ลงทะเบ ยนเร ยนป.บ ญฑ ตม.หาว ทยาล ยราชภ ำช ยภ ม

Student E-Book 2020 Faculty of education Kasetsart University -- คู่มือนิสิตคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 2563

Keywords: นายศิวกรณ์ เสถียรกิจการชัย,คู่มือนิสิตคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์,Faculty of education kasetsart University,คู่มือนิสิตคณะศึกษาศาสตร์,คณะศึกษาศาสตร์,ม,หาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

Read the Text Version

No Text Content!

............................................................................................... คู่มอื นิสติ คณะศึกษาศาสตร์ 2563 ค�ำ น�ำ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ได้จัดท�ำคู่มือนิสิตปีการศึกษา 2563 ขึ้น เพื่อเป็นสื่อกลางข้อมูลให้ส�ำหรับนิสิตใหม่ ได้รับทราบข้อมูลต่างๆ ท้ังของ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และคณะศึกษาศาสตร์เป็นเบ้ืองต้น โดยมีวัตถุประสงค์ ที่จะแนะน�ำข้อมูลเกี่ยวกับ 1. ประวัติความเป็นมาของคณะศึกษาศาสตร์ 2. หลกั สตู รท่ีเปดิ สอนในคณะศึกษาศาสตร์ 3. หน่วยงานและบคุ ลากรในคณะศึกษาศาสตร์ 4. ศนู ย/์ หนว่ ยบรกิ ารในคณะศึกษาศาสตร์ และในมหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ 5. ปฎิทินการศึกษาของคณะ และมหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ 6. แบบฟอร์มคำ� รอ้ งท่วั ไปของนสิ ิตระดับปริญญาตร/ี บัณฑติ ศกึ ษา คณะศึกษาศาสตร์ หวังเป็นอย่างยิ่งว่า คู่มือนิสิตน้ี จะเป็นประโยชน์ต่อนิสิต ในระยะแรกของการเข้ามาศึกษาในคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และ สามารถปรับตัวให้เข้ากับการใช้ชีวิตในมหาวิทยาลัยได้อย่างดี โดยมีความมุ่งม่ัน ต้ังใจในการเรียน จนประสบควาส�ำเร็จเป็นบัณฑิตท่ีประกอบด้วยปัญญาและคุณธรรม ตามปณิธานของคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ต่อไป อน่ึงคู่มือนิสิตเล่มน้ี ขอให้นิสิตได้เก็บไว้ใช้ตลอดระยะเวลาการศึกษา เพื่อประโยชน์ ต่อตัวนิสิตเอง คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาิทยาลัยเกษตรศาสตร์ คมู่ ือนสิ ิตศกึ ษาศาสตร์ 2563 คู่มือนสิ ิต คณะศึกษาศาสตร์ 2563 ............................................................................................... สารบัญ ค�ำน�ำ .............................................................................. 2 -------------- ส�ำนกั งานเลขานุการคณะ .......................................................57 สารบัญ ........................................................................... 3 ตารางเรยี น .............................................................................59 คุณลักษณะบัณฑิตท่ีพงึ ประสงค์ ปฏิทนิ .....................................................................................62 มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ ..................................... 4 การจดบนั ทึก ..........................................................................74 จรรยาบรรณครู 9 ประการ ............................................ 5 ศูนย์ทรัพยากรการเรียนรู้และการศกึ ษาเชงิ หรรษา ............. 109 มาตรฐานวชิ าชีพครุ สุ ภา ................................................. 6 ศนู ย/์ หนว่ ยบริการในคณะศึกษาศาสตร์ ……………………...... 115 อตั ลักษณ์ KU ……………………………………………............. 22 ศนู ยฝ์ ึกประสบการณ์วชิ าชพี ศกึ ษาศาสตร์ .................. 115 ปฏิทินการศึกษาปี 2563 ………………………………......... 24 ศูนยบ์ ัณฑิตศกึ ษา ภาคพิเศษ ...................................... 115 แนะนำ� คณะศกึ ษาศาสตร์ ............................................. 34 ศูนย์ศึกษาและพัฒนาการจัดการศึกษา แผนภมู กิ ารบริหารงานคณะศึกษาศาสตร์ .................... 42 พเิ ศษ “คณุ พมุ่ ” .................................................. 116 หลกั สูตรทีเ่ ปิดสอนในคณะศกึ ษาศาสตร์ ...................... 43 ศูนยพ์ ัฒนาสขุ ภาพและทักษะกลไกการเคลอ่ื นไหว ..... 119 หน่วยงานในคณะศึกษาศาสตร์ .................................... 46 งานบริการสำ� นกั งานเลขานกุ าร .................................. 123 ภาควิชาการศกึ ษา ................................................ 46 โครงการพิเศษคณะศึกษาศาสตร์ ........................................ 124 ภาควชิ าจติ วทิ ยาการศึกษาและการแนะแนว ....... 49 ผงั แสดงทจ่ี อดรถ ................................................................. 126 ภาควชิ าเทคโนโลยีการศึกษา ............................... 49 หน่วยงานท่ีใหบ้ รกิ ารในมหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ ............ 127 ภาควิชาพลศกึ ษา ................................................. 50 หน่วยงานภายในมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ....................... 132 ภาควชิ าอาชีวศกึ ษา ............................................. 53 หนว่ ยงานภายในคณะศึกษาศาสตร์ ..................................... 134 โรงเรียนสาธิตแห่งมหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ ที่ตงั้ หน่วยงานในคณะศกึ ษาศาสตร์ ….................................. 135 ศนู ย์วิจยั และพัฒนาการศึกษา ...................... 54 รหสั รายวชิ าส�ำหรับใชใ้ นการลงทะเบยี น ............................. 136 ค่มู ือนสิ ติ ศึกษาศาสตร์ 2563 ............................................................................................... คู่มอื นสิ ติ คณะศึกษาศาสตร์ 2563 คณุ ลักษณะบณั ฑติ ท่พี ึงประสงค์ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ ม ห า วิ ท ย า ลั ย เ ก ษ ต ร ศ า ส ต ร ์ มุ ่ ง ม่ั น ท่ี จ ะ เ ส ริ ม ส ร ้ า ง แ ล ะ พั ฒ น า นิ สิ ต ข อ ง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ให้ เป็นบัณฑิตที่มีคุณภาพ มีคุณลักษณะถึงพร้อมซึ่งความเป็น พลเมืองโลก (Global Citizenship) จึงก�ำหนดคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ไว้ ดังน้ี 1. มีจิตส�ำนึกด้านคุณธรรมท่ีจ�ำเป็นต่อการด�ำเนินชีวิตและแสดงออกในการ ประพฤติ ปฏิบัติประกอบด้วย การมีวินัยในตนเอง การยึดมั่นในจรรยาบรรณ วิชาชีพ ความซื่อสัตย์สุจริต เคารพศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ มีส�ำนึกรับผิดชอบ ต่อสังคม ตลอดจนส�ำนึกความเป็นพลเมืองไทยท่ีพร้อมมีส่วนร่วมรับผิดชอบต่อ สังคมโลก 2. มีหลักคิด ทักษะทางวิชาการและวิชาชีพ ในศาสตร์ท่ีตนศึกษา และทักษะด�ำรง ชีวิต ภายใต้สังคมพหุวัฒนธรรม สามารถเชื่อมองค์ความรู้กับสรรพวิทยาการอื่น ตลอดจนสามารถประยุกต์วิชาการเพ่ือพัฒนาวิชาการเพื่อพัฒนาสร้างสรรค์ให้ เหมาะกับสภาพความเป็นจริงภายใต้บริบทของสังคม 3. มีความรู้รอบและเท่าทันความเป็นไปในกระแสโลก พร้อมสร้างคุณค่าตนเองให้ เหมาะสมต่อการเปล่ียนแปลงของสังคม 4. รู้รักสามัคคี ตระหนักถึงพลังในารร่วมมือร่วมใจในการท�ำงานร่วมกับผู้อ่ืน ค่มู ือนสิ ติ ศึกษาศาสตร์ 2563 ค่มู ือนสิ ิต คณะศกึ ษาศาสตร์ 2563 ............................................................................................... เอกลักษณ์ และอตั ลักษณ์ ของมหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ (โดยความเห็นชอบของ สภามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ในการประชุมครั้งท่ี ๕/๒๕๕๔ วันที่ ๒๓ พฤษภาคม ๒๕๕๔) เอกลักษณข์ องมหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มุ่งสร้างศาสตร์แห่งแผ่นดิน เพ่ือความกินดีอยู่ดีของชาติ คำ� อธิบาย มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ หมายถึง มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์อันเป็นแหลง่ รวมของบคุ ลากร และองค์ความรู้ ศาสตร์แหง่ แผ่นดนิ หมายถึง ความหลากหลายของสาขาวชิ าอันเป็นบรู ณาการ เกย่ี วข้องกับการเกษตร ทรพั ยากรธรรมชาติ และมนษุ ย์บนผนื แผน่ ดนิ ความกนิ ดอี ยู่ดีของชาติ หมายถึง ความเจรญิ เตบิ โตของเศรษฐกจิ ความเข้มแข็ง ของสังคม ความสมดุลของสงิ่ แวดล้อม และความม่ันคง โดยเฉพาะอยา่ งยิง่ ความม่ันคง ดา้ นอาหารของชาติ ซง่ึ “ชาต”ิ หมายความครอบคลุมถงึ ประชาชนและผืนแผน่ ดิน คมู่ อื นิสติ ศึกษาศาสตร์ 2563 ............................................................................................... คมู่ ือนสิ ิต คณะศึกษาศาสตร์ 2563 อตั ลักษณ์ ของมหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร:์ IDKU ส�ำนกึ ดี ม่งุ มั่น สรา้ งสรรค์ สามคั คี (Integrity) (Determination) (Knowledge Creation) (Unity) อัตลักษณ์ หมายถึง คุณสมบตั ิท่ีเป็นตัวตนของบุคคล ค�ำอธิบาย 1. สำ� นกึ ดี (Integrity) หมายถงึ มจี ิตใจท่ีดงี าม มคี วามซอื่ สัตย์ สุจริต มคี ณุ ธรรม มจี ริยธรรม 2. มุ่งม่ัน (Determination) หมายถงึ มคี วามต้งั ใจมน่ั มีความอดทน มคี วามวิรยิ ะอุตสาหะ มุ่งผลสมั ฤทธิ์ ในการทำ� งานและในการปฏบิ ตั ใิ ด ๆ 3. สรา้ งสรรค์ (Knowledge Creation) หมายถงึ เปน็ ผู้ใฝร่ ู้ มีความขวนขวายแสวงหาความ รู้ มคี วามสามารถในการสร้างมลู ค่าและคณุ ค่าจากความรู้ มีการสร้างนวตั กรรม 4. สามคั คี (Unity) หมายถงึ มีความรว่ มมือรว่ มใจ ร้จู ักประนีประนอม สามารถท�ำงานเปน็ ทีม และสามารถบูรณาการเช่ือมโยงในด้านต่าง ๆ ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม คู่มอื นิสติ ศึกษาศาสตร์ 2563 ค่มู ือนสิ ติ คณะศกึ ษาศาสตร์ 2563 ............................................................................................... จรรยาบรรณครู 9 ประการ 1. ครูต้องรักและเมตตาศิษย์โดยให้ความเอาใจใส่ช่วยเหลือส่งเสริมให้ก�ำลังใจ ในการศึกษาเล่าเรียนแก่ศิษย์โดย เสมอหน้า 2. ครูต้องอบรมสั่งสอนฝึกฝนและสร้างเสริมความรู้ทักษะและนิสัยที่ถูกต้องดีงาม ให้เกิดแก่ศิษย์อย่างเต็มความ สามารถ และด้วยความบริสุทธิ์ใจ 3. ครูต้องประพฤติและปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างท่ีดีแก่ศิษย์ทั้งหลาย ท้ังกาย วาจา และจิตใจ 4. ครูต้องไม่กระท�ำตนเป็นปฏิปักษ์ต่อความเจริญทางกาย สติปัญญา จิตใจ อารมณ์ และสังคมของศิษย์ 5. ครูต้องไม่แสวงหาประโยชน์อันเป็นอามิสสินจ้างจากศิษย์ในการปฏิบัติหน้าที่ตาม ปกติ และไม่ ให้ศษิ ย์กระทำ� การใด ๆ อนั เป็นการหาผลประโยชน์ให้แก่ตนโดยมชิ อบ 6. ครูย่อมพัฒนาตนเองท้ังในด้านวิชาชีพ ด้านบุคลิกภาพ และวิสัยทัศน์ ให้ทัน ต่อการพัฒนาทางวิชาการ เศรษฐกิจ สังคม และการเมืองอยู่เสมอ 7. ครูย่อมรักและศรัทธาในวิชาชีพครู และเป็นสมาชิกท่ีดีขององค์กรวิชาชีพครู 8. ครูพึงช่วยเหลือเกื้อกูลครูและชุมชนในทางสร้างสรรค์ 9. ครูพึงประพฤติ ปฏิบัติตนเป็นผู้น�ำในการอนุรักษ์ และพัฒนาภูมิปัญญาแล วัฒนธรรมไทย ค่มู อื นิสติ ศึกษาศาสตร์ 2563 ............................................................................................... คู่มอื นสิ ติ คณะศึกษาศาสตร์ 2563 ขอ้ บงั คบั คุรุสภา วา่ ดว้ ยจรรยาบรรณของวชิ าชพี พ.ศ. 2556 โดยทเี่ ป็นการสมควรยกเลกิ ข้อบังคับคุรุสภา วา่ ด้วยมาตรฐานวชิ าชพี และจรรยาบรรณของ วิชาชพี พ.ศ. 2548 อาศัยอาํ นาจตามความ ในมาตรา 9 วรรคหนึ่ง(1) (11) (ฉ) และมาตรา 49 แหง่ พระราชบญั ญตั ิ สภาครู และบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2546 ประกอบกบั มตคิ ณะกรรมการคุรสุ ภา ในการประชมุ คร้ัง ที่ 5/2556 วนั ที่ 16 พฤษภาคม 2556 และคร้ังที่11/2556 วันท่ี 2 กันยายน2556 โดยความเห็นชอบของ รฐั มนตรวี ่าการกระทรวงศึกษาธกิ าร คณะกรรมการครุ สุ ภาจึงออกข้อบงั คบั ครุ ุสภา วา่ ดว้ ยจรรยาบรรณ ของวชิ าชพี ดังต่อไปน้ี ข้อ 1 ขอ้ บงั คบั นเ้ี รียกวา่ “ข้อบังคบั คุรุสภา วา่ ดว้ ยจรรยาบรรณของวชิ าชพี พ.ศ. 2556” ข้อ 2 ข้อบังคบั น้ใี หใ้ ชบ้ งั คับตง้ั แต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปน็ ตน้ ไป ขอ้ 3 ใหย้ กเลิกข้อบังคับคุรสุ ภา ว่าดว้ ยมาตรฐานวชิ าชีพและจรรยาบรรณของวชิ าชพี พ.ศ. 1. ขอ้ บงั คบั ครุ สุ ภา วา่ ดว้ ยมาตรฐานวชิ าชพี และจรรยาบรรณของวชิ าชพี พ.ศ. 2548 2. ข้อบงั คับครุ สุ ภา ว่าดว้ ยมาตรฐานวิชาชีพและจรรยาบรรณของวชิ าชพี (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2554 3. ประกาศคณะกรรมการครุ สุ ภา เร่ือง มาตรฐานความรู้ มาตรฐานประสบการณ์ วิชาชพี สาระความรู้ สมรรถนะ และมาตรฐานการปฏิบัตงิ านของผู้ประกอบ วชิ าชีพศกึ ษานเิ ทศก์ 4. ประกาศคณะกรรมการคุรสุ ภา เร่ือง มาตรฐานความรู้ มาตรฐานประสบการณ์ วชิ าชีพ สาระความรู้ สมรรถนะ และมาตรฐานการปฏบิ ัติงานของผปู้ ระกอบ วชิ าชพี ศกึ ษานิเทศก ์ (ฉบับที่ 2) คมู่ ือนสิ ิตศกึ ษาศาสตร์ 2563 คมู่ ือนิสติ คณะศกึ ษาศาสตร์ 2563 ............................................................................................... ข้อบงั คบั คุรุสภาฉบบั ใดอ้างอิงขอ้ บงั คับครุ สุ ภาฉบบั ท่ยี กเลิกแล้วตามวรรคหนงึ่ รวมทง้ั ระเบียบ หรือประกาศใด ท่อี อกภายใต้ขอ้ บังคับดงั กล่าวให้ถือว่าอา้ งองิ ขอ้ บังคับคุรุสภา วา่ ด้วยมาตรฐานวชิ าชีพ พ.ศ. 2556 หรือข้อบังคับคุรุสภา วา่ ดว้ ยจรรยาบรรณของวชิ าชีพ พ.ศ. 2556 แล้วแตก่ รณี ขอ้ 4 ในข้อ บงั คับน้ี “วชิ าชีพ” หมายความว่า วชิ าชีพทางการศึกษาท่ที าํ หน้าท่หี ลกั ทางด้านการเรียนการสอนและ การสง่ เสริมการเรยี นรู้ของผเู้ รียนด้วยวธิ ีการต่าง ๆ รวมทง้ั การรบั ผิดชอบการบริหารสถานศึกษาในสถาน ศกึ ษาปฐมวัย ข้ันพ้ืนฐาน และอุดมศกึ ษาทีต่ ่ำ� กว่าปรญิ ญาท้งั ของรฐั และเอกชน และการบริหารการ ศึกษานอกสถานศึกษา ในระดบั เขตพืน้ ทกี่ ารศึกษา ตลอดจนการสนบั สนนุ การศกึ ษาใหบ้ รกิ ารหรอื ปฏิบตั ิงานเกี่ยวเนื่องกบั การจัดกระบวนการเรยี นการสอน การนิเทศ และการบริหารการศกึ ษาในหน่วย งานการศึกษาต่าง ๆ “สถาบนั ” หมายความว่า มหาวทิ ยาลยั วิทยาลยั สถาบนั บณั ฑิตวทิ ยาลัย คณะ หรอื หนว่ ยงานทเี่ รยี กชอ่ื อยา่ งอนื่ ทมี่ ฐี านะเทยี บเทา่ ซง่ึ จดั การศกึ ษาตามหลกั สตู รปรญิ ญา หรอื ประกาศณยี บตั ร “ผ้ปู ระกอบวชิ าชพี ทางการศกึ ษา” หมายความว่า ครู ผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา ผูบ้ ริหาร การศึกษาและบุคลากรทางการศกึ ษาอื่น ซ่ึงได้รับใบอนญุ าตเป็นผปู้ ระกอบวิชาชีพตามพระราชบัญญัติ สภาครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา พ.ศ. 2546 “ครู” หมายความวา่ บคุ คลซ่งึ ประกอบวชิ าชพี หลกั ทางดา้ นการเรยี นการสอนและ การส่งเสรมิ การเรยี นรขู้ องผ้เู รียนด้วยวิธีการตา่ งๆ ในสถานศึกษาปฐมวยั ขั้นพื้นฐาน และอุดมศกึ ษาท่ีตำ�่ กวา่ ปรญิ ญาท้งั ของรัฐ และเอกชน “ผู้บรหิ ารสถานศึกษา” หมายความวา่ บุคคลซึง่ ปฏบิ ตั งิ านในตําแหนง่ ผู้บริหารสถาน ศกึ ษาภายในเขตพื้นที่การศกึ ษา และสถานศกึ ษาอ่นื ทจ่ี ดั การศกึ ษาปฐมวยั ข้นั พนื้ ฐาน และอดุ มศกึ ษาที่ ต่�ำกว่าปรญิ ญาท้งั ของรฐั และเอกชน “ผบู้ ริหารการศกึ ษา” หมายความวา่ บคุ คลซึง่ ปฏิบัติงานในตาํ แหนง่ ผูบ้ ริหารนอก สถานศกึ ษาในระดับเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษา คมู่ อื นิสิตศึกษาศาสตร์ 2563 ............................................................................................... คู่มอื นสิ ิต คณะศึกษาศาสตร์ 2563 “บุคลากรทางการศกึ ษาอน่ื ” หมายความว่า บคุ คลซึ่งทําหนา้ ท่ีสนบั สนุนการศกึ ษา ใหบ้ ริการหรือปฏบิ ตั งิ านเกย่ี วเน่อื งกบั การจดั กระบวนการเรียนการสอน การนเิ ทศ และการบรหิ ารการ ศกึ ษาในหนว่ ยงานการศกึ ษาตา่ ง ๆ ซงึ่ หนว่ ยงานการศกึ ษากาํ หนดตาํ แหนง่ ใหต้ อ้ งมคี ณุ วฒุ ทิ างการศกึ ษา “มาตรฐานวิชาชพี ทางการศึกษา” หมายความวา่ ข้อกำ� หนดเกีย่ วกบั คณุ ลกั ษณะ และคณุ ภาพทีพ่ งึ ประสงค์ในการประกอบวชิ าชพี ทางการศึกษา ซง่ึ ผูป้ ระกอบวิชาชพี ทางการศกึ ษาต้อง ประพฤติ ปฏิบัติตามประกอบด้วย มาตรฐานความรู้และประสบการณ์วิชาชีพมาตรฐานการปฏิบัติงาน และมาตรฐานการปฏบิ ตั ติ น “มาตรฐานความรูแ้ ละประสบการณ์วชิ าชีพ” หมายความวา่ ข้อกำ� หนดเกีย่ วกบั ความรู้และประสบการณ์ในการจดั การเรียนรู้ หรอื จดั การศกึ ษาซึ่งผตู้ ้องการประกอบวิชาชีพทางการ ศึกษาตอ้ ง มีเพยี งพอทส่ี ามารถนำ� ไปใช้ในการประกอบวชิ าชพี ได้ “มาตรฐานการปฏบิ ตั งิ าน” หมายความวา่ ขอ้ กำ� หนดเกยี่ วกบั คณุ ลกั ณะหรอื การแสดง พฤติกรรมการปฏบิ ตั งิ านและการพฒั นางาน ซง่ึ ผปู้ ระกอบวชิ าชพี ทางการศกึ ษาตอ้ งปฏบิ ัตติ ามเพอื่ ให้ เกิดผลตามวัตถปุ ระสงค์และเปา้ หมายการเรียรู้ หรอื การจดั การศึกษา รวมทัง้ ตอ้ งฝึกฝนให้มีทกั ษะ หรือ ความชำ� นาญสูงขึ้นอยา่ งต่อเนอื่ ง “มาตรฐานการปฏิบตั ิตน” หมายความวา่ จรรยาบรรณของวิชาชีพท่ีก�ำหนดขึ้นเป็น แบบแผนในการประพฤตติ น ซ่ึงผ้ปู ระกอบวิชาชพี ทางการศึกษาต้องปฏิบัติตาม เพื่อรักษาและส่งเสรมิ เกียรติคุณชื่อเสียงและฐานะของผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษาให้เป็นท่ีเช่ือถือศรัทธาแก่ผู้รับบริการ และสงั คมอนั จะนำ� มาซึง่ เกยี รติและศกั ด์ิศรแี หง่ วิชาชีพ ขอ้ 5 ใหป้ ระธานกรรมการครุ ุสภารกั ษาการตามขอ้ บังคบั นี้ และใหม้ ีอำ� นาจออกระเบียบ ประกาศ หรือคำ� สงั่ เพือ่ ปฏิบัติตามขอ้ บงั คบั นี้ รวมทัง้ มอี �ำนาจตคี วาม และวนิ จิ ฉยั ชี้ขาดปัญหาเก่ยี วกบั การปฏบิ ัตติ ามท่ีก�ำหนดไวใ้ นข้อบังคับ คมู่ ือนิสิตศกึ ษาศาสตร์ 2563 คู่มอื นสิ ิต คณะศึกษาศาสตร์ 2563 ............................................................................................... หมวด 1 มาตรฐานความรู้และประสบการณ์วิชาชีพ ข้อ 6 ผู้ประกอบวิชาชีพครู ต้องมีคุณวุฒิไม่ต�่ำกว่าปริญญาตรีทางการศึกษา หรือเทียบเท่า หรือมีคุณวุฒิอ่ืนที่คุรุสภารับรอง โดยมีมาตรฐานความรู้และประสบการณ์วิชาชีพ ดังต่อไปนี้ (ก) มาตรฐานความรู้ ประกอบด้วยความรู้ ดังตอ่ ไปนี้ 1) ความเปน็ ครู 2) ปรัชญาการศกึ ษา 3) ภาษาและวัฒนธรรม 4) จิตวทิ ยาส�ำหรบั ครู 5) หลักสตู ร 6) การจัดการเรียนรแู้ ละการจัดการช้นั เรยี น 7) การวจิ ยั เพื่อพัฒนาการเรยี นรู้ 8) นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศกึ ษา 9) การวดั และการประเมนิ ผลการเรยี นรู้ 10) การประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา 11) คณุ ธรรม จรยิ ธรรม และจรรยาบรรณ (ข) มาตรฐานประสบการณว์ ชิ าชพี ผ่านการปฏิบตั ิการสอนในสถานศึกษา ตามหลกั สตู ร ปริญญาทางการศกึ ษา เปน็ เวลาไม่นอ้ ยกวา่ หนง่ึ ปี และผา่ นเกณฑ์ การประเมนิ ปฏบิ ตั กิ ารสอนตาม หลักเกณฑ์วธิ กี าร และเงื่อนไขทีค่ ณะกรรมการคุรสุ ภากำ� หนด ดงั ต่อไปน้ี 1) การฝึกปฏิบตัิวชิ าชพี ระหว่างเรียน 2) การปฏบิ ัติการสอนในสถานศกึ ษาในสาขาวชิ าเฉพาะ ข้อ 7 ผู้ประกอบวิชาชีพผู้บริหารสถานศึกษา ต้องมีคุณวุฒิไม่ต�่ำกว่าปริญญาตรี ทางการบริหารการศึกษา หรือเทียบเท่า หรือมีคุณวุฒิอ่ืนที่คุรุสภารับรอง โดยมีมาตรฐาน ความรู้และประสบการณ์วิชาชีพดังต่อไปน้ี (ก) มาตรฐานความรู้ ประกอบดวยความรู้ ดังต่อไปน้ี 1) การพฒั นาวชิ าชพี 2) ความเปน็ ผ้นู ำ� ทางวชิ าการ 3) การบริหารสถานศกึ ษา คูม่ อื นิสติ ศึกษาศาสตร์ 2563 ............................................................................................... คู่มอื นสิ ิต คณะศึกษาศาสตร์ 2563 4) หลักสตู ร การสอน การวดั และประเมินผลการเรยี นรู้ 5) กจิ การและกิจกรรมนักเรียน 6) การประกันคุณภาพการศึกษา 7) คุณธรรม จรยิ ธรรมและจรรยาบรรณ (ข) มาตรฐานประสบการณ์วชิ าชพี ดังตอ่ ไปน้ี 1) มปี ระสบการณ์ดา้ นปฏิบัติการสอนมาแล้วไม่น้อยกวา่ ห้าปี หรอื 2) มีประสบการณ์ด้านปฏิบัติการสอนและต้องมีประสบการณ์ในต�ำแหน่ง หัวหน้าหมวด หรือหัวหน้าสาย หรือหัวหน้างาน หรือต�ำแหน่งบริหารอื่น ๆ ในสถานศึกษา มาแล้วไม่น้อยกว่าสองปี ข้อ 8 ผู้ประกอบวิชาชีพผู้บริหารการศึกษา ต้องมีคุณวุฒิไม่ต่�ำกว่าปริญญาตรีทางการ บริหารการศึกษา หรือเทียบเท่า หรือมีคุณวุฒิอ่ืนที่คุรุสภารับรอง โดยมีมาตรฐานความรู้และ ประสบการณ์วิชาชีพ ดังต่อไปน้ี (ก) มาตรฐานความรู้ ประกอบดวยความรูด้ ังตอ่ ไปนี้ 1) การพฒั นาวิชาชีพ 2) ความเป็นผูน้ �ำทางวชิ าการ 3) การบริหารการศึกษา 4) การส่งเสรมิ คุณภาพการศึกษา 5) การประกนั คณุ ภาพการศึกษา 6) คณุ ธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณ (ข) มาตรฐานประสบการณ์วิชาชพี ดงั ตอ่ ไปนี้ 1) มปี ระสบการณด์ า้ นปฏบิ ตั กิ ารสอนมาแล้วไมน่ ้อยกว่าแปดปี หรอื 2) มีประสบการณ์ในต�่ำแหนง่ ผบู้ ริหารสถานศกึ ษามาแลว้ ไมน่ อ้ ยกวา่ สามปี หรือ 3) มปี ระสบการณใ์ นต�่ำแหนง่ บุคลากรทางการศกึ ษาอ่ืนตามทกี่ �ำหนด ในกฎกระทรวงมาแล้วไมน่ ้อยกว่าสามปี หรอื 4) มปี ระสบการณใ์ นตำ� แหนง่ บคุ ลากรทางการศกึ ษาอนื่ ทมี่ ปี ระสบการณ์ การบรหิ ารไม่ตำ่� กว่าหวั หน้ากลุม่ หรือผอู้ �ำนวยการกลุ่ม หรอื เทยี บเทา่ มาแลว้ ไม่น้อยกว่าห้าปี หรอื ค่มู อื นสิ ติ ศกึ ษาศาสตร์ 2563 คมู่ อื นสิ ติ คณะศกึ ษาศาสตร์ 2563 ............................................................................................... 5) มีประสบการณ์ด้านปฏิบัติการสอน และมีประสบการณ์ในต�ำแหน่ง ผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา หรอื บคุ ลากรทางการศกึ ษาอนื่ ตามทก่ี ำ� หนดในกฎกระทรวง หรือบุคลากรทางการศึกษาอ่ืนที่มีประสบการณ์การบริหารไม่ต�่ำกวา่ หัวหน้ากล่มุ หรือผู้อ�ำนวยการกลมุ่ หรอื เทียบเท่า รวมกันมาแล้วไม่น้อยกว่าแปดปี ข้อ 9 ผู้ประกอบวิชาชีพศึกษานิเทศก์ต้องมีคุณวฒุิไม่ต่�ำกว่าปริญญาโททางการศึกษา หรือเทียบเท่า หรือมีคุณวฒุิอ่ืนที่คุรุสภารับรอง โดยมีมาตรฐานความรู้และประสบการณ์วิชาชีพ ดังต่อไปน้ี (ก) มาตรฐานความรู้ ประกอบดวยความรดู้ งั ตอ่ ไปน้ี 1) การพัฒนาวชิ าชพี 2) การนิเทศการศึกษา 3) แผนและกิจกรรมการนิเทศ 4) การพฒั นาหลกั สูตรและการจัดการเรยี นรู้ 5) การวิจัยทางการศึกษา 6) นวตั กรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา 7) การประกันคณุ ภาพการศกึ ษา 8) คณุ ธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณ (ข) มาตรฐานประสบการณว์ ิชาชีพ ดงั ตอ่ ไปนี้ 1) มีประสบการณ์ดานปฏิบัติการสอนมาแล้วไม่นอยกว่าห้าปี หรือมี ประสบการณ์ด้านปฏิบัติการสอนและมีประสบการณ์ในต�ำแหน่งผู้บริหาร สถานศึกษา หรือผู้บริหารการศึกษารวมกันมาแล้วไม่น้อยกว่าห้าปี 2) มผี ลงานทางวชิ าการทมี่ ีคณุ ภาพและมกี ารเผยแพร่ ข้อ 10 สาระความรู้และสมรรถนะของผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษาตามมาตรฐาน ความรู้และประสบการณ์วิชาชีพให้เป็นไปตามที่คณะกรรมการคุรุสภาก�ำหนด หมวด 2 มาตรฐานการปฏบิ ัตงิ าน ขอ้ 11 ผปู้ ระกอบวิชาชีพครู ต้องมีมาตรฐานการปฏบิ ตั ิงาน ดังตอ่ ไปนี้ 1) ปฏิบตั กิ จิ กรรมทางวชิ าการเพอื่ พัฒนาวชิ าชีพครใู หก้าวหน้าอยู่เสมอ คมู่ อื นิสิตศกึ ษาศาสตร์ 2563 ............................................................................................... คูม่ ือนสิ ิต คณะศึกษาศาสตร์ 2563 2) ตัดสนิ ใจปฏบิ ตั ิกจิ กรรมตา่ ง ๆ โดยคำ� นงึ ถึงผลทจ่ี ะเกิดแกผ่ ู้เรยี น 3) ม่งุ มั่นพัฒนาผเู้ รียนใหเ้ ตบิ โตเตม็ ตามศกั ยภาพ 4) พัฒนาแผนการสอนให้ สามารถปฏิบตั ไิ ด้จริงในชั้นเรยี น 5) พัฒนาสื่อการเรยี นการสอนใหม้ ีประสทิ ธภิ าพอยูเ่ สมอ 6) จัดกิจกรรมการเรียนการสอนใหผู้เรียนรู้จักคิดวิเคราะห์ คิดสร้างสรรค์ โดย เน้นผลถาวรท่ีเกิดแก่ผู้เรียน 7) รายงานผลการพัฒนาคุณภาพของผู้เรียนได้อย่างมีระบบ 8) ปฏิบัติตนเป็นแบบอยางที่ดีแก่ผู้เรียน 9) ร่วมมือกับผู้อ่ืนในสถานศึกษาอย่างสร้างสรรค์ 10) ร่วมมือกับผู้อ่ืนในชุมชนอย่างสร้างสรรค์ 11) แสวงหาและใช้ข้อมูลข่าวสารในการพัฒนา 12) สร้างโอกาสให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ในทุกสถานการณ์ ข้อ 12 ผู้ประกอบวิชาชีพผู้บริหารสถานศึกษา และผู้บริหารการศึกษา ต้องมี มาตรฐานการปฏิบัติงาน ดังต่อไปน้ี 1) ปฏิบัติกิจกรรมทางวิชาการเพื่อพัฒนาวิชาชีพการบริหารการศึกษาให้ ก้าวหน้าอยู่เสมอ 2) ตัดสินใจปฏิบัติกิจกรรมต่างๆโดยค�ำนึงถึงผลท่ีจะเกิดขึ้นกับการพัฒนา ของผู้เรียนบุคลากรและชุมชน 3) มุ่งม่ันพัฒนาผู้ร่วมงานให้สามารถปฏิบัติงานได้เต็มศักยภาพ 4) พัฒนาแผนงานขององค์การให้มีคุณภาพสูง สามารถปฏิบัติใหเกิดผลได้จริง 5) พัฒนาและใช้นวัตกรรมการบริหารจนเกิดผลงานที่มีคุณภาพสูงขึ้นเป็นล�ำดับ 6) ปฏิบัติงานขององค์การโดยเน้นผลถาวร 7) ด�ำเนินการและรายงานผลการพัฒนาคุณภาพการศึกษาได้อย่างเป็นระบบ 8) ปฏิบัติตนเป็นแบบอยางท่ีดี 9) ร่วมมือกับชุมชนและหน่วยงานอ่ืนอย่างสร้างสรรค์ 10) แสวงหาและใช้ข้อมูลข่าวสารในการพัฒนา 11) เป็นผู้น�ำและสร้างผู้น�ำทางวิชาการในหน่วยงานของตนได้ 12) สร้างโอกาสในการพัฒนาได้ ทุกสถานการณ์ คมู่ ือนิสติ ศกึ ษาศาสตร์ 2563 คมู่ อื นิสติ คณะศกึ ษาศาสตร์ 2563 ............................................................................................... ข้อ 13 ผู้ประกอบวิชาชีพศึกษานิเทศก์ต้องมีมาตรฐานการปฏิบัติงาน ดังต่อไปน้ี 1) ปฏิบัติกิจกรรมทางวิชาการเพื่อพัฒนาการนิเทศการศึกษา เพื่อให้ เกิดการพัฒนาวิชาชีพทางการศึกษาอยางสม่�ำเสมอ 2) ตัดสินใจปฏิบัติกิจกรรมการนิเทศการศึกษา โดยค�ำนึงถึงผลที่จะเกิดแก่ ผู้รับการนิเทศ 3) มุ่งม่ันพัฒนาผู้รับการนิเทศให้ลงมือปฏิบัติกิจกรรมจนเกิดผลต่อการ พัฒนาอย่างมีคุณภาพ เต็มศักยภาพ 4) พัฒนาแผนการนิเทศให้มีคุณภาพสูง สามารถปฏิบัติให้เกิดผลได้จริง 5) พัฒนาและใช้นวัตกรรมการนิเทศการศึกษาจนเกิดผลงานที่มีคุณภาพสูง ข้ึนเป็นล�ำดับ 6) จัดกิจกรรมการนิเทศการศึกษาโดยเน้นผลถาวรท่ีเกิดแก่ผู้รับการนิเทศ 7) ด�ำเนินการและรายงานผลการนิเทศการศึกษาให้มีคุณภาพสูงได้อย่าง เป็นระบบ 8) ปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างท่ีดี 9) ร่วมพัฒนางานกับผู้อื่นอย่างสร้างสรรค์ 10) แสวงหาและใช้ข้อมูลข่าวสารในการพัฒนา 11) เป็นผู้น�ำและสร้างผู้น�ำทางวิชาการ 12) สร้างโอกาสในการพัฒนางานได้ทุกสถานการณ์ หมวด 3 มาตรฐานการปฏิบตั ติ น ข้อ 14 ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ต้องมีมาตรฐานการปฏิบัติตนตามข้อบังคับ คุรุสภาว่าด้วยจรรยาบรรณของวิชาชีพ คมู่ ือนิสติ ศึกษาศาสตร์ 2563 ............................................................................................... คูม่ อื นสิ ิต คณะศกึ ษาศาสตร์ 2563 หมวด 4 บทเฉพาะกาล ขอ้ 15 ข้อบงั คบั นี้ไม่กระทบสทิ ธแิ ละหน้าท่ีของบรรดาผ้ไู ดร้ ับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ ทางการศกึ ษา ที่ใชม้ าตรฐานวชิ าชีพตามขอ้ บังคับครุ สุ ภาวา่ ดว้ ยมาตรฐานวชิ าชพี และจรรยาบรรณ วิชาชีพ พ.ศ.2548 ข้อ 16 ให้สถาบันท่ียังปรับปรุงหลักสูตรไม่แล้วเสร็จตามข้อบังคับน้ี ยังคงใช้หลักสูตร ตามข้อบังคับคุรุสภาว่าด้วยมาตรฐานวิชาชีพและจรรยาบรรณวิชาชีพ พ.ศ. 2548 ไปพลางก่อน ทั้งนี้ ต้องไม่เกินสามปีหลังจากวันท่ีข้อบังคับนี้ใช้บังคับ ข้อ 17 ผู้ท่ีส�ำเร็จการศึกษาตามหลักสูตรท่ีใช้มาตรฐานวิชาชีพตามข้อบังคับคุรุสภา ว่าด้วยมาตรฐานวิชาชีพและจรรยาบรรณของวิชาชีพ พ.ศ. 2548 ที่ต้องการขึ้นทะเบียนขอรับ ใบอนุญาตให้มาขอขึ้นทะเบียนใบอนุญาตใหแล้วเสร็จภายในห้าปีนับต้ังแต่วันท่ีส�ำเร็จการศึกษา ผมู้ คี ณุ วฒุ ไิ มต่ ำ่� กวา่ ปรญิ ญาตรที างการศกึ ษา หรอื เทยี บเทา่ หรอื คณุ วฒุ อิ นื่ ทคี่ รุ สุ ภาใหก้ าร รับรองตามข้อบังคับคุรุสภา ว่าด้วยมาตรฐานวิชาชีพและจรรยาบรรณของวิชาชีพ พ.ศ.2548 สามารถใช้เป็นคุณวุฒิในการขอรับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครู ได้ภายในห้าปีนับ แต่วันท่ี ข้อบังคับนี้ใช้บังคับ ผ้มู คี ุณวุฒไิ ม่ต�่ำกว่าปริญญาตรที างการบริหารการศกึ ษา หรือเทยี บเทา่ หรือคุณวุฒอิ ื่นที่ คุรุสภาให้การรับรองตามข้อบังคับคุรุสภาว่าด้วยมาตรฐานวิชาชีพและจรรยาบรรณของวิชาชีพ พ.ศ.2548 สามารถใช้เปน็ คุณวุฒใิ นการขอรบั ใบอนุญาตประกอบวชิ าชีพผบู้ รหิ ารสถานศึกษา และ ผูบ้ รหิ ารการศึกษา ไดภ้ ายในห้าปนี บั แตว่ นั ทข่ี อ้ บังคับนใ้ี ช้บงั คบั ผู้มีคณุ วุฒไิ ม่ต�่ำกวา่ ปริญญาโททางการศกึ ษา หรือเทียบเท่า หรือคณุ วฒุ อิ ืน่ ทค่ี รุ ุสภา ใหก้ ารรบั รองตามข้อบังคับครุ ุสภาวา่ ด้วยมาตรฐานวิชาชีพและจรรยาบรรณของวชิ าชีพ พ.ศ.2548 สามารถใช้เปน็ คุณวฒุ ใิ นการขอรบั ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพศึกษานเิ ทศก์ ได้ภายในหา้ ปีนับแต่ วันท่ีข้อบงั คบั นใี้ ช้บังคับ ประกาศ ณ วันท่ี 19 กันยายน พ.ศ.2556 (ศาสตราจารยไพฑูรย์ สินลารัตน์) ประธานกรรมการคุรุสภา คู่มอื นิสิตศกึ ษาศาสตร์ 2563 คมู่ ือนสิ ติ คณะศกึ ษาศาสตร์ 2563 ............................................................................................... ข้อบงั คบั ครุ สุ ภา ว่าดว้ ยมาตรฐานวชิ าชพี (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2561 โดยท่ีเป็นการสมควรแก้ไขเพิ่มเติมข้อบังคับคุรุสภา ว่าด้วยมาตรฐานวิชาชีพ พ.ศ. 2556 ซึง่ อาศยั อำ� นาจตามความในมาตรา 9 (1) และ (11) (ฉ) และมาตรา 49 แห่งพระราชบัญญตั ิสภาครู และบุคลากรทางการศกึ ษา พ.ศ. 2546 ประกอบกับมตคิ ณะกรรมการคุรสุ ภา ในการประชุมครัง้ ท่ี 10/2561 วันที่ 24 กันยายน 2561 โดยความเห็นชอบของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ คณะกรรมการคุรุสภา จึงออกข้อบังคับคุรุสภา ว่าด้วยมาตรฐานวิชาชีพ ไว้ดังต่อไปนี้ ขอ้ 1 ข้อบงั คบั นี้เรยี กว่า “ข้อบังคับครุ สุ ภา ว่าด้วยมาตรฐานวิชาชพี (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2561” ข้อ 2 ข้อบงั คบั นใ้ี ห้ใชบ้ ังคบั ต้งั แตว่ นั ท่ี 4 ตลุ าคม 2561 เปน็ ต้นไป ข้อ 3 ใหย้ กเลิกความในข้อ 17 แห่งข้อบังคบั ครุ สุ ภา ว่าดว้ ยมาตรฐานวิชาชีพ พ.ศ. 2556 และให้ใช้ความต่อไปนแ้ี ทน ข้อ 17 ผู้ที่ส�ำเร็จการศึกษาตามหลักสูตรท่ีใช้มาตรฐานวิชาชีพตามข้อบังคับคุรุสภาว่าด้วย มาตรฐานวิชาชีพและจรรยาบรรณของวิชาชพี พ.ศ. 2548 ทต่ี ้องการข้นึ ทะเบยี นขอรบั ใบอนญุ าต ให้มาขอขึน้ ทะเบยี นใบอนญุ าตให้แล้วเสร็จภายในห้าปนี ับต้ังแตว่ ันทส่ี ำ� เรจ็ การศกึ ษา ผมู้ ีคุณวฒุ ิไม่ ต�่ำกว่าปริญญาตรีและผ่านการรับรองความรู้และประสบการณ์วิชาชีพครูตามข้อบังคับคุรุสภาว่า ดว้ ย มาตรฐานวิชาชพี และจรรยาบรรณของวิชาชีพ พ.ศ. 2548 สามารถใช้เป็นคุณวุฒิในการขอรบั ใบอนุญาต ประกอบวิชาชีพครูได้ภายในห้าปีตามท่ีก�ำหนดในข้อบังคับคุรุสภาว่าด้วยมาตรฐาน วิชาชีพ พ.ศ. 2556 หากพ้นก�ำหนดแล้ว ไม่สามารถขอรับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครูได้ กรณีผู้มีคุณวุฒิไม่ต่�ำกว่าปริญญาตรีและผ่านการรับรองมาตรฐานความรู้ครบเก้ามาตรฐาน แต่ยังขาด ประสบการณ์วิชาชีพครู ตามที่ก�ำหนดในข้อบังคับคุรุสภา ว่าด้วยการรับรองความรู้ และประสบการณ์วิชาชีพ เพื่อการประกอบวิชาชีพทางการศึกษา พ.ศ. 2550 เมื่อได้ผ่านการ คูม่ อื นิสิตศกึ ษาศาสตร์ 2563 ............................................................................................... ค่มู ือนสิ ติ คณะศึกษาศาสตร์ 2563 รับรองประสบการณ์วิชาชีพครูแล้ว ให้สามารถใช้เป็นคุณวุฒิในการขอรับใบอนุญาตประกอบ วิชาชีพครูได้ ภายในวันท่ี 3 ตุลาคม 2563 หากพ้นก�ำหนดแล้ว ไม่สามารถขอรับใบอนุญาต ประกอบวิชาชีพครูได้ ผ้มู ีคุณวุฒไิ ม่ต่ำ� กวา่ ปรญิ ญาตรที างการบริหารการศกึ ษา หรือเทยี บเท่า หรอื คณุ วุฒิอน่ื ที่ ครุ สุ ภาใหก้ ารรบั รอง ตามขอ้ บงั คบั ครุ สุ ภา วา่ ดว้ ยมาตรฐานวชิ าชพี และจรรยาบรรณของวิชา ชีพพ.ศ. 2548 สามารถใชเ้ ป็นคณุ วุฒใิ นการขอรับใบอนุญาตประกอบวชิ าชีพผบู้ ริหารสถานศกึ ษา และผูบ้ ริหารการศกึ ษาไดภ้ ายในห้าปีนับแต่วนั ที่ข้อบังคบั คุรสุ ภา ว่าด้วยมาตรฐานวชิ าชพี พ.ศ. 2556 ใชบ้ งั คบั ผู้มีคุณวุฒิไม่ต่�ำกว่าปริญญาโททางการศึกษา หรือเทียบเท่าหรือคุณวุฒิอื่นที่คุรุสภา ให้การรับรองตามข้อบังคับคุรุสภาว่าด้วยมาตรฐานวิชาชีพ และจรรยาบรรณของวิชาชีพ พ.ศ.2548 สามารถใช้เป็นคุณวุฒิในการขอรับใบอนุญาต ประกอบวิชาชีพศึกษานิเทศก์ ได้ภายในห้าปีนับแต่วันท่ีข้อบังคับคุรุสภา ว่าด้วยมาตรฐานวิชาชีพ พ.ศ. 2556 ใช้บังคับ” ประกาศณ วนั ที่ 26 กนั ยายน พ.ศ. 2561 ธีระเกยี รติ เจรญิ เศรษฐศิลป์ รฐั มนตรีวา่ การกระทรวงศกึ ษาธิการ ประธานกรรมการครุ ุสภา ค่มู ือนิสติ ศึกษาศาสตร์ 2563 คมู่ ือนิสติ คณะศกึ ษาศาสตร์ 2563 ............................................................................................... ข้อบงั คบั คุรสุ ภา ว่าด้วยมาตรฐานวิชาชพี (ฉบบั ที่ 3) พ.ศ. 2561 โดยที่เป็นการสมควรแก้ไขเพิ่มเติมข้อบังคับคุรุสภา ว่าด้วยมาตรฐานวิชาชีพ (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2561 อาศัยอ�ำนาจตามความในมาตรา 9 (1) และ (11) (ฉ) และมาตรา 49 แห่งพระราชบัญญัติ สภาครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2546 ประกอบกับมติคณะกรรมการคุรุสภา ในการประชุม ครงั้ ท1ี่ 1/2561 วนั ท่ี 30 ตลุ าคม 2561 โดยความเหน็ ชอบของรฐั มนตรวี า่ การกระทรวงศกึ ษาธกิ าร คณะ กรรมการคุรุสภา จึงออกข้อบังคับคุรุสภา ว่าด้วยมาตรฐานวิชาชีพ ไว้ดังต่อไปนี้ ขอ้ 1 ข้อบงั คับนี้เรยี กวา่ “ข้อบงั คับคุรุสภา วา่ ด้วยมาตรฐานวิชาชพี (ฉบบั ที่ 3) พ.ศ. 2561” ข้อ 2 ข้อบังคับนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ข้อ 3 ให้ยกเลิกความในข้อ 17 แห่งข้อบังคับคุรุสภา ว่าด้วยมาตรฐานวิชาชีพ พ.ศ. 2556 ซ่ึงแก้ไขเพิ่มเติมโดยข้อบังคับคุรุสภา ว่าด้วยมาตรฐานวิชาชีพ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2561 และให้ใช้ ความต่อไปนี้แทน “ข้อ 17 ผู้ท่ีส�ำเร็จการศึกษาตามหลักสูตรท่ีใช้มาตรฐานวิชาชีพตามข้อบังคับคุรุสภา ว่าด้วยมาตรฐานวิชาชีพและจรรยาบรรณของวิชาชีพ พ.ศ. 2548 ท่ีต้องการขอรับใบอนุญาต ให้มาขอรับใบอนุญาตได้ ผู้มีคุณวุฒิไม่ต่�ำกว่าปริญญาตรีและผ่านการรับรองความรู้และประสบการณ์วิชาชีพครู ตามกฎข้อบังคับคุรุสภา ว่าด้วยมาตรฐานวิชาชีพและจรรยาบรรณของวิชาชีพ พ.ศ. 2548 สามารถใช้เป็นคุณวุฒิในการขอรับใบอนุญาต ประกอบวิชาชีพครูได้ภายในห้าปีตามท่ีก�ำหนด ในข้อบังคับคุรุสภา ว่าด้วยมาตรฐานวิชาชีพ พ.ศ. 2556 หากพ้นก�ำหนดแล้ว ไม่สามารถขอรับ ใบอนุญาติประกอบวิชาชีพครูได้ คู่มือนิสิตศกึ ษาศาสตร์ 2563 ............................................................................................... ค่มู ือนิสติ คณะศกึ ษาศาสตร์ 2563 กรณผี มู้ คี ุณวฒุ ิไม่ต�ำ่ กว่าปรญิ ญาตรี และผ่านการรับรองมาตรฐานความรู้ครบเกา้ มาตรฐาน แต่ยงั ขาด ประสบการณ์วิชาชพี ครู ตามทก่ี ำ� หนดในข้อบงั คบั คุรุสภา วา่ ด้วยการรบั รองความรู้ และ ประสบการณ์วิชาชีพเพ่ือการประกอบวิชาชีพทางการศึกษา พ.ศ.2550 เมื่อได้ผ่านการรับรอง ประสบการณว์ ิชาชพี ครูแล้ว ใหส้ ามารถใช้เป็นคณุ วฒุ ใิ นการขอรบั ใบอนญุ าต ประกอบวชิ าชพี ครูได้ ภายในวันที่ 3 ตลุ าคม 2563 หากพ้นก าหนดแลว้ ไม่สามารถขอรบั ใบอนุญาต ประกอบวชิ าชีพครไู ด้ ผู้มีคุณวุฒิไม่ต่�ำกว่าปริญญาตรีทางการบริหารการศึกษา หรือเทียบเท่า หรือคุณวุฒิอื่นที่ ครุ สุ ภาให้ การรับรองตามข้อบังคับคุรสุ ภา ว่าด้วยมาตรฐานวชิ าชีพ และจรรยาบรรณของวชิ าชพี พ.ศ. 2548 สามารถใช้เป็นคุณวุฒิในการขอรับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพผู้บริหารสถานศึกษาและ ผบู้ รหิ ารการศึกษาได้ ผู้มีคุณวุฒิไม่ต่�ำกว่าปริญญาโททางการศึกษา หรือเทียบเท่าหรือคุณวุฒิอื่นที่คุรุสภา ให้การรับรองตาม ข้อบังคับคุรุสภา ว่าด้วยมาตรฐานวิชาชีพและจรรยาบรรณของวิชาชีพ พ.ศ. 2548 สามารถใช้เป็นคุณวุฒิในการขอรับ ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพศึกษานิเทศก์ได้” ประกาศ ณ วนั ท่ี 7 พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2561 ธีระเกยี รติ เจริญเศรษฐศลิ ป์ รฐั มนตรวี ่าการกระทรวงศึกษาธิการ ประธานกรรมการครุ สุ ภา คูม่ ือนิสิตศกึ ษาศาสตร์ 2563 คู่มอื นิสติ คณะศึกษาศาสตร์ 2563 ............................................................................................... ขอ้ บังคับคุรสุ ภา ว่าด้วยมาตรฐานวชิ าชีพ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2562 โดยท่ีเป็นการสมควรแก้ไขเพิ่มเติมข้อบังคับคุรุสภา ว่าด้วยมาตรฐานวิชาชีพ พ.ศ. 2556 ในส่วนของวิชาชีพครูเพื่อให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงและทิศทางการศึกษาของชาติ อาศยั อำ� นาจตามความในมาตรา 9 (1) และ (11) (ฉ) และมาตรา 49 แห่งพระราชบญั ญัติ สภาครแู ละบคุ ลากร ทางการศกึ ษา พ.ศ. 2546 ประกอบกับมติคณะกรรมการครุ ุสภา ในการประชมุ ครง้ั ที่ 13/2561 เมื่อวันท่ี 17 ธนั วาคม 2561 คุรสุ ภาโดยไดร้ บั ความเห็นชอบจากรัฐมนตรวี า่ การ กระทรวงศึกษาธิการ จงึ ออกข้อบังคับครุ ุสภา ว่าดว้ ยมาตรฐานวิชาชีพไว้ ดงั ต่อไปน้ี ขอ้ 1 ขอ้ บังคบั น้เี รยี กว่า “ขอ้ บงั คับครุ ุสภา ว่าดว้ ยมาตรฐานวชิ าชพี (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2562” ข้อ 2 ข้อบังคับนี้ให้ใช้บังคับต้ังแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป ข้อ 3 ให้ยกเลิกความในบทนิยามค�ำว่า“มาตรฐานความรู้และประสบการณ์วิชาชีพ” “มาตรฐานการปฏิบัติงาน” และ“มาตรฐานการปฏิบัติตน” ในข้อ 4 แห่งข้อบังคับคุรุสภา ว่าด้วย มาตรฐานวิชาชพี พ.ศ. 2556 และให้ใชค้ วามตอ่ ไปน้ีแทน “มาตรฐานความรู้และประสบการณว์ ชิ าชีพ หมายความว่า ข้อก�ำหนดเก่ียวกบั ความรู้และ ประสบการณ์ ในการจดั การเรยี นรู้ หรอื การจัดการศึกษา ซ่ึงผปู้ ระกอบวชิ าชีพทางการศกึ ษารวมทง้ั ผตู้ ้องการประกอบวิชาชพี ทางการศึกษา ตอ้ งมเี พยี งพอท่ีสามารถนำ� ไปใช้ในการประกอบวชิ าชพี ได”้ “มาตรฐานการปฏบิ ัติงาน หมายความว่า ข้อก�ำหนดเกย่ี วกบั คุณลักษณะ หรือการแสดง พฤตกิ รรม การปฏบิ ัตงิ านและการพฒั นางาน ซึ่งผปู้ ระกอบวิชาชีพทางการศกึ ษา รวมทงั้ ผูต้ ้องการ ประกอบวิชาชีพทางการศกึ ษา ต้องปฏบิ ัตติ าม เพอื่ ให้เกิดผลตามวตั ถปุ ระสงค์ และเป้าหมายการ เรียนรหู้ รอื การจดั การศึกษา รวมทง้ั ต้องฝกึ ฝนพฒั นาตนเองใหม้ ที ักษะ หรอื ความช�ำนาญสูงข้นึ อย่าง ต่อเนื่อง” “มาตรฐานการปฏบิ ตั ติ น หมายความวา่ จรรยาบรรณของวชิ าชีพที่ก�ำหนดขึน้ เป็นแบบแผน ในการประพฤติปฏบิ ตั ติ น ซ่ึงผูป้ ระกอบวชิ าชีพทางการศึกษา รวมท้งั ผู้ต้องการประกอบวิชาชพี ทางการศึกษาต้องยึดถือปฏิบัติตาม เพ่ือรักษาและส่งเสริมเกียรติคุณช่ือเสียง และฐานะของ ค่มู อื นิสติ ศึกษาศาสตร์ 2563 ............................................................................................... คูม่ อื นสิ ิต คณะศึกษาศาสตร์ 2563 ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษาให้เป็นท่ีเชื่อถือศรัทธาแก่ผู้รับบริการและสังคม อันจะน�ำมา ซ่ึงเกียรติ และศักดิ์ศรีแห่งวิชาชีพ” ขอ้ 4 ใหย้ กเลิกความในขอ้ 6 แหง่ ข้อบังคับครุ สุ ภา ว่าดว้ ยมาตรฐานวิชาชพี พ.ศ. 2556 และใหใ้ ช้ความตอ่ ไปนแี้ ทน “ข้อ 6 ผู้ประกอบวิชาชพี ครู ต้องมคี ณุ วฒุ ิไม่ตำ�่ กวา่ ปริญญาตรที างการศกึ ษาหรอื เทียบ เทา่ หรือมคี ณุ วฒุ ิอื่นท่คี ุรสุ ภารับรอง โดยมมี าตรฐานความรู้และประสบการณว์ ชิ าชพี ดังต่อไปนี้ (ก) มาตรฐานความรู้ ตอ้ งมคี วามรอบร้แู ละเข้าใจในเรอ่ื ง ดังตอ่ ไปน้ี (1) การเปลี่ยนแปลงบริบทของโลก สังคม และแนวคิดของปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง (2) จิตวิทยาพัฒนาการ จิตวิทยาการศึกษาและจิตวิทยาให้ค�ำปรึกษา ในการวิเคราะหแ์ ละพัฒนาผูเ้ รยี นตามศักยภาพ (3) เน้ือหาวิชาท่ีสอน หลักสูตร ศาสตร์การสอนและเทคโนโลยีดิจิทัล ในการจดั การเรยี นรู้ (4) การวัด ประเมินผลการเรียนรู้ และการวิจัยเพ่ือแก้ปัญหาและ พัฒนาผู้เรียน (5) การใช้ภาษาไทย ภาษาอังกฤษเพื่อการสอ่ื สาร และการใชเ้ ทคโนโลย ี ดจิ ิทลั เพอ่ื การศึกษา (6) การออกแบบและการด�ำเนนิ การเก่ยี วกับงานประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา (ข) มาตรฐานประสบการณ์วิชาชีพ ผ่านการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา ตามหลกั สตู รปริญญาทางการศกึ ษาเปน็ เวลาไมน่ อ้ ยกวา่ หนึง่ ปี และผา่ นเกณฑ์การประเมนิ ปฏบิ ตั ิ การสอนตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่คณะกรรมการคุรุสภาก�ำหนด ดังต่อไปน้ี (1) การฝึกปฏบิ ตั ิวิชาชพี ระหว่างเรยี น (2) การปฏบิ ตั กิ ารสอนในสถานศึกษาในสาขาวิชาเฉพาะ ข้อ 5 ใหย้ กเลกิ ความในขอ้ 10 แหง่ ขอ้ บังคับคุรุสภา ว่าด้วยมาตรฐานวชิ าชพี พ.ศ. 2556 และใหใ้ ชค้ วามต่อไปนี้แทน คูม่ อื นสิ ติ ศกึ ษาศาสตร์ 2563 คมู่ อื นิสิต คณะศึกษาศาสตร์ 2563 ............................................................................................... “ข้อ 10 รายละเอียดของมาตรฐานความรู้และประสบการณ์วิชาชีพให้เป็นไป ตามท่ีคณะกรรมการคุรุสภาก�ำหนด” ขอ้ 6 ใหย้ กเลกิ ความในขอ้ 11 แห่งขอ้ บังคับคุรุสภา วา่ ด้วยมาตรฐานวชิ าชพี พ.ศ. 2556 และใหใ้ ช้ความต่อไปนี้แทน “ข้อ 11 ผูป้ ระกอบวชิ าชพี ครู ตอ้ งมมี าตรฐานการปฏบิ ัติงาน ดงั น้ี (ก) การปฏบิ ตั หิ น้าที่ครู (1) ม่งุ มัน่ พฒั นาผู้เรยี น ด้วยจิตวิญญาณความเป็นครู (2) ประพฤติตนเป็นแบบอย่างท่ีดี มีคุณธรรม จริยธรรม และ มีความเป็นพลเมอื งทเ่ี ขม้ แข็ง (3) ส่งเสรมิ การเรยี นรู้ เอาใจใส่ และยอมรบั ความแตกต่างของ ผ้เู รียนแต่ละบคุ คล (4) สร้างแรงบันดาลใจผู้เรียนให้เป็นผู้ใฝ่เรียนรู้ และผู้สร้าง นวตั กรรม (5) พัฒนาตนเองให้มีความรอบรู้ ทันสมัย และทันต่อการ เปลีย่ นแปลง (ข) การจดั การเรยี นรู้ (1) พัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา การจัดการเรียนรู้ สื่อการวัด และประเมินผลการเรียนรู้ (2) บูรณาการความรู้และศาสตร์การสอนในการวางแผน และ จัดการเรียนรู้ที่ สามารถพัฒนาผู้เรียนให้มีปัญญารู้คิด และมีความเป็น นวัตกรรม (3) ดูแล ช่วยเหลอื และพฒั นาผเู้ รยี นเป็นรายบุคคลตามศกั ยภาพ สามารถรายงานผลการพัฒนาคณุ ภาพผู้เรียนได้อยา่ งเป็นระบบ (4) จดั กจิ กรรมและสรา้ งบรรยากาศการเรยี นรใู้ หผ้ เู้ รยี นมคี วาม สขุ ในการเรียน โดยตระหนักถึงสขุ ภาวะของผู้เรียน คมู่ อื นสิ ติ ศึกษาศาสตร์ 2563 ............................................................................................... คู่มือนสิ ติ คณะศึกษาศาสตร์ 2563 (5) วิจัย สร้างนวัตกรรม และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลให้ เกิดประโยชน์ตอ่ การเรยี นร้ขู องผูเ้ รยี น (6) ปฏิบัติงานร่วมกับผู้อ่ืนอย่างสร้างสรรค์ และมีส่วนร่วมใน สว่ นกจิ กรรมการพฒั นาวิชาชีพ (ค) ความสมั พันธ์กับผู้ปกครองและชมุ ชน (1)รว่ มมือกบั ผูป้ กครองในการพฒั นาและแกป้ ญั หาผูเ้ รียนใหม้ ี คณุ ลักษณะทพ่ี ึงประสงค์ (2) สร้างเครือข่ายความร่วมมือกับผู้ปกครองและชุมชน เพื่อ สนับสนุนการเรียนรทู้ ม่ี คี ณุ ภาพของผู้เรยี น (3) ศึกษา เขา้ ถงึ บริบทของชุมชน และสามารถอยู่รว่ มกันบน พน้ื ฐานความแตกต่างทางวัฒนธรรม (4) สง่ เสริม อนรุ ักษว์ ฒั นธรรม และภูมิปัญญาทอ้ งถ่ิน ข้อ7 ข้อบังคับฉบับนี้ไม่กระทบสิทธิและหน้าที่ของผู้ได้รับและผู้ขอรับใบอนุญาตประกอบ วิชาชีพครูที่ใช้มาตรฐานวิชาชีพตามข้อบังคับคุรุสภา ว่าด้วยมาตรฐานวิชาชีพ พ.ศ. 2556 และที่ แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2561และ (ฉบับท่ี 3) พ.ศ. 2561 ประกาศ ณ วนั ที่ 13 กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. 2562 ธีระเกยี รติ เจรญิ เศรษฐศลิ ป์ รฐั มนตรีวา่ การกระทรวงศึกษาธิการ ประธานกรรมการครุ ุสภา คู่มอื นสิ ติ ศกึ ษาศาสตร์ 2563 คูม่ อื นสิ ติ คณะศกึ ษาศาสตร์ 2563 ............................................................................................... แนะน�ำ คณะศกึ ษาศาสตร์ ประวตั คิ วามเป็นมา .................................................................................................................................................ศาสตราจารย์ ดร.ประเสริฐ ณ นคร โดย ท� ำ ห น ้ า ท่ี ใ น ต� ำ แ ห น ่ ง รั ก ษ า ก า ร ค ณ บ ดี คณะศกึ ษาศาสตรไ์ ดร้ บั การสถาปนาขน้ึ คณะศึกษาศาสตร์ อีกต�ำแหน่งหน่ึง ต่อมา ในปี พ.ศ.2514 สภามหาวิทยาลัยได้มีค�ำส่ัง เป็นคณะวิชาตามประกาศส�ำนักนายกรัฐมนตรี แต่งตั้ง ศาสตราจารย์ ดร.อุบล เรยี งสวุ รรณ ให้ด�ำรงต�ำแหน่ง คณบดีคณะศึกษาศาสตร์ เมื่อวันท่ี 28 พฤศจิกายน พ.ศ.2512 ผู้ริเร่ิม โดยใช้อาคารคณะสัตวแพทย์เดิม ซึ่งต้ังอยู่ กอ่ ตัง้ คณะศึกษาศาสตร์ คือ ศาสตราจารย์ ใกล้บริเวณริมถนนวิภาวดีรังสิต เป็นที่ท�ำการ ดร.ประเสริฐ ณ นคร ขณะนัน้ ทำ� หน้าทีเ่ ปน็ ชั่วคราวหลังจากนั้นคณะศึกษาศาสตร์ได้รับ รองอธกิ ารบดีฝา่ ยวิชาการ และศาสตราจารย์ งบประมาณให้ก่อสร้างอาคาร 3 ชั้น จ�ำนวน ดร.อุบล เรียงสุวรรณ ด้วยความเห็นชอบของ 2 หลัง ในเวลาใกล้เคียงกันเพื่อใช้เป็นอาคาร คณะกรรมการวางแผนและพัฒนามหาวิทยาลัย ท�ำการและอาคารเรียนคณะศึกษาศาสตร์ได้ เกษตรศาสตร์ ซึ่งมี ศาสตราจารย์เทียม คมกฤส ย้ายจากท่ีท�ำการช่ัวคราวมายังอาคารปัจจุบัน เป็นประธานกรรมการ ท้ังนี้การด�ำริจัดต้ัง เมอื่ วันที่ 21 พฤษภาคม พ.ศ.2516 ในช่วง พ.ศ.2512 – 2513 คณะ คณะศึกษาศาสตร์ ได้รับการสนับสนุนจาก ศึกษาศาสตร์ได้เปิดสอนหลักสูตรปริญญาตรี สาขาวิชาศึกษาศาสตร์-เกษตร ส�ำหรับผู้ที่จบ องค์อธิการบดีหม่อมเจ้าจักรพันธ์เพ็ญศิริ ม.ศ.5 และข้าราชการครู ผู้มีวุฒิ ปวส. ปม.ก. หรอื เทียบเทา่ สาขาวิชาศกึ ษาศาสตร-์ พลศกึ ษา จักร์พันธ์ และคณบดีคณะต่าง ๆ ของ น อ ก จ า ก น้ี ยั ง เ ป ิ ด ห ลั ก สู ต ร ป ริ ญ ญ า โ ท คุรุศาสตร์เกษตรและส่งเสริมการเกษตร มหาวิทยาลัย โดยมีวัตถุประสงค์ในระยะ ซ่ึงเป็นโครงการร่วมกับส�ำนักส่งเสริมและ ฝึกอบรม ในปี พ.ศ.2514 คณะศึกษาศาสตร์ เริ่มแรก เพื่อผลิตครูปริญญาตรี สาขาวิชา ได้เปิดสอนหลักสูตรปริญญาตรี สาขาวิชา ศึกษาศาสตร์-คหกรรมศาสตร์ ส�ำหรับ ศึกษาศาสตร์เกษตร ศึกษาศาสตร์- คู่มือนสิ ิตศกึ ษาศาสตร์ คหกรรมศาสตร์ และศึกษาศาสตร์-พลศึกษา 2563 เม่ือเร่ิมการจัดตั้งคณะศึกษาศาสตร์ ประกอบด้วยภาควิชา และหน่วยงานรวม 4 หน่วยงาน คือ ภาควิชาการศึกษา ภาควิชา พลศึกษา (จากคณะวิทยาศาสตร์และอักษร- ศาสตร)์ ภาควิชาอาชีวศกึ ษา (เกษตรนิเทศ คณะ เกษตร) และสำ� นกั งานเลขานกุ ารคณะ ภายใต้ การบริหารงานของรองอธิการบดีฝ่ายวิชาการ ............................................................................................... คู่มือนสิ ิต คณะศกึ ษาศาสตร์ 2563 ข้าราชการผู้มีวฒุ ิ ปวส. หรอื เทยี บเทา่ และ ..............................................................................................................................................................คณะศกึ ษาศาสตร์ ในสมยั น้ัน ไดเ้ ริ่มแผนงาน ในปี พ.ศ.2520 จึงได้เปิดรับผู้ท่ีจบ ม.ศ.5 ระยะแรกในปี พ.ศ.2514 โดยรับนักเรียน เข้าศึกษาใน หลักสูตรปริญญาตรี สาขาวิชา ช้นั ประถมศึกษาปีที่ 1 ประถมศกึ ษาปีท่ี 5 และ ศึกษาศาสตร์-คหกรรมศาสตร์ เป็นปีแรกด้วย มัธยมศึกษาปีท่ี 1 ในระยะ 5 ปี ต่อมา ในระยะต่อมาคณะศึกษาศาสตร์ได้เปิดสอน โรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ระดบั ปรญิ ญาตรเี พิม่ ข้นึ อีก 2 สาขา คอื สาขา สามารถเปิดสอนได้ทุกชั้นปี คือ ต้ังแต่ชั้น วชิ าสุขศกึ ษา เม่ือ พ.ศ.2524 สาขาวิชาธรุ กิจ ประถมศกึ ษาปที ่ี 1 ถงึ ช้นั มัธยมศึกษาปีที่ 6 ศกึ ษา เมอ่ื พ.ศ.2525 (12 ชัน้ ปี ตามแผน การศึกษาระดบั ประถมศึกษา ผลสืบเน่ืองจากที่มหาวิทยาลัย และระดับมัธยมศึกษาในสมัยนั้น) ผู้บริหาร เกษตรศาสตร์ได้จัดตั้งคณะศึกษาศาสตร์และ ม ห า วิ ท ย า ลั ย เ ก ษ ต ร ศ า ส ต ร ์ ใ น ค รั้ ง นั้ น ในโครงการฝึกหดั ครูระดบั ปรญิ ญานนั้ มีความ ไ ด ้ ช ่ ว ย เ ห ลื อ ส นั บ ส นุ น ทุ ก วิ ถี ท า ง ท่ี ใ ห ้ จ�ำเป็นต้องมีโรงเรียนส�ำหรับฝึกปฏิบัติงานครู โรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ การวิจัยค้นคว้าเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอน ด�ำเนินงานควบคู่ไปกับคณะศึกษาศาสตร์ และการศึกษาพฤติกรรมของเด็กในวัยเรียน ไดอ้ ยา่ งราบรน่ื เจริญก้าวหน้า ท้งั ดา้ นบริหาร ตามมาตรฐานการฝึกงานวิชาชีพศึกษาศาสตร์ และวชิ าการอยา่ งดที ี่สุด ดังนั้นจึงได้มีการพิจารณาเรื่องการจัดต้ังของ นอกจากนี้ โรงเรียนสาธติ ฯ มโี ครงการ โรงเรียนสาธติ ฯ ข้นึ คณะกรรมการการศึกษา การจัดการศกึ ษา อกี 3 โครงการ ของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ในสมัยน้ัน 1. โครงการเตรยี มความพร้อมก่อนเขา้ ซึ่งมี ศาสตราจารย์ สง่า สรรพศรี เป็น ศกึ ษาหลักสูตรปริญาตรี โดยการมอบหมายจาก ประธานกรรมการศึกษา คณะกรรมการ ม ห า วิ ท ย า ลั ย ใ ห ้ ค ณ ะ ศึ ก ษ า ศ า ส ต ร ์ แ ล ะ ดังกล่าวมีความเห็นพ้องต้องกันว่าให้จัดตั้ง โรงเรยี นสาธิตฯ ร่วมดำ� เนนิ การจดั ท�ำหลักสตู ร โรงเรยี นสาธติ ฯ ภายใต้การด�ำเนินการของ ทีเ่ หมาะสม ตลอดจนกจิ กรรมตา่ ง ๆ ให้นกั ศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ใช้ส�ำหรับฝึกงานค้นคว้า ล า ว แ ล ะ กั ม พู ช า ไ ด ้ มี โ อ ก า ส ป รั บ ตั ว ต า ม หาความช�ำนาญ และประสบการณ์วิชาชีพ สภาพแวดล้อมของ มหาวิทยาลัยฯ และ ศึกษาศาสตร์ กอ่ นจะส�ำเร็จไปประกอบวชิ าชีพครู สภาพสังคมท่ัวไป ของประเทศไทย ท้ังนี้เร่ิม โรงเรียนสาธิต ฯ ภายใตก้ ารดำ� เนนิ งาน ด�ำเนินการต้งั แตป่ กี ารศกึ ษา 2535 ถึง 2541 ของศาสตราจารย์ ดร.อบุ ล เรยี งสุวรรณ คณบดี คู่มือนิสติ ศึกษาศาสตร์ 2563 คู่มือนิสติ คณะศกึ ษาศาสตร์ 2563 ............................................................................................... 2. โครงการการศึกษานานาชาติเพ่ือ ..............................................................................................................................................................เพ่ิมเติมในสาขาวิชา การสอนภาษาฝรั่งเศส พัฒนาการศึกษาของประเทศไปสู่ความเป็น และสาขาวิชาจิตวิทยาการศึกษาและการ นานาชาติให้สอดคล้องกับความต้องการในการ แนะแนว และในระยะตอ่ มาไดเ้ ปดิ สอนระดับ พัฒนาเศรษฐกจิ สงั คม และวฒั นธรรมของชาติ ปริญญาโท เพิ่มอีก 6 สาขา คือ สาขาวิชา โดยให้โอกาสแก่บุตรธิดาของชาวต่างประเทศ การศึกษาผู้ใหญ่ เม่ือ พ.ศ.2524 สาขาวิชา แ ล ะ ช า ว ไ ท ย ท่ี มี ค ว า ม ป ร ะ ส ง ค ์ เ ข ้ า ศึ ก ษ า เทคโนโลยีการศึกษา เมื่อ พ.ศ.2528 สาขา ท้ังน้ีเริ่มรับนักเรียนช้ัน ป.1–ป.3 ตั้งแต่ วิชาศึกษาศาสตร์-พลศึกษา เมื่อ พ.ศ. 2530 ปกี ารศกึ ษา 2537 ปัจจุบันเปิดสอนนักเรียน สาขาวิชาวิจัยและประเมินผลการศึกษา และ ต้ังแต่ช้ันเตรียม ป.1 ถึง ม.6 สาขาวิชาการบริหารการศึกษาในปี พ.ศ.2533 3. โครงการการศึกษาพหุภาษาเพื่อ ในปี พ.ศ.2523 มหาวิทยาลัย ด�ำเนินการจัดการศึกษาสนองนโยบายของ เกษตรศาสตร์ ได้ขยายวิทยาเขตไปตั้งอยู่ท่ี รัฐบาลในการท่ีจะพัฒนาบุคลากร โดยเน้น อ�ำเภอก�ำแพงแสน จังหวัดนครปฐมอีกแห่ง ค ว า ม ส� ำ คั ญ ข อ ง ก า ร พั ฒ น า ศั ก ย ภ า พ ข อ ง หนงึ่ คณะศกึ ษาศาสตร์ ซ่งึ มกี ารจดั การเรยี น เยาวชนให้สามารถใช้ภาษาสื่อสารได้หลาย การสอนของภาควิชาชีวศึกษา คือ สาขาวิชา ภาษาเป็นการเตรียมพ้ืนฐานรองรับความ ศึกษาศาสตร์เกษตร ที่วิทยาเขตก�ำแพงแสน ก้าวหน้าทางวิทยาการ และเทคโนโลยีใหม่ ๆ พรอ้ มกบั การจดั ตง้ั โรงเรียนสาธติ ฯ ณ วทิ ยาเขต ในยคุ โลกาภวิ ฒั น์ โรงเรียนสาธิตฯ จดั โครงการ ก�ำแพงแสนข้ึน เมอ่ื เดือนพฤศจกิ ายน พ.ศ.2523 ในระดับประถมศกึ ษาและมธั ยมศกึ ษา โดยเรม่ิ คณะศึกษาศาสตร์ได้รับการอนุมัติ รับนักเรยี นชั้น ป.1 ตัง้ แต่ปกี ารศกึ ษา 2544 ให้ขยายงานทั้งด้านวิชาการและบุคลากร จ�ำนวน 100 คน ณ จงั หวัดชลบุรี มาเป็นระยะ ดังน้ี นอกจากนี้การจัดการศึกษาในระดับ พ.ศ.2525 หลักสูตรธุรกิจศึกษาเปิด ปริญญาตรีแล้ว ในปี พ.ศ. 2519 คณะ หลกั สูตรตอ่ เนือ่ ง (2 ป)ี รับเฉพาะผ้ทู ี่จบ ปวส. ศึกษาศาสตร์ได้เปดิ สอน ระดับปริญญาโท 5 หรือเทียบเท่าเข้ามาศึกษาต่อ สาขาวชิ า คอื การสอนวทิ ยาศาสตร์ การสอน พ.ศ.2528 ได้รับการอนุมัติให้จัดต้ัง สงั คมศกึ ษา การสอนคณิตศาสตร์ การสอน ภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษาขึ้น เพ่ือจัดการ ภาษาไทย และการสอนภาษาอังกฤษ ต่อมาใน เรยี นการสอน เฉพาะทางเทคโนโลยีการศกึ ษา ปี พ.ศ 2520 ได้เปิดสอนระดับปริญญาโท ในระดับปริญญโท และให้บริการวิชาที่ คมู่ ือนิสติ ศึกษาศาสตร์ 2563 ............................................................................................... ค่มู ือนสิ ติ คณะศกึ ษาศาสตร์ 2563 เก่ียวข้องเทคโนโลยีการศึกษา แก่นิสิต ..............................................................................................................................................................ทางอาชีวศึกษา (ภาควิชาอาชีวศึกษา) ทุกสาขาวิชาในมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 10. หน่วยปฏิบัติการอาชีวศึกษา พ.ศ.2532 ได้รับการอนุมัติให้จัดต้ัง ภาควิชาจิตวิทยาการศึกษาและการแนะแนว (ภาควิชาอาชีวศึกษา) พ.ศ.2532 ไดร้ บั การอนมุ ตั จิ ากทป่ี ระชมุ 11. ศูนย์วิจัยและพัฒนาวิทยาศาสตร์ สภามหาวิทยาลัย คร้ังที่ 5/2533 ให้บรรจุ โครงการ จัดตงั้ ศูนย/์ หน่วย 12 โครงการ โดย การกีฬา (ภาควิชาวิทยาศาสตร์การกีฬา) ไม่ขอแบ่งส่วนราชการตามแผนการศึกษา 12. โครงการห้องปฏิบัติการทางจิตวิทยา ระดบั อดุ มศกึ ษา ฉบับที่ 7 ทั้งนี้ 5 โครงการ แรก คือ โครงการลำ� ดับที่ 1-5 จะอยใู่ นความ (ภาควิชาจิตวิทยาการศึกษาและการแนะแนว) ดูแลของคณะศึกษาศาสตร์ อีก 7 โครงการอยใู่ น ความดูแลของภาควชิ าซึ่งมรี ายละเอยี ด ดังน้ี พ.ศ. 2534 เปิดหลักสูตรธุรกิจศึกษา (4 ปี) โดยรับผู้เรียนมาจากการสอบ Entrance 1. ศูนย์ปฏิบัติการเทคโนโลยีและ นวัตกรรมการศึกษา พ.ศ. 2535 ได้รับการอนุมัติให้จัดต้ัง ภาควิชาวิทยาศาสตร์การกีฬา 2. หน่วยบริการสารสนเทศ พ.ศ. 2536 ได้รับอนุมัติให้เปิดสอน 3. ศูนย์คอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษา หลักสูตรปริญญาตรีอีก 2 สาขา คือ สาขา 4. ศูนย์ปฏิบัติการวิจัยการสอนและ วิชาการสอนคณิตศาสตร์ และสาขาวิชาการ ครุศึกษา สอนวทิ ยาศาสตร์ โดยเริ่มเปิดรับผูท้ ีจ่ บ ม.ศ.5 5. ศูนย์ปฏิบัติการค้นคว้าและเผยแพร่ เข้าศึกษาในปีการศึกษา 2536 เป็นปีแรก หลักวิชาศึกษาศาสตร์ตามแนวพุทธศาสตร์ และในปีเดียวกันนี้ ได้เปิดสอนปริญญาโท 6. ศูนย์ปฏิบัติการวิทยพัฒนาและ สาขาวิชาการบริหารการศึกษา ภาคพิเศษ บริการการเรียนการสอน (ภาควิชาการศึกษา) พ.ศ. 2538 ได้รับอนุมัติให้เปิดสอน 7. ศูนย์ปฏิบัติการพัฒนาการเรียน หลักสตู รระดบั ปรญิ ญาเอก สาขาหลกั สูตรและ การสองทางภาษา (ภาควิชาการศึกษา) การสอน 8. ศูนย์ปฏิบัติการวิทยาศาสตร์ศึกษา พ.ศ. 2539 เปิดสอบคัดเลือกเพื่อรับ (ภาควิชาการศึกษา) ทุนการศึกษาตามโครงการเร่งรัดการผลิต 9. ศูนย์ฝึกอบรมและพัฒนาบุคลากร และพัฒนาระดับ ปริญญาตรี สาขาวิชา คณิตศาสตร์ของประเทศ (รพค.) เพ่ือเข้ารับ ค่มู ือนสิ ติ ศึกษาศาสตร์ ก า ร ศึ ก ษ า ต ่ อ ส า ข า ก า ร ส อ น ค ณิ ต ศ า ส ต ร ์ 2563 คมู่ ือนสิ ติ คณะศกึ ษาศาสตร์ 2563 ............................................................................................... ส�ำหรับนักเรียนจบ ระดับมัธยมศึกษาตอน ..............................................................................................................................................................คณิตศาสตร์ ปลายจากโรงเรยี นมัธยมศกึ ษาในทอ้ งถิน่ และ พ.ศ.2544 เปิดสอนหลักสูตรระดับ กทม. และรบั นสิ ติ รุน่ สดุ ทา้ ย ปีการศึกษา 2542 ปริญญาตรี สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การกีฬา พ.ศ. 2540 ได้เปิดหลักสูตรระดับ (ต่อเนื่อง 2 ปี) ภาคพิเศษ ที่วิทยาเขตกระบ่ี ปริญญาโท สาขาวิชาสุขศึกษา หลักสูตร ปีการศึกษา 2544 ภาคปลาย ประกาศนียบัตรบัณฑติ ศึกษา สาขาวชิ าชีพครู พ.ศ. 2545 เปิดสอนหลักสูตรใหม่ วิทยาศาสตร์ และปรญิ ญาโทสาขาวิชาพลศึกษา 1. หลักสูตรปริญญาตรี สาขาวิชา ภาคพิเศษ จังหวัดมหาสารคาม และได้ วิทยาศาสตร์การกีฬา (ต่อเน่ือง 2 ปี) และ รับอนุมัติให้จัด โครงการฝึกประสบการณ์ หลกั สูตร 4 ปี ภาคพิเศษ และสาขาวิชาพลศึกษา วิชาชีพศึกษาศาสตร์ เป็นศูนย์ปฏิบัติการ ท่ีวิทยาเขตสุพรรณบุรี ฝึกประสบการณว์ ชิ าชีพศึกษาศาสตร์ 2. หลักสูตรปริญญาโท สาขาวิชา พ.ศ. 2541 เปิดสอนหลักสูตรระดับ พลศกึ ษา ภาคพิเศษ วทิ ยาเขตลพบรุ ี ปรญิ ญาเอก คอื สาขาวชิ าวิทยาศาสตรศ์ กึ ษา 3. หลักสูตรปริญญาเอก สาขาวิชา อาชีวศึกษา และพลศึกษา และเปิดสอน อาชีวศึกษา สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน ปริญญาโท สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา ภาคพเิ ศษ วทิ ยาเขตเฉลิมพระเกยี รติ จังหวดั ภาคพเิ ศษ สาขาวชิ าสุขศกึ ษา ภาคพเิ ศษ และ สกลนคร สาขาวชิ าพลศกึ ษา วิทยาเขตกำ� แพงแสน ไ ด ้ รั บ อ นุ มั ติ ห ลั ก สู ต ร ร ะ ดั บ พ.ศ. 2542 เปิดสอนหลักสูตรระดับ ปริญญาเอก สาขาวชิ าเทคโนโลยีการศึกษา และ ปริญญาโท สาขาวิชาพลศึกษา ภาคพิเศษ การบรหิ ารการศึกษา ระดบั ปริญญาโท สาขา วทิ ยาเขตบางเขน และ สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ ธุรกิจศกึ ษา นนั ทนาการ และหลกั สูตรการสอน การกฬี า จังหวดั สุพรรณบุรี พ.ศ. 2543 ได้รับอนุมัติหลักสูตร พ.ศ.2546 เปดิ สอนหลกั สตู รใหม่ ปรญิ ญาตรี สาขาวิชาสาธารณสขุ ศาสตรบณั ฑิต 1. หลักสูตรปริญญาโท สาขาวิชา (หลักสูตร 4 ปี) และ สาขาวิชาสาธารณสุข- นนั ทนาการ ศาสตรบณั ฑติ (ตอ่ เน่ือง) (หลกั สตู ร 2 ป)ี และ 2. หลักสูตรปริญญาเอก สาขาวิชา ส า ข า วิ ช า เ ก ษ ต ร แ ล ะ ส่ิ ง แ ว ด ล ้ อ ม ศึ ก ษ า เทคโนโลยกี ารศึกษา และสาขาวิชาการบรหิ าร และหลักสูตรระดับปริญญาเอก สาขาวิชา การศกึ ษา วิทยาศาสตรศกึ ษา ส�ำหรับโครงการผลติ นักวิจัย ปีการศกึ ษา 2547 เปิดสอนหลกั สตู ร พัฒนาดา้ นการเรียน การสอนวทิ ยาศาสตร์ และ ปริญญาโท สาขาปฐมวยั ศึกษา และเป็นปีแรก ทเี่ ปิดสอนหลกั สูตรผลติ ครู การศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน คูม่ ือนสิ ิตศึกษาศาสตร์ 2563 ............................................................................................... ค่มู อื นสิ ิต คณะศกึ ษาศาสตร์ 2563 ระดบั ปริญญาตรี (หลกั สูตร 5 ปี) ใน 7 สาขาวชิ า .............................................................................................................................................................. ปีการศึกษา 2550 เปดิ การสอนภาค สาขาวิชาเกษตรศาสตร์ พลศึกษา คหกรรม พเิ ศษ หลักสูตรระดับปริญญาเอก สาขาวิชา ศาสตรศกึ ษา สุขศึกษา ธุรกจิ ศึกษา การสอน การวิจัย และประเมินทางการศึกษา ระดับ คณิตศาสตร์ และการสอนวทิ ยาศาสตร์ และจดั ปรญิ ญาโทสาขาวชิ าการสอนคณติ ศาสตร์ และ ตั้งคณะศึกษาศาสตร์ วิทยาเขตก�ำแพงแสน สาขาวิชาหลักสูตรการสอน ในภาคปลาย โดยประกาศสภามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เปดิ สอนเปิดสอนในระดบั ปริญญาโท สาขาวชิ า เมือ่ วนั ที่ 25 พฤศจิกายน 2547 พฒั นอาชวี ศึกษา ภาคปกติ ปีการศึกษา 2548 ประกาศสภา- ปีการศกึ ษา 2551 เปิดสอนภาคพเิ ศษ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เม่ือวันที่ 24 หลกั สตู รระดบั ปริญญาโท สาขาวชิ าธุรกิจศึกษา มีนาคม 2548 จัดต้ังคณะวิทยาศาสตร์การกีฬา และสาขาวิชาปฐมวัยศึกษา เป็นหน่วยงานภายในระดับคณะสั ง กั ด ปีการศึกษา 2552 เปิดสอนภาคพิเศษ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ หลักสตู รระดับปรญิ ญาโท สาขาวชิ าวทิ ยาศาสตร์- ปีการศึกษา 2548 เปิดสอนระดับ ศึกษา และสาขาวิชาจิตวิทยาการศึกษาและ ปริญญาโท สาขาธุรกิจศึกษา และได้รับ การแนะแนว อนุมัติหลักสูตร ระดับปริญญาโท สาขาวิชา ปีการศกึ ษา 2553 เปดิ สอนหลกั สตู ร พัฒนอาชวี ศึกษา ประกาศนียบัตรวิชาชีพครู (คณิตศาสตร์ / ปีการศึกษา 2548 เปิดสอนระดับ วิทยาศาสตร์ / อาชวี ศึกษา / การศกึ ษาพเิ ศษ) ปริญญาโท สาขาธุรกิจศึกษา และแยกภาค ปีการศึกษา 2554 เปิดสอนหลักสูตร วิชาวิทยาศาสตร์ ออกจากหน่วยงานของ ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการศึกษานอก ค ณ ะ ศึ ก ษ า ศ า ส ต ร ์ ต า ม ป ร ะ ก า ศ ส ภ า - ระบบเพ่ือพัฒนาสงั คม และปรบั ปรงุ หลักสูตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จัดต้ังคณะ ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการศกึ ษาผใู้ หญ่ วิทยาศาสตร์การกีฬา เป็นหน่วยงานระดับ เป็นหลักสตู รศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขา คณะ ในสังกัดมหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ วิชาการศึกษานอกระบบเพื่อพฒั นาสงั คม ปีการศึกษา 2549 เปิดสอนหลักสูตร ปกี ารศกึ ษา 2555 เปดิ สอนหลกั สูตร ระดับปริญญาเอก สาขาวิชาการวิจัยและ ระดับปริญญาเอก สาขาวิชาการส่งเสริม ประเมินทางการศึกษา (ภาคปกติ) สาขาวิชา สุขภาพและสุขศึกษา และระดับปริญญาโท การบรหิ ารการศึกษา และสาขาวิชาเทคโนโลยี สาขาวชิ าการศึกษาพเิ ศษ การศึกษา ภาคพิเศษ ระดบั ปริญญาโท สาขา ปีการศึกษา 2556 เปิดสอนหลักสูตร วิชาวจิ ัยและประเมินผลการศกึ ษา ภาคพเิ ศษ ระดบั ปริญญาเอก สาขาวิชาการสอนคณติ ศาสตร์ คมู่ ือนสิ ติ ศึกษาศาสตร์ 2563 คมู่ อื นิสิต คณะศกึ ษาศาสตร์ 2563 ............................................................................................... และเปดิ โครงการพเิ ศษปรญิ ญาเอกวทิ ยาศาสตร์ ..............................................................................................................................................................บัณฑิต สาขาวิชาปฐมวัยศึกษา ปรับปรุง ศึกษา(ภาคภาษาอังกฤษ)และเป็นศูนย์ผลิต หลักสูตรระดับปริญญาเอก และระดับ นักเรียนทุนระดับปริญญาโท สาขาวิชา ปรญิ ญาโท จากเดิมหลกั สตู รปรชั ญาดุษฎีบัณฑติ วิทยาศาสตร์ ภายใต้โครงการทุนครู สควค. สาขาวิชาการศึกษานอกระบบเพื่อพัฒนา ระยะท่ี 3 สังคม เป็นหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต ปกี ารศกึ ษา 2559 ปรบั ปรงุ หลักสูตร สาขาวิชาการเรียนรู้ตลอดชีวิตเพ่ือพัฒนาสังคม ศิลปศาสตรดุษฎบี ัณฑิต สาขาวชิ าอาชีวศึกษา หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา เพ่อื พัฒนาทรพั ยากรมนษุ ย์ การศึกษานอกระบบเพ่ือพัฒนาสังคม เป็น ปีการศึกษา 2562 ปรับปรงุ หลักสตู ร หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา ปริญญาตรี จากหลกั สตู ร 5 ปี เป็นหลักสตู ร การเรียนรู้ตลอดชีวิตเพื่อพัฒนาสังคม และ 4 ปี ในหลักสูตรศึกษาศาสตรบณั ฑิต สาขาวิชา ปรับปรุงหลักสูตร ปริญญาตรีหลักสูตร 4 ปี พลศกึ ษา สาขาวชิ าสุขศึกษา และควบรวม โดยเพิ่มวิชาเอกการสอนภาษาไทย วิชาเอก หลักสูตร 3 หลกั สตู ร ได้แก่ หลกั สตู รศกึ ษา การสอนภาษาอังกฤษ และวิชาเอกเทคโนโลยี ศาสตรบณั ฑิต สาขาวิชาการสอนคณติ ศาสตร์ ดิจทิ ลั เพ่ือการศกึ ษา สาขาวิชาการสอนวิทยาศาสตร์ สาขาวิชา คหกรรมศาสตร์ (หลกั สตู ร 5 ป)ี เปน็ หลักสูตร วิสัยทัศน์คณะศึกษาศาสตร์ ศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาศกึ ษาศาสตร์ วชิ าเอกการสอนคณติ ศาสตร์ วชิ าเอกวทิ ยาศาสตร์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัย ท่ัวไป-เคมี วิชาเอกวิทยาศาสตร์ทั่วไป- ชีววิทยา วิชาเอกวิทยาศาสตร์ทั่วไป-ฟิสิกส์ เกษตรศาสตร์ เป็นสถาบันแห่งการคิด วิชาเอกพาณิชยศาสตรศึกษา วิชาเอกคหกรรม ศาสตรศึกษา ปรับปรุงหลักสูตรระดับบัณฑิต แผนยุทธศาสตร์คณะศึกษาศาสตร์ ศกึ ษา หลักสูตรศกึ ษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขา ระยะ 5 ปี (ปงี บประมาณ 2561-2565) วิชาธุรกิจและคอมพิวเตอร์ศึกษาเป็นหลักสูตร ศึกษาศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวิชาการศกึ ษา วิสัยทัศน์ (Vision) เ พ่ื อ พั ฒ น า ค ว า ม เ ป ็ น ผู ้ ป ร ะ ก อ บ ก า ร ปกี ารศกึ ษา 2563 เปิดสอนหลักสตู ร คณะศึกษาศาสตร์มหาวิทยาลัย ใหม่ระดับปริญญาเอก หลักสูตรปรัชญาดุษฎี เกษตรศาสตร์เป็นสถาบันแห่งการคิด พันธกิจ (Mission) 1. พัฒนาการจัดการเรียนรู้ท่ีส่ง คมู่ ือนิสติ ศกึ ษาศาสตร์ 2563 ............................................................................................... คู่มือนสิ ิต คณะศกึ ษาศาสตร์ 2563 เสริมทักษะการคิดของนิสิต ..............................................................................................................................................................ตั ว ชี้ วั ด แ ล ะ เ ป ้ า ห ม า ย ข อ ง แ ผ น 2. วิจัยและพัฒนานวัตกรรมเกี่ยวกับ ยุทธศาสตร์ การคิดที่ตอบสนองความต้องการของสังคม 3. บริการวิชาการเชิงรุกเกี่ยวกับการ 1. จ� ำ น ว น ผ ล ง า น ข อ ง นิ สิ ต ที่ พัฒนาการคิดและศาสตร์ทางการศึกษาท่ี เก่ียวข้องกับการพัฒนาการคิดท่ีได้รับรางวัล ตอบสนองความตอ้ งการของสังคม ระดับชาติหรือนานาชาติ 4. พัฒนาระบบการบริหาจัดการ องค์กรเพ่ือขับเคลื่อนสู่สถาบันแห่งการคิด 2. จ�ำนวนโครงการวิจัยเก่ียวกับ การคิดท่ีได้รับทุนจากภายในและภายนอก เป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัย (Strategic Goals) 1.นิสิตมีความสามารถในการจัดการ 3. จ�ำนวนผลงานตีพิมพ์เผยแพร่ ระดับชาติหรือ นานาชาติหรือตีพิมพ์ในฐาน เรียนรู้ และสามารถผลิตผลงานทางวิชาการ ขอ้ มลู สากล หรอื proceedings ในฐานข้อมูล ท่ีส่งเสรมิ ทักษะ การคดิ สากล 2 . ผ ล ง า น วิ จั ย แ ล ะ น วั ต ก ร ร ม ท่ี เ กี่ ย ว ข ้ อ ง กั บ ก า ร คิ ด ต อ บ ส น อ ง กั บ ค ว า ม 4. จ�ำนวนโครงการบริการวิชาการ ต้องการของสังคม ที่ เ น ้ น ก า ร คิ ด แ ล ะ ศ า ส ต ร ์ ท า ง ก า ร ศึ ก ษ า 3.การบริการวิชาการที่เกี่ยวข้องกับ การคิดและศาสตร์ทางการศึกษาท่ีตอบสนอง 5. ระดับความพึงพอใจเฉล่ียของ ความต้องการของสังคมและสร้างชื่อเสียง ผู้ใช้บัณฑิตเกี่ยวกับผลลัพธ์การเรียนรู้ด้าน ให้กับคณะ ทักษะทางปัญญา 4.ระบบการบริหารจัดการองค์กรยึด หลักธรรมาภิบาลและการมีส่วนร่วม เพ่ือน�ำ ยุทธศาสตร์ท่ี 1 การศึกษาเพื่อพฒั นาการคดิ ไปสู่สถาบันแหง่ การคดิ (Thinking Faculty) ค่านิยมหลัก (Core Value) วัตถปุ ระสงค์ คิดเพื่อการเปลี่ยนแปลง ร่วมแรง 1. พัฒนาหลักสูตรและการเรียน ร่วมใจ ใฝ่ผลสัมฤทธ์ิมีจิตสาธารณะ การสอนใหเ้ ปน็ การศึกษาเพอ่ื พัฒนาการคิด 2. พฒั นาอาจารย์ให้มคี วามเป็นเลศิ ในการจัดการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการเรียน คมู่ อื นสิ ติ ศกึ ษาศาสตร์ การสอนท่ีเน้นทักษะ การคิดแก่ผู้เรียน และ 2563 สรา้ งนวัตกรรมทางการศกึ ษา คู่มอื นิสิต คณะศึกษาศาสตร์ 2563 ............................................................................................... 3. จัดหาทรัพยากรการเรียนรู้ที่ ..............................................................................................................................................................สอดคล้องกับจรรยาบรรณวิชาชีพครูและ ทันสมัยให้แก่บุคลากรและนิสิต ทักษะการด�ำเนินชีวิตแห่งศตวรรษที่ 21 กลยุทธ์ กลยทุ ธ์ 1. พัฒนาหลักสูตรผลิตครูให้มี 1. ส่งเสริมนิสิตระดับปริญญาตรี ความหลากหลายเพ่ือพัฒนาการคิดและพร้อม ใ ห ้ มี ค ว า ม ส า ม า ร ถ ใ น ก า ร จั ด ก า ร เ รี ย น รู ้ รับการเปล่ยี นแปลงของสงั คม ท่ีเน้นทักษะการคิดแก่ผู้เรียน และการวิจัยใน ชั้นเรียน 2. ส่งเสริมให้อาจารย์มีความเป็นเลิศ ในการจัดการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการเรียนการ 2. ส่งเสริมให้นิสิตระดับบัณฑิตศึกษา สอนทเ่ี น้นทกั ษะการคดิ แกผ่ ูเ้ รยี น มีความสามารถในการตีพิมพ์เผยแพร่ผลงาน วิจัยและใช้ความรู้สร้างนวัตกรรม 3. ส่งเสริมการผลิตและเผยแพร่ หนังสอื ต�ำรา และนวตั กรรมทางการศกึ ษาของ 3. ส่งเสริมให้นิสิตเกิดจิตวิญญาณ อาจารย์อย่างเป็นรปู ธรรมสูส่ ังคม ความเปน็ ครมู คี วามเป็นผ้นู ำ� คณุ ธรรมจริยธรรม และทักษะการด�ำเนินชีวิตแห่งศตวรรษท่ี 21 4. ส่งเสริมการสร้างนวัตกรรมทาง การศึกษาผา่ น การจัดการเรียนร้หู รือการวจิ ยั ยุทธศาสตร์ที่ 3 การวจิ ยั และบรกิ ารวิชาการ ทเ่ี นน้ ทักษะการคดิ แก่ผู้เรยี น (Research Faculty) 5. จัดหาและพัฒนาทรัพยากรการ วัตถปุ ระสงค์ ศึกษาและสิ่งสนับสนุน การเรียนรู้ท่ีเอ้ือต่อ 1. ยกระดับการวิจัยที่พัฒนานวัตกรรม การจัดการเรียน การสอนที่มีคุณภาพ เก่ียวกับการคิดและตอบสนองความต้องการ ยุทธศาสตร์ที่ 2 การพฒั นานสิ ติ ของสังคม (Smart Students) 2. อาจารยไ์ ดเ้ ผยแพรผ่ ลงานวิชาการ ในวารสารหรือรายงานการน�ำเสนอในการ วตั ถปุ ระสงค์ ประชมุ ระดบั ชาตแิ ละระดบั นานาชาตทิ ่ีมคี ณุ ภาพ 3. บริการวิชาการเชิงรุกเกี่ยวกับการ พัฒนานิสิตให้มีความสามารถในการ พั ฒ น า ก า ร คิ ด แ ล ะ ศ า ส ต ร ์ ท า ง ก า ร ศึ ก ษ า จั ด ก า ร เ รี ย น รู ้ ที่ เ น ้ น ทั ก ษ ะ ก า ร คิ ด แ ก ่ ท่ีชี้น�ำสังคม เป็นประโยชน์ และตอบสนอง ผู ้ เรี ย น มี ค ว า ม ส า ม า ร ถ ใ น ก า ร วิ จั ย ใ น ช้ันเรียนเพ่ือพัฒนาการจัดการเรียนรู้และสร้าง ความต้องการของสังคม น วั ต ก ร ร ม มี คุ ณ ลั ก ษ ณ ะ อั น พึ ง ป ร ะ ส ง ค ์ คูม่ อื นิสิตศึกษาศาสตร์ 2563 ............................................................................................... คมู่ ือนิสติ คณะศึกษาศาสตร์ 2563 กลยุทธ์ ................................................................................................................................................................การเรียนรู้และการบริหารจัดการองค์กร ท่ีมีประสิทธิภาพ 1. จัดหาแหล่งทุนและส่ิงอ�ำนวย ความสะดวกเพื่อสนับสนุนให้อาจารย์สามารถ 2. พัฒนาระบบการบริหารจัดการท่ี ผ ลิ ต ผ ล ง า น วิ จั ย ท่ี ก ่ อ ใ ห ้ เ กิ ด น วั ต ก ร ร ม มีประสิทธิภาพเพื่อรองรับการเป็นสถาบันแห่ง เกี่ยวกับการคิดท่ีตอบสนองความต้องการ การคิด ของสังคม 2. สร้างกลุ่มวิจัยตามความสนใจและ กลยทุ ธ์ ความเช่ียวชาญ เพ่ือพัฒนาโครงการวิจัย นวัตกรรมเกี่ยวกับการคิด 1. พัฒนาระบบฐานขอ้ มลู เพอื่ สนับสนุน 3. สนบั สนุนให้อาจารยเ์ ผยแพร่ผลงาน การจดั การเรียนรู้ การวิจยั การบริการวิชาการ วิจัยในวารสารทางวิชาการท่ีมีชื่ออ ยู ่ ใ น การสร้างองค์กรแห่งการเรียนรู้และการ ฐ า น ข ้ อ มู ล ที่ เ ป ็ น ท่ี ย อ ม รั บ ห รื อ น�ำเสนอ บริหารจดั การองคก์ รทมี่ ีประสทิ ธภิ าพ และนำ� ผลงานในการประชุมวิชาการ ทั้งในระดับ เทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการปฏิบัติงาน ชาติหรือระดับนานาชาติ ลดขั้นตอนการปฏิบัติงานมุ่งสู่ระบบการ 4. จัดทำ� โครงการบริการวิชาการเชิงรุก บริการแบบเบ็ดเสร็จ เ ก่ี ย ว กั บ ก า ร พั ฒ น า ก า ร คิ ด แ ล ะ ศ า ส ต ร ์ ทางการศึกษาที่ชี้น�ำสังคม สอดคล้องและ 2. พัฒนาและปรับปรุงระบบการ ตรงกับความต้องการของหน่วยงานหรือรับ บริหารจัดการท่ีมีประสิทธิภาพท่ีน�ำไปสู่ บริการท้ังในรูปแบบการจัดหารายได้และการ การเป็นสถาบันแห่งการคิด ตอบแทนสังคม ผ่านความเห็นชอบจากท่ีประชุมคณะ ยุทธศาสตร์ท่ี 4 การบริหารจัดการด้วย กรรมการ ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ (e-Faculty by Smart Technology) ประจ�ำคณะศึกษาศาสตร์ ครั้งท่ี 5/2562 วัน ที่ 15 พฤษภาคม 2562 ผ่านการประชุมประชาพิจารณ์ เม่ือวันที่ 24 เมษายน 2562 วัตถุประสงค์ 1. พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ เ พ่ื อ ส นั บ ส นุ น ก า ร จั ด ก า ร เ รี ย น รู ้ ก า ร วิ จั ย การบริการวิชาการ การสร้างองค์กรแห่ง คมู่ อื นสิ ิตศึกษาศาสตร์ 2563 ค่มู ือนสิ ิต คณะศกึ ษาศาสตร์ 2563 ............................................................................................... คู่มือนิสิตศึกษาศาสตร์ 2563 ............................................................................................... คู่มอื นสิ ติ คณะศกึ ษาศาสตร์ 2563 หลกั สตู รท่เี ปิดสอนในคณะศึกษาศาสตร์ 1. ปรญิ ญาเอก 11 หลักสตู ร 2. ปรญิ ญาโท 16 หลกั สตู ร 3. ปรญิ ญาตร ี 3 หลกั สตู ร รวม 29 หลกั สตู ร ........................................................................................................ ปริญญาเอก สาขาวิชา วฒุ ิทีไ่ ดร้ บั 1. การบริหารการศกึ ษา** ศษ.ด. (การบรหิ ารการศกึ ษา) Ed.D (Educational Administration) 2. การวจิ ัยและประเมนิ ผลทางการศึกษาศกึ ษา)** ศษ.ด. (การวจิ ัยและประเมนิ ผลทางการ Ed.D. (Educational Research and Evalution) 3. การสอนคณติ ศาสตร ์ ศษ.ด. (การสอนคณิตศาสตร)์ Ed.D. (Teaching Mathematics) 4. เทคโนโลยแี ละส่อื สารการศกึ ษา** ปร.ด. (เทคโนโลยีและสือ่ สารการศึกษา) Ph.D. (Educational Communications and Technology) 5. การส่งเสรมิ การเรยี นรูต้ ลอดชีวิตเพ่ือพัฒนาสังคม ปร.ด. (การสง่ เสรมิ การเรยี นรตู้ ลอดชวี ติ เพอื่ พฒั นาสงั คม) Ph.D. (Lifelong Learning for Social Development) 6. การส่งเสรมิ สุขภาพและสขุ ศกึ ษา ปร.ด. (การสง่ เสริมสขุ ภาพและสขุ ศกึ ษา) Ph.D. (Health Promotion and Health Education) 7. พลศกึ ษา ปร.ด. (พลศกึ ษา) Ph.D. (Physical Education) ค่มู อื นสิ ิตศกึ ษาศาสตร์ 2563 คู่มอื นิสิต คณะศึกษาศาสตร์ 2563 ............................................................................................... 8. วทิ ยาศาสตรศ์ ึกษา** ปร.ด. (วิทยาศาสตร์ศกึ ษา) (ภาคภาษาไทยและ ภาคภาษาอังกฤษ) Ph.D. (Science Education) 9. หลกั สตู รและการสอน** ปร.ด. (หลักสตู รและการสอน) Ph.D. (Curriculum and Instruction) 10. อาชวี ศึกษาเพ่ือพัฒนาทรพั ยากร มนษุ ย์** ปร.ด. (อาชวี ศกึ ษาเพอื่ พฒั นาการทรพั ยากรมนษุ ย)์ Ph.D. (Vocational Education for Human Resource Development) 11. ปฐมวัยศึกษา ปร.ด.(ปฐมวยั ศกึ ษา) Ph.D.( Early Childhood Education) ........................................................................................................ ปริญญาโท สาขาวชิ า วุฒิท่ไี ด้รับ 1. การบรหิ ารการศึกษา ศษ.ม. (การบริหารการศึกษา) M.Ed. (Educational Administration) 2. การวิจยั และประเมนิ ผลทางการศึกษา** ศษ.ม. (การวิจยั และประเมินผลทางการศกึ ษา) M.Ed. (Educational Research and Evalution) 3. การสง่ เสรมิ การเรยี นรตู้ ลอดชวี ติ เพอื่ พฒั นาสงั คม ศศ.ม. (การสง่ เสรมิ การเรยี นรตู้ ลอดชวี ติ เพอ่ื พฒั นาสงั คม) M.A. (Lifelong Learning for Social Development) 4. การศึกษาพเิ ศษ** ศษ.ม. (การศกึ ษาพิเศษ) M.Ed. (Special Education) 5. การสอนคณติ ศาสตร์** ศษ.ม. (การสอนคณติ ศาสตร)์ M.Ed. (Teaching Mathematics) 6. คหกรรมศาสตรศึกษา ศศ.ม. (คหกรรมศาสตรศึกษา) M.A. (Home Economics Education) ค่มู ือนิสิตศึกษาศาสตร์ 2563 ............................................................................................... คมู่ อื นสิ ติ คณะศึกษาศาสตร์ 2563 7. จิตวทิ ยาการศึกษาและการแนะแนว** ศศ.ม. (จติ วิทยาการศกึ ษาและการแนะแนว) M.A. (Educational Psychology and Guidance) 8. เทคโนโลยแี ละสอ่ื สารการศึกษา** ศษ.ม. (เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา) M.Ed. (Educational Communications and Technology) 9. การศึกษาเพอ่ื พัฒนาความเปน็ ผปู้ ระกอบการ** ศษ.ม. (การศึกษาเพอ่ื พฒั นาความเปน็ ผูป้ ระกอบการ) M.Ed. (Entrepreneurship Education) 10. นันทนาการ วท.ม. (นนั ทนาการ) M.S. (Recreation) 11. ปฐมวัยศึกษา** ศษ.ม. (ปฐมวยั ศกึ ษา) M.Ed. (Early Childhood Education) 12. พลศึกษา** ศศ.ม (พลศึกษา) M.A. (Physical Education) 13. วิทยาศาสตร์ศึกษา** ศษ.ม. (วิทยาศาสตรศ์ ึกษา) ภายใตโ้ ครงการทุน สควค. ระยะท่ี 3 M.Ed. (Science Education) 14. สุขศึกษา** วท.ม. (การสง่ เสริมสขุ ภาพและสุขศึกษา) M.S. (Health Promotion and Health Education) 15. หลกั สตู รและการสอน** ศษ.ม. (หลักสูตรและการสอน) M.Ed. (Curriculum and Instruction) 16. อาชีวศกึ ษาเพอื่ พฒั นาทรพั ยากรมนษุ ย ์ ศษ.ม. (อาชีวศึกษาเพอื่ พฒั นาการทรัพยากรมนษุ ย์) M.Ed. (Vocational Education for Human Resource Development) * เปิดสอนภาคปกตแิ ละภาคพิเศษ ** เปิดรับนิสิตใหม่ภาคพเิ ศษในปีการศกึ ษา 2563 ....................................................................................................... คมู่ อื นิสิตศกึ ษาศาสตร์ 2563 คู่มือนสิ ิต คณะศกึ ษาศาสตร์ 2563 ............................................................................................... ปรญิ ญาตรี (หลักสูตร 4 ปี) สาขาวิชา วฒุ ทิ ีไ่ ดร้ บั 1. ศึกษาศาสตร์ ศษ.บ. (ศึกษาศาสตร์) B.Ed. (Education) 1.1 วิชาเอกเดี่ยว - การสอนภาษาอังกฤษ - การสอนคณิตศาสตร์ - วิทยาศาสตร์ทั่วไป - การสอนภาษาไทย - พาณิชยศาสตรศึกษา - เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา - คหกรรมศาสตรศึกษา 1.2 วิชาเอกคู่ - วิทยาศาสตร์ท่ัวไป – เคมี - วิทยาศาสตร์ทั่วไป – ชีววิทยา - วิทยาศาสตร์ทั่วไป – ฟิสิกส์ 2. พลศึกษา ศษ.บ (พลศึกษา) B.Ed (Physical Education) 3. สุขศึกษา ศษ.บ (สุขศึกษา) B.Ed (Health Education) ........................................................................................................ คูม่ อื นสิ ติ ศึกษาศาสตร์ 2563 ............................................................................................... คู่มือนิสติ คณะศกึ ษาศาสตร์ 2563 หนว่ ยงานในคณะศกึ ษาศาสตร์ ภาควิชาการศึกษา .....................................................................................................................................................และการสอน เพ่ือพัฒนาบุคลากรทางการ ศึกษาให้มีความรู้ทันต่อการพัฒนาเทคโนโลยี ภาควชิ าการศกึ ษา ได้จัดต้งั พร้อมกบั และสามารถนำ� ชสี้ งั คมได้ การก่อตงั้ คณะศึกษาศาสตร์ เม่อื ปี พ.ศ.2513 ปี พ.ศ.2540 ภาควิชาการศึกษา ในระยะแรกภาควิชาการศึกษา ยงั ไมม่ หี ลักสูตร เปิดสอนหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต ทีเ่ ปดิ สอนสำ� หรบั นสิ ติ ของภาควชิ าเอง แตไ่ ดจ้ ัด สาขา วชิ าชพี ครวู ทิ ยาศาสตร์ สอนรายวิชาต่าง ๆ ในระดับปริญญาตรีให้แก่ ปี พ.ศ.2541 ภาควิชาการศึกษาเปิด ภาควิชาอาชีวศึกษาภาควิชาพลศึกษา คณะ สอนระดับปริญญาเอกเพิ่มขึ้นอีก 1 หลักสูตร ศึกษาศาสตร์และคณะอื่น ๆ ในมหาวิทยาลัย คือ สาขาวิชาวิทยาศาสตรศกึ ษา เกษตรศาสตร์ ปี พ.ศ.2543 ภาควิชาการศึกษา ปี พ.ศ.2519 ภาควิชาการศึกษาได้ ขยายการรับนักศกึ ษาระดับปริญญาโทเข้าเรียน เร่ิมเปิดสอนหลักสูตรระดับปริญญาโท สาขา ใน สาขาวิชาการบรหิ ารการศึกษา ภาคพิเศษ วิชาการสอน 6 สาขาวิชาได้แก่ การสอน ท่ีวิทยาเขตกระบ่ี ภาษาไทย การสอนภาษาอังกฤษ การสอน ปี พ.ศ.2544 ภาควิชาการศึกษา ภาษาฝรง่ั เศส การสอนคณิตศาสตร์ การสอน เปิดสอนหลักสูตรปริญญาเอก สาขาวิชา วทิ ยาศาสตร์ และการสอนสังคมศึกษา วิทยาศาสตรศึกษา ในโครงการผลิตนักวิจัย ปี พ.ศ.2532 มีสาขาวิชาเพ่ิมอีก 2 พัฒนาด้านการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ สาขาวิชา คือ วิจัยและประเมินผลการศึกษา โดยรว่ มมือระหว่างมหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ และการบริหารการศกึ ษา และสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์ ปี พ.ศ.2536 ภาควิชาการศึกษา เรมิ่ และเทคโนโลยี เปิดสอนระดับปริญญาตรี 2 สาขาวิชา คือ ปี พ.ศ.2545 ภาควิชาการศกึ ษา การสอนคณติ ศาสตร์ และการสอนวทิ ยาศาสตร์ เปิดรับนักศึกษาระดับปริญญาเอก เข้าเรียน ในปีเดียวกันนี้ภาควิชาได้เปิดสอนปริญญาโท ในสาขาวิชาหลักสูตรและการสอน ท่วี ทิ ยาเขต สาขาวิชาารบรหิ ารการศึกษา ภาคพิเศษ เพ่ือ เฉลิมพระเกียรติสกลนคร เปิดโอกาสให้ผู้บริหารการศึกษาเรียนนอกเวล ราชการได้ ปี พ.ศ.2546 ภาควิชาการศึกษา ปี พ.ศ.2538 ภาควิชาการศึกษา เปิดรับนักศึกษาระดับปริญญาเอก เข้าเรียนใน เปิดสอนระดับปริญญาเอกสาขาวิชาหลักสูตร สาขาวิชาการบรหิ ารการศกึ ษา คู่มือนิสิตศกึ ษาศาสตร์ 2563 ค่มู ือนิสิต คณะศึกษาศาสตร์ 2563 ............................................................................................... ปี พ.ศ.2547 ภาควิชาการศึกษา เปิดรับ ..............................................................................................................................................................ประเมินผลการศึกษา ระดับปริญญาโท นักศึกษาในระดบั ปรญิ ญาโทเพิ่มอีก 2 สาขาวิชา ได้เปลย่ี นช่อื หลักสตู ร เปน็ สาขาวชิ าการวจิ ัยและ คือ สาขาวิชาปฐมวัยศึกษา และสาขาวิชา ประเมนิ ทางการศึกษา และสาขาวิชาการสอน หลักสูตรและการสอน โดยในปีเดียวกันนี้ วิทยาศาสตร์ ระดับปริญญาโท ได้เปล่ียนชื่อเปน็ ภาควิชาได้รับอนุมัติเปิดหลักสูตรปริญญาเอก สาขาวิทยาศาสตร์ศกึ ษา สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน ภาคพิเศษ ซงึ่ เรยี นท่วี ทิ ยาเขตบางเขน และภาควิชาการศกึ ษา ปี พ.ศ.2556 ภาควิชาการศึกษา ไดเ้ ปดิ รบั นกั ศึกษาในระดบั ปริญญาตรี เขา้ เรยี น เปิดรับนิสิตระดับปริญญาเอก สาขาวิชา ในหลกั สูตรศกึ ษาศาสตรบัณฑิต (5 ปี) ซึ่งเป็น การสอนคณิตศาสตร์ และเปิดสาขาวิชา หลกั สูตรใหม่ 2 หลกั สูตร คือ สาขาวิชาการสอน วทิ ยาศาสตร์ศกึ ษา (ทุนครู สควค ระยะที่ 3) ซึ่ง วทิ ยาศาสตร์ และการสอนคณติ ศาสตร์ เป็นความร่วมมือ ระหว่าง ศึกษาศาสตร์กับ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และ ปี พ.ศ.2549 ภาควชิ าการศกึ ษาเปิด เทคโนโลยี (สสวท.) ปรญิ ญาเอก วทิ ยาศาสตร์ รับนักศึกษาระดับปริญญาเอก สาขาวิชาวิจัย (ภาคภาษาองั กฤษ) ภาคปลาย ปกี ารศกึ ษา 2556 และประเมินผลการศึกษา สาขาวิชาการบริหาร การศึกษา ภาคพิเศษ และเปิดรับนักศึกษา ปี พ.ศ.2562 คณะศึกษาศาสตร์ ได้จัด ระดับปริญญาโท สาขาวิชาวิจัยและประเมินผล ทำ� หลกั สตู รสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ หลักสูตร 4 ปี การศกึ ษา ภาคพเิ ศษ แบง่ เป็นวชิ าเอก ได้แก่ 1.การสอนคณติ ศาสตร์ 2.วทิ ยาศาสตรท์ ัว่ ไป 3.วทิ ยาศาสตรท์ ว่ั ไป-ฟสิ กิ ส์ ปี พ.ศ.2550 ภาควชิ าการศกึ ษาเปิด 4.วิทยาศาสตร์ทั่วไป-เคมี 5.วิทยาศาสตร์ รับนักศึกษาระดับปริญญาเอก (ภาคพิเศษ) ทั่วไป-ชีววิทยา 6.คหกรรมศาสตรศึกษา สาขาวิชาวิจัยและประเมินผลการศึกษา และ 7.พาณิชยศาสตรศกึ ษา รับนักศึกษาระดับปริญญาโท (ภาคพิเศษ) สาขาวิชาการสอนคณิตศาสตร์ และสาขาวิชา กล่าวโดยสรปุ ภาควิชาการศกึ ษาได้ หลกั สูตรและการสอนก่งึ ออนไลน์ เปดิ การเรยี นการสอนในหลกั สูตรต่าง ๆ ทัง้ ใน ระดับปรญิ ญาตรี ปริญญาโท และปรญิ ญาเอก ปี พ.ศ.2551 ภาควชิ าการศกึ ษาเปิด โดยเปดิ หลกั สูตรปริญญาตรี 2 สาขาวิชา คือ รับสมคั รนักศึกษาระดบั ปริญญาโท ภาคพเิ ศษ การสอนวทิ ยาศาสตร์ และการสอนคณติ ศาสตร์ สาขาวิชาปฐมวัยศึกษา หลกั สตู รปรญิ ญาโท 6 สาขาวิชา คอื สาขาวชิ า หลักสูตรและการสอน สาขาวิชาการสอน ปี พ.ศ.2552 ภาควิชาการศึกษา คณิตศาสตร์ สาขาวชิ าวิทยาศาสตร์ศกึ ษา สาขา เปิดรับนักศึกษาระดับปริญญาโท (ภาคพิเศษ) วชิ าปฐมวัยศึกษา สาขาวิชาการบริหารการศึกษา สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ศึกษา สาขาวิจัยและ คู่มอื นสิ ติ ศกึ ษาศาสตร์ 2563 ............................................................................................... คมู่ ือนิสิต คณะศึกษาศาสตร์ 2563 และ สาขาวิชาการวจิ ัยและประเมินทางกาศกึ ษา ................................................................................................................................................................นางปทั มาวดี เลห่ ์มงคล F1043 หลักสูตรปริญญาเอก มี 5 สาขาวิชา คือ Ph.D (Early Childhood Education) สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ศึกษา สาขาวิชาหลักสูตร นางอัจฉรา นิยมาภา F1078 และการสอน สาขาวิชาการวิจัยและประเมิน ค.ด. (การบรหิ ารการศกึ ษา) ทางการศึกษา สาขาวิชาการบริหารการศึกษา น.ส.อรพรรณ บุตรกตัญญู F2047 และสาขาวิชาการสอนคณิตศาสตร์ ทั้งน้ีได้เปิด ค.ด. (การศกึ ษาปฐมวยั ) รับนักศึกษาที่วิทยาเขตบางเขน ทุกสาขาวิชา ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ คณาจารยภ์ าควิชาการศึกษา นายฉตั รศิริ ปิยะพมิ ลสิทธ์ ิ F1066 วุฒ ิ รหสั ประจ�ำตัว กศ.ด. (การทดสอบและวัดผลการศกึ ษา) นางชนศิ วรา เลิศอมรพงษ์ F1021 รกั ษาการแทนหัวหน้าภาควชิ าการศึกษา ศษ.ด. (หลกั สูตรและการสอน) น.ส.ชลาธิป สมาหโิ ต F1045 นายศศิเทพ ปิติพรเทพิน F1079 Ed.D. (Early Childhood Education) รองศาสตราจารย์ นายทรงชัย อกั ษรคิด F1052 ปร.ด. (วิทยาศาสตรศ์ กึ ษา) กศ.ด. (คณิตศาสตร์ศึกษา) น.ส.ปฐั มาภรณ์ พิมพท์ อง F1081 รองศาสตราจารย์ ปร.ด. (วิทยาศาสตร์ศึกษา) น.ส.วนั ดี เกษมสขุ พิพัฒน ์ F1048 นายชาตรี ฝา่ ยคำ� ตา F2058 Ph.D. (Mathematics Education) ปรด. (วิทยาศาสตร์ศึกษา) นางวภิ ารตั น์ แสงจันทร ์ F1044 นายชานนท์ จันทรา F1020 ศษ.ด. (หลกั สูตรและการสอน) ศษ.ด. (หลักสตู รและการสอน) นายสิทธิกร สมุ าล ี F1058 นายพงศป์ ระพนั ธ์ พงษ์โสภณ F1055 ศษ.ด. (หลกั สูตรและการสอน) ปรด. (วิทยาศาสตร์ศกึ ษา) นายเอกภมู ิ จนั ทรขนั ตี F1080 นายวสิ ทุ ธ์ิ วจิ ติ รพชั ราภรณ ์ F1053 ปร.ด. (วิทยาศาสตรศ์ กึ ษา) ค.ด. (การบรหิ ารการศึกษา) นางเอกรัตน์ ทานาค F1069 นางสุนทรา โตบวั F2060 ปร.ด. (วิทยาศาสตรศ์ ึกษา) กศ.ด. (การวจิ ัยและพัฒนาหลกั สตู ร) น.ส.จรี ะวรรณ เกษสิงห ์ F1076 ปรด. (วิทยาศาสตรศ์ กึ ษา) คู่มือนสิ ติ ศกึ ษาศาสตร์ 2563 คู่มือนิสิต คณะศึกษาศาสตร์ 2563 ............................................................................................... น.ส.ต้องตา สมใจเพ็ง F1049 .........................................................................................................................................................นายนารท ศรีละโพธ์ ิ F1098 Ph.D. (Science and Technology ศษ.ด. (หลักสตู รและการสอน) Education) น.ส.อุษณี ลลิตผสาน F1099 น.ส.ปยิ ะนนั ท์ หริ ณั ย์ชโลธร F1067 ค.ด. (วิธวี ิทยาการวจิ ัยการศึกษา) ศษ.ด. (หลกั สูตรและการสอน) น.ส.สรยี า โชตธิ รรม F1105 นายพงศธร มหาวิจติ ร F1089 ค.ด. (วธิ ีวทิ ยาการวิจัยการศึกษา) ศษ.ด. (หลักสูตรและการสอน) น.ส.พิกลุ เอกวรางกูร F1006 ผู้ทรงคุณวฒุ ิ ค.ด. (การวัดและประเมินผลการศกึ ษา) น.ส.มาลนิ ี ประพิณวงศ์ F1088 น.ส.สดุ ารตั น์ สารสว่าง F1004 Ph.D (Language Education) Ph.D. (Education Administration) น.ส.วารณุ ี ลัภนโชคดี F1031 ค.ด. (การวดั และประเมนิ ผลการศกึ ษา) ภาควิชาจิตวิทยาการศึกษา น.ส.ศิริรัตน์ ศรีสอาด F1072 และการแนะแนว ศษ.ด. (หลกั สูตรและการสอน) นายศุภฤกษ์ ทานาค F1057 ภาควิชาจิตวิทยาการศึกษาและ ศษ.ด. (หลักสตู รและการสอน) การแนะแนวมีภาระกิจหลักในการเปิดสอน นางอุดมลกั ษม์ กลู ศรโี รจน ์ F1087 หลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา 2 สาขา ได้แก่ ศษ.ด. (หลกั สตู รและการสอน) 1) หลักสูตรศิลปศาสตร์มหาบัณฑิต สาขา จิตวิทยาการศึกษาและการแนะแนว และ อาจารย์ 2) หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขา การศึกษาพิเศษ ภาระกิจรองลงมาของภาค น.ส.จติ ตมาส สุขแสวง F1082 วิชาฯ คือการเปิดสอนรายวิชาระดับบัณฑิต ปร.ด. (วทิ ยาศาสตรศ์ กึ ษา) ศึกษาในกลุ่มวิชาชีพครูบังคับ กลุ่มวิชาชีพ น.ส.ธนนันท์ ธนารัชตะภมู ิ F1094 ครูเลือก และวิชาเลือกเสรี ส�ำหรับนิสิตระดับ ค.ด. (วิธีวิทยาการวิจัยการศึกษา) ปริญญาตรีในหลักสูตรศึกษาศาสตร์บัณฑิต น.ส.นพวรรณ ฉมิ รอยลาภ F1035 และหลักสูตรต่างๆ ด้วย ภาระกิจอื่นๆ ได้แก่ ศศ.ด. (ภาษาองั กฤษเปน็ ภาษานานาชาต)ิ การส่งเสริมการศึกษาวิจัย และช่วยสนับสนุน การศึกษาในสาขาจิตวิทยาการศึกษา การ คู่มอื นสิ ติ ศึกษาศาสตร์ 2563 ............................................................................................... คู่มอื นสิ ิต คณะศกึ ษาศาสตร์ 2563 ให้บริการวิชาการแก่สังคมในรูปแบบต่าง ๆ ...........................................................................................................................................................นางสาววรางคณา โสมะนนั ทน ์ F6003 ภาควิชาฯ ยังมีหน่วยวิจัยและฝึกปฏิบัติการ ปร.ด. (จติ วิทยาการปรึกษา) ทางจิตวิทยาการปรึกษา หน่วยสร้างเสริม นางปวณี า อ่อนใจเออ้ื F6004 ภูมปัญญาไทย: ด้านพุทธจิตวิทยา หน่วย ปร.ด. (วจิ ยั และพัฒนาศักยภาพมนุษย์ - แขนง ทดสอบทางจิตวิทยา และหน่วยฝึกทักษะ วชิ าจิตวทิ ยาการศกึ ษา) และพัฒนาตน เพ่ือให้บริการแก่นิสิต และ ประชาชนท่ัวไป คณาจารย์ภาควชิ าจิตวิทยาการศึกษา ภาควิชาเทคโนโลยีการศกึ ษา และการแนะแนว ภาควชิ าเทคโนโลยีการศกึ ษา พัทธกจิ วุฒิ รหสั ประจ�ำตัว และแนวนโยบายดงั น้ี หวั หน้าภาควิชา 1. จัดการเรียนการสอน ตามภาระ นางสาวจติ ตนิ นั ท์ บุญสถิรกลุ F4260 หนา้ ที่ 3 ด้าน คอื รองศาสตราจารย์ 1.1 จัดการเรยี นการสอนวิชา D.Ed. (Curriculum and Instruction: พ้ืนฐาน ทางเทคโนโลยีการศึกษาเบื้องต้น Students with Learning Disabilities) และ คอมพิวเตอร์เบื้องต้นเพ่ือการศึกษา ตามหลักสูตรวิชาชีพครู ระดบั ปริญญาตรขี อง รองศาสตราจารย์ คณะศึกษาศาสตร์ 1.2 จัดการเรยี นการสอนวชิ า นางสาวกรกฎา นักคม้ิ XF267 ทางเทคโนโลยกี ารศกึ ษาเปน็ วิชาโท หรอื วชิ าเลือก ศศ.ม. (จติ วิทยาการศึกษาและการแนะแนว) สําหรับนิสิตระดับปริญญาตรีที่เรียนวิชาเอก ในภาควชิ าต่างๆ ของคณะศึกษาศาสตร์ และ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ คณะอื่นๆ ตามความสนใจ 1.3 จัดการเรียนการสอนวชิ า นางมนัสนันท์ หัตถศกั ดิ์ F1073 ทางเทคโนโลยกี ารศึกษา ระดบั บณั ฑิตศกึ ษา เป็น ปร.ด. (บริหารการศึกษาและภาวะผนู้ �ำ) วิชารองใหก้ บั นิสิตสาขาตา่ งๆ และดาํ เนนิ การ ส อ น ห ลั ก สู ต ร ศึ ก ษ า ศ า ส ต ร ม ห า บั ณ ฑิ ต อาจารย์ (เทคโนโลยีการศึกษา) ควบคู่ไปกับหลักสูตร ศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิต (เทคโนโลยีการศกึ ษา) นายมฤษฎ์ แกว้ จินดา F6001 Ph.D. (Educational Psychology, Counseling and Student Personnel Psychology) คู่มือนสิ ติ ศกึ ษาศาสตร์ 2563 ค่มู ือนิสติ คณะศึกษาศาสตร์ 2563 ............................................................................................... 2. บริการวิชาการเกี่ยวกับสื่อการ ..............................................................................................................................................................ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ศึกษาการผลิตและพัฒนาส่ือการเรียนการสอน นางกอบกลุ สรรพกิจจาํ นง F5007 การให้คําแนะนํา ปรึกษาด้านการออกแบบ ค.ด. (เทคโนโลยีและสือ่ สารการศึกษา) การผลิต และใช้ส่ือชนิดต่าง ๆ นอกจากน้ี น.ส.วตั สาตรี ดิถียนต ์ F5012 ยังสนับสนุนงานวิชาการ โดยจัดกิจกรรมการ Ph.D. (Educational Technology) ฝึกอบรมและสมั มนาในเร่อื งต่างๆ ใหก้ บั นสิ ติ อาจารย์ และอาจารย์ของคณะศกึ ษาศาสตร์ ตลอดจน นายไพฑูรย ์ สฟี า้ F5010 บุคลากร สถาบนั หรือหนว่ ยงานภายนอกของ กศ.ด. (เทคโนโลยีการศกึ ษา) มหาวิทยาลัย ดร.บุญรตั น์ แผลงศร F5014 ค.ด. (เทคโนโลยีและส่ือสารการศึกษา) 3. ศกึ ษาคน้ ควา้ วิจยั และพัฒนางาน ทางเทคโนโลยีการศึกษา ส่งเสริมสนับสนุน ภาควชิ าพลศึกษา การศึกษา เพ่ือนําเทคโนโลยีการศึกษาไปใช้ เพ่ือพัฒนาการศึกษาทกุ ดา้ น ทุกระดับ ในปี พ.ศ. 2509 มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ ได้รับอนุมัติให้ต้ังภาควิชา คณาจารยภ์ าควิชาจิตวทิ ยาการศึกษา พลศกึ ษา จากคณะกรรมการสภาการศึกษาฯ และการแนะแนว โดยฝากไว้กับคณะวิทยาศาสตร์และอักษร- ศาสตร์จนกว่าจะมีการจัดตั้งคณะศึกษาศาสตร์ วฒุ ิ รหัสประจำ� ตวั ขณะนั้นมี ศ.ดร.สุชพี รัตรสาร เป็นหวั หน้า ภาควิชาพลศึกษา จากนั้นในปี พ.ศ.2510 ได้ หัวหนา้ ภาควิชา เรม่ิ จดั ท�ำหลักสตู รวิทยาศาสตรบณั ฑติ (วท.บ. พลศึกษา) และ หลกั สูตรศลิ ปศาสตรบณั ฑติ นายณฐั พล ร�ำไพ F5011 (ศศ.บ. พลศึกษา) ซง่ึ แลว้ เสร็จและเปิดรบั นิสติ รองศาสตราจารย์ เข้าศึกษารนุ่ แรกในปี พ.ศ.2512 ศษ.ด. (เทคโนโลยีการศึกษา) พ.ศ. 2513 มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ รองศาสตราจารย์ ไดก้ อ่ ตงั้ คณะศึกษาศาสตร์ ภาควิชาพลศกึ ษา จึงได้ท�ำการย้ายจากคณะวิทยาศาสตร์ และ น.ต.สัญชัย พฒั นสทิ ธ ิ์ F5003 อักษรศาสตร์ มาสังกัดอยู่ภายใต้คณะ กศ.ด. (เทคโนโลยกี ารศกึ ษา) ศึกษาศาสตร์ เม่ือวันท่ี 1 ตลุ าคม 2513 โดยมี นายสูติเทพ ศริ ิพพิ ัฒนกุล F2057 ค.ด. (เทคโนโลยีและสอ่ื สารการศึกษา) คู่มือนสิ ิตศึกษาศาสตร์ 2563 ............................................................................................... คู่มือนสิ ิต คณะศกึ ษาศาสตร์ 2563 ศ.ดร.สุวรรณ เกษตรสวุ รรณ ต�ำแหนง่ หวั หน้า ................................................................................................................................................................ตามหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิตพลศึกษาเป็น ภาควชิ าพลศึกษา เปดิ รบั ผสู้ ำ� เร็จการศึกษาระดับ รนุ่ แรก และในปีเดยี วกันนไ้ี ด้ปรบั ปรงุ รายวิชา มธั ยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า ได้เข้า กิจกรรมพลศกึ ษา จากเดิม “รหัสวชิ า PH-ED ศึกษาต่อตามโครงการผลิตบัณฑิตปริญญาตรี 111, 112, 211, 212” เป็นวิชากิจกรรม สาขาวชิ าเอกพลศกึ ษา พลศกึ ษา (Physical Education Activity) ซ่ึง ย่อ PEA มีรหัสประจ�ำวิชา 175XXX และ พ.ศ. 2524 เปิดรับข้าราชการเข้า มีรหัสประจ�ำกิจกรรมพลศึกษา เช่น วิชา ศึกษาต่อระดับปริญญาตรี ตามโครงการ วอลเลย์บอล 175123 วิชายูโด 175155 ปรับปรุงวิทยฐานะ ในหลักสูตรศิลปศาสตร- วิชาเทนนิส 175113 เป็นต้น นอกจากน้ัน บณั ฑติ (หลักสตู รต่อเนื่อง 2 ปี) ยังเปิดสอนหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาการฝกึ กีฬาอกี หนงึ่ หลกั สูตร พ.ศ. 2525 เปิดรับผู้ส�ำเร็จการศึกษา ป.กศ.สงู ทางพลศกึ ษา จากวิทยาลัยพลศึกษา พ.ศ. 2531 เปิดรบั บคุ คลเขา้ ศึกษาต่อ เข้าศึกษา ในหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต ระดับปริญญาตรีในโครงการผู้มีความสามารถ (หลักสูตรต่อเนื่อง 2 ปี) และในปีเดียวกัน ทางการกีฬาดเี ดน่ ได้เปิดให้มีการเรียนการสอน ในหลักสูตร ศึกษาศาสตรบณั ฑติ สาขาวชิ าสุขศึกษาอกี ดว้ ย พ.ศ. 2540 เปิดรับนิสิตปริญญาโท สาขาวชิ าสุขศกึ ษา หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบณั ฑิต พ.ศ. 2526 ภาควิชาพลศึกษาได้เปิด (สุขศกึ ษา) เป็นรุ่นแรก รับผู้ส�ำเร็จการศึกษาในระดับมัธยมศึกษา ตอนปลาย จากโรงเรียนมัธยมต่างจังหวัดเข้า พ.ศ. 2541 เปดิ รับนิสิตปรญิ ญาเอก ศึกษาระดับปริญญาตรีตามโครงการส่งเสริม สาขาวิชาพลศึกษา หลักสูตรดุษฎีบัณฑิต โอกาสศึกษาต่อของโรงเรียนมัธยมในท้องถ่ิน สาขาวิชาพลศกึ ษา เปน็ รุ่นแรก ซึ่งเป็นโครงการหน่ึงท่ีได้รับความสนใจจาก นักเรียนในท้องถิ่นจังหวัดต่าง ๆ สมัครเข้า พ.ศ. 2546 เปดิ รับนสิ ติ ปริญญาโท ศึกษาจ�ำนวนมาก สาขาวิชานันทนาการ หลักสูตรวิทยาศาสตร- มหาบัณฑิต (นันทนาการ) เป็นรุ่นแรก และ พ.ศ. 2527 เปิดรับนิสิตปริญญาตรี ในปีเดียวกันได้ด�ำเนินการปรับปรุงหลักสูตร สาขาวิชาเอกสขุ ศึกษา ตามหลกั สูตร ศึกษา- ปรญิ ญาตรจี าก 4 ปี เป็นหลักสตู ร 5 ปี ทงั้ นี้ ศาสตรบณั ฑติ (สขุ ศกึ ษา) เพื่อให้สอดคล้องกันแนวทางการผลิตครูตามฃ พระราชบัญญัตกิ ารศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 พ.ศ. 2530 ภาควิชาพลศกึ ษาไดเ้ ปิดให้ และเปิดรับนิสิตเข้าศึกษาในหลักสูตร 5 ปี มีการเรียนการสอนในหลักสูตรระดับบัณฑิต- รุน่ แรก ในปี พ.ศ. 2547 ศึกษา รับนิสิตปริญญาโทสาขาวิชาพลศึกษา คู่มอื นิสิตศึกษาศาสตร์ 2563 คู่มือนสิ ติ คณะศึกษาศาสตร์ 2563 ............................................................................................... พ.ศ. 2555 เปิดรับนิสิตปริญญาเอก .............................................................................................................................................................. ระดับปริญญาเอก หลักสูตรปรัชญาดุษฏีบัณฑิต สาขาวิชาการ ส่งเสริมสุขภาพและสุขศกึ ษา เปน็ รุ่นแรก 1. หลักสูตรศิลปศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาพลศึกษา ปัจจุบันภาควิชาพลศึกษายังคงมุ่งม่ัน ทจี่ ะท�ำหน้าทีห่ ลักส�ำคัญ คือ การผลติ บณั ฑติ 2. หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต ที่มีความรู้ความสามารถ ในด้านพลศึกษา สาขาวิชาการสง่ เสริมสุขภาพและสขุ ศึกษา สุขศกึ ษา และนันทนาการ ทัง้ ระดบั ปริญญาตรี ปริญญาโท และปรญิ ญาเอก ภายใตป้ ณิธานท่ี คณาจารย์ภาควิชาพลศกึ ษา จะผลิตบัณฑิต ที่สมบูรณ์ด้วยคุณธรรมและ วุฒิ รหสั ประจำ� ตัว สติปญั ญา และวสิ ยั ทศั นท์ ี่ว่า ภาควชิ าพลศกึ ษา หวั หน้าภาควิชา เป็นองค์กรท่ีมีความเป็นเลิศทางวิชาชีพด้าน นายสมบตั ิ อ่อนศริ ิ F3026 พลศกึ ษา สุขศกึ ษา และนันทนาการ มผี ลงาน รองศาสตราจารย์ เป็นท่ียอมรับในมาตรฐานสากล ช้ีน�ำสังคมได้ Ph.D. (Exercise and Sport Science) ภาควิชาพลศึกษาเปิดให้มีการเรียน รองศาสตาจารย์ F3055 การสอนใน 7 หลกั สูตร ดงั นี้ นางจฑุ ามาศ บัตรเจรญิ ระดบั ปรญิ ญาตรี ค.ด. (พลศึกษา) 1. หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ F3034 สาขาวิชาพลศึกษา (4 ปี) F3003 น.ส.กรัณฑรัตน์ บุญช่วยธนาสทิ ธ์ิ F3036 2. หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต Ph.D. (Public Health) F3041 สาขาวิชาสุขศึกษา (4ปี) นายชาติชาย อมติ รพา่ ย ศศ.ม. (พลศึกษา) ระดับปริญญาโท นายวรพงษ์ แยม้ งามเหลือ ศศ.ม. (พลศึกษา) 1. หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต น.ส.อวยพร ตง้ ธงชยั สาขาวิชาพลศึกษา Ph.D. (Sport Science) 2. หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต น.ส.นพรตั น์ ศุทธถิ กล F3014 สาขาวิชาการส่งเสริมสุขภาพและสุขศึกษา วท.ด. (วทิ ยาการบริหารจดั การกฬี าและ 3. หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต ค่มู อื นิสิตศกึ ษาศาสตร์ สาขาวิชานันทนาการ 2563 ............................................................................................... คมู่ ือนิสิต คณะศึกษาศาสตร์ 2563 นันทนาการ) F3063 ................................................................................................................................................................ปร.ด. (พลศกึ ษา) น.ส.ณฐั กิ า เพ็งล ี F3059 นายสมคดิ ปราบภยั F3062 ค.ด. (พลศกึ ษา) F3064 ปร.ด. สาธารณสุขศาสตร์ (นานาชาติ) นายบญุ เลศิ อุทยานกิ F3060 นางธริสรา จริ เสถียรพร F3067 ศศ.ม. (พลศกึ ษา) F3039 Ph.D. Public Health (International Program) น.ส.กลั พฤกษ์ พลศร F3065 วท.ม. (นนั ทนาการ) ผู้ทรงคณุ วุฒิ พ.ต.หญงิ ณฐั กฤตา ศิรโิ สภณ วท.ม. (สขุ ศกึ ษา) นายชาญชัย ขนั ตศิ ริ ิ F3006 นายวิชาญ มะวญิ ธร ศศ.ม. (พลศึกษา) ศศ.ม. (พลศกึ ษา) น.ส.สวุ ิมล ตงั้ สจั จพจน ์ F3025 นายภูเบศร์ นภทั รพทิ ยาธร Ph.D. (Recreation Administration) วท.ม. (วทิ ยาศาสตร์การกฬี า) น.ส.อจั ฉรา เสาวเ์ ฉลมิ F3053 ค.ด. (พลศกึ ษา) อาจารย์ ภาควชิ าอาชวี ศกึ ษา นายณัฐชนนท์ ซงั พุก F3040 ศศ.ม. (พลศกึ ษา) ภาควิชาอาชีวศึกษาได้รับการจัดตั้ง นายณฐั พงษ์ สโุ กมล F3038 เมื่อปี พ.ศ.2512 เป็นหน่วยงานท่ีผลิต ศศ.ม. (พลศึกษา) นักการศึกษา ระดับอุดมศึกษาวุฒิปริญญาโท นายนาทรพี ผลใหญ ่ F3061 สาขาวิชาคุรุศาสตร์เกษตร เป็นแห่งแรกของ ค.ด. (พลศกึ ษา) ประเทศ ทั้งนี้ได้ถือก�ำเนิดมาจากแผนกวิชา นายพรเทพ ราชรจุ ิทอง F3058 เกษตรนเิ ทศ คณะเกษตร และผลติ นกั การศกึ ษา ปร.ด. (วิทยาศาสตร์การออกก�ำลงั กาย วุฒปิ ริญญาโท สาขาคหกรรมศาตรศึกษา เปน็ และการกฬี า) แห่งแรกของประเทศอีกเชน่ กนั เมือ่ ปี พ.ศ.2530 นายมนธรี ์ จติ ตอ์ นันต ์ F3052 M.A. (Health and Kinesiology) ปัจจุบันภาควิชาอาชีวศึกษาท�ำหน้าที่ น.ส.นนั ทน์ ภัส เกตนโ์ กศัลย์ F3042 ผลิตครูและนักการศึกษาในระดับปริญญาตรี วท.ม. (สขุ ศึกษา) ในสาขาวิชาธุรกิจและคอมพิวเตอร์ศึกษา นายสุริยัน สุวรรณกาล F3044 คหกรรมศาสตรศึกษา ผลิตบัณฑิตในระดับ บัณฑิตศึกษา ระดับปริญญาโท ในสาขาวิชา การศึกษานอกระบบเพื่อพัฒนาสังคม คหกรรม ศาสตรศึกษา ธุรกจิ ศึกษา และพัฒนอาชวี ศึกษา คมู่ อื นสิ ติ ศกึ ษาศาสตร์ 2563 คมู่ ือนสิ ิต คณะศกึ ษาศาสตร์ 2563 ............................................................................................... และในระดับดษุ ฎบี ณั ฑิต เปดิ สอนในสาขาวิชา ..............................................................................................................................................................นายอนุชยั รามวรงั กรู F2061 อาชีวศึกษา และการศึกษานอกระบบเพ่ือพฒั นา ศศ.ด. (อาชีวศกึ ษา) สังคม เพ่ือใหเ้ ป็นผูท้ มี่ คี วามรู้ ความสามารถใน นางวรรณด ี สุทธนิ รากร F2067 เชิงวิชาการ และวชิ าชพี ในการปฏิบัตงิ านท้ังใน ศศ.ด. (อาชีวศึกษา) ระบบและนอกระบบโรงเรยี น นางจนิ ตนา กาญจนวิสุทธิ์ F2055 ค.อ.ด. (การบริหารอาชีวศึกษา) น อ ก จ า ก จ ะ ท� ำ ห น ้ า ท่ี ผ ลิ ต ค รู แ ล ะ น.ส.นงลกั ษณ ์ มโนวลยั เลา F2064 นกั การศึกษาดังกลา่ วแล้ว ยงั ทำ� การวจิ ัยในสว่ นท่ี Ph.D. (Career and Technical Education) เกี่ยวกับการพัฒนาการอาชีวศึกษาการศึกษา นายภัทรวรรธน์ จรี พัฒน์ธนธร F2008 นอกระบบ ให้บริการทางวชิ าการแกส่ งั คม Ph.D. (Extension Education) ในรปู แบบของการฝกึ อบรม ทำ� นุบำ� รุงศิลป น.ส.นลนิ รัตน์ รกั กศุ ล F2065 วัฒนธรรมไทย และร่วมสนับสนุนงานพัฒนา ค.ด. (พัฒนศึกษา) ประเทศอกี ด้วย โดยภาควชิ าอาชวี ศึกษา ไดม้ ี ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ โครงการพัฒนาบคุ ลากรทางการศกึ ษา สร้าง น.ส.นฤมล ศราธพนั ธุ์ F2042 ความเปน็ ผนู้ ำ� ชมุ ชม และทอ้ งถิ่นเพอ่ื พัฒนา ศศ.ด. (อาชีวศกึ ษา) องคก์ รทอ้ งถ่ินส่กู ารเรยี นรอู้ ย่างมีคุณภาพ นางพัชรา วาณิชวศิน F2066 Ph.D. (Educational Leadership) คณาจารยภ์ าควชิ าอาชีวศกึ ษา นางอังคณา ขนั ตรจี ติ รานนท์ F2062 วุฒ ิ รหสั ประจำ� ตัว Ed.D. (Early Childhood Education) หวั หน้าภาควชิ า น.ส.อทุ ุมพร อินทจกั ร์ F2068 นางจฬุ ารตั น ์ วฒั นะ F2033 ค.ด. (พัฒนศกึ ษา) ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ Ph.D. (Agricultural Education) อาจารย์ รองศาสตราจารย์ F2033 นายชูศักดิ์ เอื้องโชคชัย F2070 F2004 ค.ด. (การศึกษานอกระบบโรงเรยี น) นางเมธินี วงศ์วานิช รมั ภกาภรณ์ F2063 นางณฏั ฐ์วิชิดา เลศิ พงศร์ จุ ิกร F2007 Ed.D.( ICT for Education ) วท.ม. (เทคโนโลยสี ารสนเทศ) น.ส.วรทั ยา ธรรมกติ ตภิ พ น.ส.สถดิ าพร ค�ำสด F2071 ศศ.ด. (อาชวี ศกึ ษา) นางสุวรรณา นาควิบูลยว์ งศ ์ คูม่ ือนิสติ ศึกษาศาสตร์ ศษ.ด. (การบริหารการศกึ ษา) 2563 ............................................................................................... คมู่ อื นิสติ คณะศกึ ษาศาสตร์ 2563 กศ.ด. (การศกึ ษาผใู้ หญ)่ ................................................................................................................................................................อบรมกุลบุตร กุลธิดา ตามระดับสติปัญญา น.ส.สวุ มิ ล อุไกรษา F2069 ความสามาร ความถนดั และความสนใจ โดยมี ปร.ด (ประชากรศึกษา) ศาสตราจารย์ ดร.อุบล เรยี งสุวรรณ เป็นผกู้ อ่ ตง้ั น.ส.ถวกิ า เมฆอัคฆกรณ ์ F2072 และเปน็ อาจารยใ์ หญ่ ทา่ นแรก ปจั จบุ ัน โรงเรยี น ศษ.ด.(อาชีวศึกษา) สาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์สถานะ น.ส.ภัทรา วนาจตุ F2073 เทียบเทา่ ภาควชิ าในคณะศกึ ษาศาสตร์ ค.ด. (การศกึ ษานอกระบบโรงเรยี น) ปรชั ญา ผู้ทรงคุณวฒุ ิ โ ร ง เ รี ย น ส า ธิ ต แ ห ่ ง ม ห า วิ ท ย า ลั ย นายวกิ ร ตณั ฑวุฑโฒ F2035 เกษตรศาสตร์ ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา Ed.D. (Adult & Continuing Education) เ ป ็ น ส ถ า บั น ท่ี ใ ห ้ ก า ร ศึ ก ษ า อ บ ร ม กุ ล บุ ต ร นายพนติ เข็มทอง F2012 กุ ล ธิ ด า ใ ห ้ พ ร ้ อ ม ที่ จ ะ เ ผ ชิ ญ กั บ ค ว า ม Ed.D. (Agricultural Education) เปล่ียนแปลงของสภาพแวดล้อมท่ีเกิดขึ้นอยู่ น.ส.ชพี สุมน รงั สยาธาร F2025 ตลอดเวลาพัฒนานักเรียนให้มีความเจริญ Ph.D. (Adult Education) งอกงามทางปัญญา มีคุณธรรม จริยธรรม น.ส.สุภาพ ฉตั ราภรณ ์ F2018 มีทักษะชีวิต และความรู้ความสามารถเต็ม Ph.D. (Human Ecology/ Home ตามศกั ยภาพ แห่งตนมีจติ สำ� นกึ ในหนา้ ท่ี น�ำ Economicsd Education) ประสบการณ์ มาแกไ้ ขปญั หา ทเี่ ผชิญอยู่ได้ อยา่ งเหมาะสม เพือ่ ความสขุ ความสงบ และ โร ง เรี ย น ส า ธิ ต แ ห ่ ง ม ห า วิ ท ย า ลั ย ประโยชน์ของ ส่วนรวมเป็นส�ำคัญตามวิถี เกษตรศาสตร์ ศนู ยว์ จิ ยั และพฒั นาการศกึ ษา ประชาธิปไตยบนพื้นฐานของความเป็นไทย อย่างม่ันคง โรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา คติธรรม ก่อต้ังขึ้นเมื่อวันท่ี 22 เมษายน 2514 เพ่ือ ใช้เป็นสถานที่ปฏิบัติงานทางการฝึกหัดครู ปญญฺ า อลีนตา เจว ระดับปริญญาของนิสิตคณะศึกษาศาสตร์ สมาธิ ฐติ ธมมฺ ตา เอเต เต จตโุ ร ธมฺมา เปน็ สถานทศี่ กึ ษา วิจัย ทดลอง คน้ ควา้ วชิ าการ จิณณฺ า สุขตฺถสาธกาฯ ทางด้านการศึกษา ตลอดจนเป็นสถาบัน (พระเทพเวที (ป.อ. ปยุตโต) 25 มกราคม 2531 ค่มู ือนิสิตศกึ ษาศาสตร์ 2563

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

แปลภาษาไทย ไทยแปลอังกฤษ โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน lmyour แปลภาษา ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv แปลภาษาอาหรับ-ไทย แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip แอพแปลภาษาอาหรับเป็นไทย ค้นหา ประวัติ นามสกุล ห่อหมกฮวกไปฝากป้า หนังเต็มเรื่อง ไทยแปลอังกฤษ ประโยค Terjemahan เมอร์ซี่ อาร์สยาม ล่าสุด แปลภาษาจีน กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น ่้แปลภาษา Google Translate ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย พร บ ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 วิธีใช้มิเตอร์วัดไฟดิจิตอล สหกรณ์ออมทรัพย์กรมส่งเสริมการปกครอง ส่วนท้องถิ่น ห่อหมกฮวก แปลว่า Bahasa Thailand Thailand translate mu-x มือสอง รถบ้าน การวัดกระแสไฟฟ้า ด้วย แอมมิเตอร์ การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 4 ก่อนจะนิ่งก็ต้องกลิ้งมาก่อน เนื้อเพลง ก่อนจะนิ่งก็ต้องกลิ้งมาก่อน แคปชั่น พจนานุกรมศัพท์ทหาร ภูมิอากาศ มีอะไรบ้าง สถาบันพัฒนาบุคลากรท้องถิ่น อาจารย์ ตจต อเวนเจอร์ส ทั้งหมด เขียน อาหรับ แปลไทย ใบรับรอง กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน Google map Spirited Away 2 spirited away ดูได้ที่ไหน tor คือ จัดซื้อจัดจ้าง กินยาคุมกี่วัน ถึง ปล่อยในได้ ธาตุทองซาวด์เนื้อเพลง บช.สอท.ตำรวจไซเบอร์ ล่าสุด บบบย มิติวิญญาณมหัศจรรย์ ตอนจบ รหัสจังหวัด อําเภอ ตําบล ศัพท์ทางทหาร military words สอบ O หยน