโยค Terjemahan เมอร์ซี่ อาร์สยาม ล่าสุด แปลภาษาจีน กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น ่้แปลภาษา Google Translate ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย พร บ ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 วิธีใช้มิเตอร์วัดไฟดิจิตอล สหกรณ์ออมทรัพย์กรมส่งเสริมการปกครอง ส่วนท้องถิ่น ห่อหมกฮวก แปลว่า Bahasa Thailand Thailand translate mu-x มือสอง รถบ้าน การวัดกระแสไฟฟ้า ด้วย แอมมิเตอร์ การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 4 ก่อนจะนิ่งก็ต้องกลิ้งมาก่อน เนื้อเพลง ก่อนจะนิ่งก็ต้องกลิ้งมาก่อน แคปชั่น พจนานุกรมศัพท์ทหาร ภูมิอากาศ มีอะไรบ้าง สถาบันพัฒนาบุคลากรท้องถิ่น อาจารย์ ตจต อเวนเจอร์ส ทั้งหมด เขียน อาหรับ แปลไทย ใบรับรอง กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน Google map Spirited Away 2 spirited away ดูได้ที่ไหน tor คือ จัดซื้อจัดจ้าง กินยาคุมกี่วัน ถึง ปล่อยในได้ ธาตุทองซาวด์เนื้อเพลง บช.สอท.ตำรวจไซเบอร์ ล่าสุด บบบย มิติวิญญาณมหัศจรรย์ ตอนจบ รหัสจังหวัด อําเภอ ตําบล ศัพท์ทางทหาร military words สอบ O หยน