ตัวอย่าง วรรณกรรม ที่ เกี่ยวข้อง กับ งาน วิจัย

หลักสูตรอักษรศาสตรมหาบัณฑิตและดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย มีคณาจารย์ผู้เชี่ยวชาญด้านวรรณคดีไทยซึ่งมีผลงานวิจัยจากหลากหลายแนวทาง ทั้งวรรณคดีโบราณ วรรณกรรมปัจจุบัน ทฤษฎีวรรณคดีวิจารณ์ วรรณคดีพุทธศาสนา วรรณคดีกับศิลปะและสื่อแขนงต่าง ๆ วรรณคดีท้องถิ่น วรรณคดีไทยกับวรรณคดีของประเทศใกล้เคียง วรรณคดีกับภาษาและการแปล การศึกษาวรรณคดีไทยโดยประเภท ดังตัวอย่าง

งานวิจัยด้านวรรณคดีโบราณ

  • ดาหลังฉบับ “ทรงแปลงแต่งใหม่”: การดัดแปลงเรื่องดาหลังและวรรณศิลป์ในฐานะนิทานคำกลอน
  • อิเหนาวิวิธ: รวมบทความว่าด้วยเรื่องอิเหนาฉบับแปลกใหม่
  • ศิลปะแห่งผ้า วรรณศิลป์แห่งรัก: ความสำคัญของผ้าในเสภาเรื่องขุนช้างขุนแผน
  • ลิลิตกระบวนพยุหยาตราสถลมารคและชลมารค: จากพระราชพิธีสู่วรรณคดีเฉลิมพระเกียรติ

วรรณกรรมปัจจุบัน ทฤษฎีวรรณคดีวิจารณ์ และสื่อศึกษา

  • “เกียวโตซ่อนกลิ่น”: มิติของน้ำท่ามกลางความ (ไม่) หลากหลายทางวัฒนธรรม
  • ทฤษฎีผัสสารมณ์ (affect theory) กับการศึกษาวรรณกรรม
  • กลับอีสาน: ภาพฝันอันหลอกหลอนและความรุนแรงของมหานครในภาพยนตร์เรื่องคืนพระจันทร์เต็มดวงและลุงบุญมีระลึกชาติ
  • Framing the Universe: Cosmography and “the Discourse on the Frame” in Traiphum Phra Ruang

วรรณคดีพุทธศาสนา

  • ชาดกกับวัฒนธรรมวรรณศิลป์ไทย
  • ทศชาติชาดก: “ศรัทธา” กับ “ปัญญา” สู่มรรคาแห่งการหลุดพ้น
  • วิถีโลก-วิถีโพธิสัตว์/พุทธศาสนา-มิจฉาวาทะ: ถกเถียงเรื่องคุณค่าในทศชาติชาดก
  • Pali Literary Texts as Alankāra Treatises for Thai Poets: A Case Study of the Vessantara Jātaka

วรรณคดีกับศิลปะและสื่อแขนงต่าง ๆ

  • โคลงภาพเรื่องรามเกียรติ์ วัดพระเชตุพน: ลักษณะเด่นด้านศิลปะการประพันธ์ในฐานะวรรณคดีประกอบทัศนศิลป์
  • บทละครรำเรื่องอิเหนา ตอนดะระสาแบหลา พระนิพนธ์พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์: การ “ปรุงบท” และคุณค่า
  • ความสำคัญของ “สหศิลป์” ในวรรณคดีพระราชนิพนธ์รัชกาลที่ 2
  • The Silent Prince: จากมหานิบาตชาดกสู่มหาอุปรากร

วรรณคดีท้องถิ่น

  • ความขัดแย้งและการประนีประนอมในตำนานปรัมปราไทย
  • สรรนิทานพื้นบ้านสู่นวัตกรรมทางดนตรีและการแสดง: การศึกษาทางคติชนเพื่อสืบสร้างสายสัมพันธ์ไทย-คาสี
  • พลวัตของการเล่นสักวาในสังคมไทย
  • สวดพระมาลัย: บทบาทของคีตกรรมหลังความตายต่อวรรณกรรมและสังคม

วรรณคดีไทยกับวรรณคดีของประเทศใกล้เคียง

  • ภาพตัวแทนของไทยในวรรณกรรมกัมพูชาช่วงต้นสมัยอาณานิคม
  • อิเหนา: จากพระเอกในนิทานปันหยีสู่พระเอกในวรรณคดีไทย
  • เรื่องอินเหนาฉบับลาว: ความสัมพันธ์กับเรื่องอิเหนาฉบับไทย และลักษณะเด่นในฐานะวรรณคดีลาว
  • ปากกาและปราการ: นิตยสารไผ่หนามกับสังคมวิทยาของวรรณกรรมลาวสมัยใหม่

วรรณคดีกับภาษาและการแปล

  • จาก พระบาฬี สู่ สิลิษฐพจนคำสยาม: พระอัจฉริยภาพของเจ้าฟ้าธรรมธิเบศรในการแปลนันโทปนันทสูตรคำหลวง
  • คชศัพท์ในภาษาไทยที่มาจากภาษาเขมร
  • ลมหายใจใหม่ของบทกวีจ่าง แซ่ตั้ง จากบทกวีชุดคำซ้ำสู่เรื่องสั้นและความเรียงร่วมสมัย

การศึกษาวรรณคดีไทยโดยประเภท

  • ความฝันและจินตนาการในรำพันพิลาป: สุนทรภู่กับการประกอบสร้าง “เรื่องเล่า” ในวรรณคดีประเภทนิราศ
  • ความซับซ้อนเรื่องประเภทกับข้อถกเถียงเรื่องความเป็น “นิราศ”
  • ลิลิตอิเหนา: การศึกษาเชิงประวัติและลักษณะเด่นทางวรรณศิลป์ในฐานะวรรณคดีลิลิต

ผู้สนใจสามารถติดตามอ่านเพิ่มเติมได้ใน คลังความรู้ ภาควิชาภาษาไทย (//www.arts.chula.ac.th/thai/thaiarchives/)

ภาควิชาภาษาไทย อักษรฯ จุฬาฯ เปิดรับสมัครผู้สนใจเข้าศึกษาต่อในหลักสูตรอักษรศาสตรมหาบัณฑิตและดุษฎีบัณฑิต (หลักสูตรต่อเนื่อง) ทั้งในสายภาษาไทย วรรณคดีไทย และคติชนวิทยา ปีการศึกษา 2566 รับสมัคร 1 กุมภาพันธ์ 2566 – 31 มีนาคม 2566 ทางเว็บไซต์บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย //www.grad.chula.ac.th

ดูรายละเอียดหลักสูตรได้ที่เว็บไซต์ภาควิชาภาษาไทย หัวข้อ “หลักสูตรบัณฑิตศึกษา” //www.arts.chula.ac.th/thai/

วรรณกรรมที่เกี่ยวข้องกับการวิจัยประกอบด้วยอะไร

วรรณกรรมที่เกี่ยวข้องซึ่งประกอบด้วยแนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัย ที่ เกี่ยวข้องกับปัญหาการวิจัย หรือเกี่ยวข้องกับตัวแปรการวิจัย ที่ผู้วิจัยต้องไปศึกษาหรือ ทบทวนมาก่อนที่จะตั้งสมมุติฐานการวิจัย เพื่อเป็นการบอกว่าผลการวิจัยที่คาดการณ์ไว้ หรือเดาไว้ล่วงหน้าก่อนที่จะลงมือทําวิจัยนั้นมาจากวรรณกรรมที่ได้ทบทวนมาก่อนหน้านี้

วรรณกรรมที่เกี่ยวข้องมีประโยชน์ในการจัดทำวิจัยอย่างไร

ประโยชน์ของการทบทวนวรรณกรรม ทําให้รู้ว่าสิ่งที่เราสนใจอยากรู้มีใครเคยทํามาแล้วบ้าง ป้องกัน การทําวิจัยซํ้าซ้อน ทําให้ทราบถึงแนววิธีการของผู้วิจัยอื่นๆ ว่ามีแนวทางอย่างไร ใช้กําหนดกรอบแนวคิดการวิจัย กําหนดขอบเขตของการทําวิจัย ที่ชัดเจน

ทำไมนักวิจัยต้องค้นวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง

ประโยชน์ของการทบทวนวรรณกรรมและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 1. ให้ความรู้และความเข้าใจที่สมบูรณ์และลึกซึ้งแก่ผู้วิจัยในประเด็นที่ ศึกษา 2. ให้แนวทาง แบบแผนการวิจัย กระบวนการและขั้นตอนในการวิจัย 3. ชี้ให้เห็นช่องว่างหรือความไม่สมบูรณ์ขององค์ความรู้ น าไปสู่การตั้ง ประเด็นปัญหาการวิจัย และพัฒนา/ปรับปรุงประเด็นปัญหาวิจัยของตน

การทบทวนวรรณกรรมมีความสัมพันธ์อย่างไรกับกรอบแนวคิดในการวิจัย

การทบทวนวรรณกรรม เป็นส่วนที่สำคัญที่สุดของการวิจัยที่จะบ่งบอกถึงโอกาสของความสำเร็จและคุณภาพของงานวิจัยนั้น และสามารถนำไปใช้ประโยชน์กับการวิจัยเกือบทุกหัวข้อและเนื้อหาของการวิจัย โดยเฉพาะการวิจัยเชิงปริมาณที่ต้องสังเคราะห์แนวคิดหรือทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้ได้มาซึ่งตัวแปรและกรอบแนวความคิดของการวิจัย นอกจากนี้แนวคิด ...

กระทู้ที่เกี่ยวข้อง

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

แปลภาษาไทย ไทยแปลอังกฤษ โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน lmyour แปลภาษา ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv แปลภาษาอาหรับ-ไทย แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip แอพแปลภาษาอาหรับเป็นไทย ค้นหา ประวัติ นามสกุล ห่อหมกฮวกไปฝากป้า หนังเต็มเรื่อง ไทยแปลอังกฤษ ประโยค Terjemahan เมอร์ซี่ อาร์สยาม ล่าสุด แปลภาษาจีน กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น ่้แปลภาษา Google Translate ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย พร บ ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 วิธีใช้มิเตอร์วัดไฟดิจิตอล สหกรณ์ออมทรัพย์กรมส่งเสริมการปกครอง ส่วนท้องถิ่น ห่อหมกฮวก แปลว่า Bahasa Thailand Thailand translate mu-x มือสอง รถบ้าน การวัดกระแสไฟฟ้า ด้วย แอมมิเตอร์ การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 4 ก่อนจะนิ่งก็ต้องกลิ้งมาก่อน เนื้อเพลง ก่อนจะนิ่งก็ต้องกลิ้งมาก่อน แคปชั่น พจนานุกรมศัพท์ทหาร ภูมิอากาศ มีอะไรบ้าง สถาบันพัฒนาบุคลากรท้องถิ่น อาจารย์ ตจต อเวนเจอร์ส ทั้งหมด เขียน อาหรับ แปลไทย ใบรับรอง กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน Google map Spirited Away 2 spirited away ดูได้ที่ไหน tor คือ จัดซื้อจัดจ้าง กินยาคุมกี่วัน ถึง ปล่อยในได้ ธาตุทองซาวด์เนื้อเพลง บช.สอท.ตำรวจไซเบอร์ ล่าสุด บบบย มิติวิญญาณมหัศจรรย์ ตอนจบ รหัสจังหวัด อําเภอ ตําบล ศัพท์ทางทหาร military words สอบ O หยน