ข อสอบว ชาพ ฒนาอาช พให ม ความม นคง ม.ปลาย กศน

  • 1. สํานักงาน กศน. สํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ หามจําหนาย เอกสารทางวิชาการลําดับที่ 30/2554
  • 2. กศน. สํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ เอกสารทางวิชาการลําดับที่ 30/2554
  • 3. เพื่อสําหรับใชในการเรียนการสอนตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ที่มีวัตถุประสงคในการพัฒนาผูเรียนใหมีคุณธรรม จริยธรรม มีสติปญญาและศักยภาพในการประกอบอาชีพ การศึกษาตอ และสามารถดํารงชีวิตอยูใน ครอบครัว ชุมชน สังคมไดอยางมีความสุข โดยผูเรียนสามารถนําหนังสือเรียนไปใช ดวยวิธีการศึกษา คนควาดวยตนเอง ปฏิบัติกิจกรรมรวมทั้งแบบฝกหัดเพื่อทดสอบความรูความเขาใจในสาระเนื้อหา โดยเมื่อศึกษาแลวยังไมเขาใจ สามารถกลับไปศึกษาใหมได ผูเรียนอาจจะสามารถเพิ่มพูนความรูหลังจาก ศึกษาหนังสือเรียนนี้ โดยนําความรูไปแลกเปลี่ยนกับเพื่อนในชั้นเรียน ศึกษาจากภูมิปญญาทองถิ่น จากแหลงเรียนรูและจากสื่ออื่นๆ ในการดําเนินการจัดทําหนังสือเรียนตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ไดรับความรวมมือที่ดีจากผูทรงคุณวุฒิและผูเกี่ยวของหลายทานที่คนควา และเรียบเรียงเนื้อหาสาระจากสื่อตางๆ เพื่อใหไดสื่อที่สอดคลองกับหลักสูตร และเปนประโยชน ตอผูเรียนที่อยูนอกระบบอยางแทจริง สํานักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ขอขอบคุณคณะที่ปรึกษา คณะผูเรียบเรียง ตลอดจนคณะผูจัดทําทุกทานที่ไดใหความรวมมือดวยดี ไว ณ โอกาสนี้ สํานักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย หวังวาหนังสือเรียน ชุดนี้จะเปนประโยชนในการจัดการเรียนการสอนตามสมควร หากมีขอเสนอแนะประการใด สํานักงาน สงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ขอนอมรับไวดวยความขอบคุณยิ่ง สํานักงาน กศน.
  • 4. 5 บทที่ 1 ศักยภาพธุรกิจ 6 บทที่ 2 การจัดทําแผนพัฒนาการตลาด 18 บทที่ 3 การจัดทําแผนพัฒนาการผลิตหรือการบริการ 28 บทที่ 4 การพัฒนาธุรกิจเชิงรุก 40 บทที่ 5 โครงการพัฒนาอาชีพใหมีความมั่นคง 53
  • 5. รายวิชา การพัฒนาอาชีพใหมีความมั่นคง ระดับ มัธยมศึกษาตอนปลายเปนแบบเรียนที่จัดทําขึ้นสําหรับผูเรียนที่เปนนักศึกษานอกระบบ ในการศึกษาหนังสือเรียนสาระการประกอบอาชีพ รายวิชาการพัฒนาอาชีพใหมีความมั่นคง 1. ศึกษาโครงสรางรายวิชาใหเขาในในหัวขอและสาระสําคัญ ผลการเรียนรูที่คาดหวัง และ ขอบขายเนื้อหาของรายวิชานั้น ๆ โดยละเอียด 2. ศึกษารายละเอียดเนื้อหาของแตละบทอยางละเอียด และทํากิจกรรมตามที่กําหนด แลว ตรวจสอบกับครูหรือผูรูในเรื่องนั้น ๆ ถายังไมเขาใจใหกลับไปศึกษาและทําความเขาใจในเนื้อหานั้น ใหมใหเขาใจ กอนที่จะศึกษาเรื่องตอ ๆ ไป 3. หนังสือเรียนเลมนี้มี 4 บทเรียน ประกอบดวย บทที่ 1 ศักยภาพธุรกิจ บทที่ 2 การจัดทําแผนพัฒนาการตลาด บทที่ 3 การจัดทําแผนพัฒนาการผลิตหรือการบริการ บทที่ 4 การพัฒนาธุรกิจเชิงรุก บทที่ 5 โครงการพัฒนาอาชีพใหมีความมั่นคง
  • 6. จําเปนตองศึกษา วิเคราะหศักยภาพของธุรกิจแลวจัดทํา แผนพัฒนากระบวนการตลาด กระบวนการการผลิตหรือการบริการ กําหนดระบบกํากับดูแลเพื่อให อาชีพสูความมั่นคง ผลการเรียนรูที่คาดหวัง 1. อธิบายความหมาย ความสําคัญ ความเขาใจในการพัฒนาอาชีพใหมีผลิตภัณฑหรืองานบริการ สรางรายไดพอเพียงตอการดํารงชีวิต มีเงินออมและมีทุนในการขยายอาชีพ 2. วิเคราะหศักยภาพธุรกิจ การตลาด การผลิตหรือการบริการ แผนธุรกิจ เพื่อสรางธุรกิจใหมี ความมั่นคง 3. อธิบายวิธีการตรวจสอบการพัฒนาอาชีพใหเขาสูความมั่นคง 4. ปฏิบัติการจัดทําแผนโครงการพัฒนาอาชีพใหมีความมั่นคง ขอบขายเนื้อหาวิชา บทที่ 1 ศักยภาพธุรกิจ บทที่ 2 การจัดทําแผนพัฒนาการตลาด บทที่ 3 การจัดทําแผนพัฒนาการผลิตหรือการบริการ บทที่ 4 การพัฒนาธุรกิจเชิงรุก บทที่ 5 โครงการพัฒนาอาชีพใหมีความมั่นคง
  • 7. ๆ และ วิเคราะหศักยภาพของธุรกิจบนเสนทางของเวลา เพื่อสรางธุรกิจใหมีความมั่นคง ลักษณะบงชี้ความสําเร็จของการเรียนรู 1. อธิบายความหมาย ความสําคัญและความจําเปนของการพัฒนาอาชีพเพื่อความมั่นคง 2. อธิบายความจําเปนของการวิเคราะหศักยภาพธุรกิจ 3. วิเคราะหตําแหนงธุรกิจในระยะตาง ๆ 4. วิเคราะหศักยภาพของธุรกิจบนเสนทางของเวลา ขอบขายเนื้อหา เรื่องที่ 1 ความหมาย ความสําคัญและความจําเปนของการพัฒนาอาชีพเพื่อความมั่นคง เรื่องที่ 2 ความจําเปนของการวิเคราะหศักยภาพธุรกิจ เรื่องที่ 3 การวิเคราะหตําแหนงธุรกิจ เรื่องที่ 4 การวิเคราะหศักยภาพธุรกิจบนเสนทางของเวลา
  • 8. ความสําคัญและความจําเปนของการพัฒนาอาชีพเพื่อความมั่นคง ความหมาย ความสําคัญและความจําเปนของการพัฒนาอาชีพ การพัฒนาอาชีพ หมายถึง การประกอบอาชีพที่มีการพัฒนาสินคาหรือผลิตภัณฑใหตรงกับ ความตองการของลูกคาอยูตลอดเวลา โดยมีสวนครองตลาดไดตามความตองการของผูผลิต แสดงถึง ความมั่นคงในอาชีพ ความมั่นคง หมายถึง การเกิดความแนนและทนทานไมกลับ เปนอื่น ความสําคัญและความจําเปนของการพัฒนาอาชีพ ผูประกอบอาชีพจะตองมีวิสัยทัศนกวางไกล เพื่อพิจารณาแนวโนมของตลาด ความตองการของ ผูบริโภคเขาสูการแขงขันในตลาดใหได จึงจําเปนตองมีการพัฒนาอาชีพ ซึ่งถือวา ลูกคามีความสําคัญ ดังนั้น การพัฒนาอาชีพจึงมีความสําคัญและความจําเปน ดังนี้ 1. เพื่อใหมีสินคาที่ดีตรงตามความตองการของผูบริโภค 2. เพื่อใหผูผลิตไดมีการคิดคนผลิตภัณฑหรือสินคาไดตลอดเวลา 3. มีการนํานวัตกรรมและเทคโนโลยีเขามาใชในกระบวนการผลิต เพื่อใหสินคามีคุณภาพ ยิ่งขึ้น 4. ทําใหเศรษฐกิจชุมชนและของประเทศดีขึ้น ขอควรพิจารณาในการพัฒนาอาชีพ ในการพัฒนาอาชีพจะชวยใหสามารถแขงขันกับผูอื่นได ขึ้นอยูกับสิ่งตอไปนี้ 1. ผูประกอบอาชีพ ซึ่งอาจจะเปนเจาของธุรกิจ ผูจัดการ ทีมงาน จะตองมีความรูเกี่ยวกับการ พัฒนาอาชีพนั้น ๆ รวมถึงทักษะในอาชีพและประสบการณที่เปนประโยชนตอการพัฒนา อาชีพของตน นอกจากนี้ยังเปนผูรักความกาวหนา ไมหยุดยิ่ง กาวทันกระแสโลก กลาคิด กลาทํา ทันสมัย มองโลกในแงดี 2. ปจจัยการผลิต ไดแก เงินทุน วัตถุดิบ แรงงาน สถานที่ ยอมตองพัฒนาใหมีคุณภาพมากกวา เดิม แตกตางและโดดเดนไปจากคูแขงอื่น ๆ ในตลาดขณะนั้น 3. โอกาสและสภาพแวดลอมทางธุรกิจ เชน มีตลาดรองรับนโยบายของรัฐบาลสงเสริมที่จะทํา ใหธุรกิจเจริญกาวหนา 4. ผลกระทบตอชุมชน สังคม และสิ่งแวดลอม ตองคํานึงถึงผลดีกับทุกฝาย
  • 9. หมายถึง ธุรกิจที่ทุกบุคคลที่มีความสามารถพัฒนาสินคานั้น ๆ ใหอยูใน ตลาดไดอยางมั่นคง ความจําเปนที่จะตองวิเคราะหศักยภาพของธุรกิจ 1. ทําใหสามารถขยายตลาดไดกวางขวางกวาเดิม 2. ทําใหลดความเสี่ยงในการดําเนินธุรกิจ 3. มีแนวทางในการดําเนินงานอยางรอบคอบ ปลอดภัยจากการขาดทุน 4. เปนการสื่อสารเกี่ยวกับทิศทางของธุรกิจใหแกผูเกี่ยวของหรือองคกรที่สนับสนุนเงินให ทราบ เพื่อใหเกิดความมั่นใจ 5. ในการขยายธุรกิจมีความเปนไปได ความคิดรวบยอด องคประกอบที่มีความสัมพันธกับความมั่นคงของอาชีพ จะตองมีความตรงกันกับปจจัย ที่สงผลตอศักยภาพในอาชีพ หากมีองคประกอบที่ไมตรง จําเปนที่จะตองจัดการใหตรงกันหรือสัมพันธ กันก็จะทําใหศักยภาพของอาชีพสูงขึ้น ศักยภาพของอาชีพสามารถบอกเปนตัวเลขและอธิบายสภาพที่ปรากฏไดจะทําใหเรา มองเห็นขอบกพรองและสามารถแกไขขอบกพรองพัฒนาอาชีพสูความมั่นคงได ความหมายของศักยภาพในอาชีพ ศักยภาพในอาชีพ หมายถึง ภาวะแฝงหรืออํานาจแฝงที่มีอยูในปจจัยดําเนินการอาชีพ ไดแก ทุน บุคลากร วัสดุอุปกรณ และระบบการจัดการนํามาจัดการใหตรงกับองคประกอบความมั่นคง ในอาชีพ จะสามารถทําใหอาชีพมั่นคงและปรากฏใหประจักษได ลักษณะโครงสรางของศักยภาพในอาชีพ โครงสรางของศักยภาพในอาชีพ เปนความสัมพันธระหวางการจัดปจจัยดําเนินการของ อาชีพกับองคประกอบของการพัฒนาอาชีพใหมั่นคง มีลักษณะโครงสรางของความสัมพันธ ดังนี้
  • 10.   1. ทุน 1. การจัดการลดความเสี่ยง 2. บุคลากร ผลผลิต 3. วัสดุอุปกรณ 2. ขอตกลง/มาตรฐาน 4. การจัดการ พัฒนาอาชีพ จากแผนภูมิแสดงโครงสรางศักยภาพการขยายอาชีพสูความมั่นคง มีรายละเอียด ดังนี้ 1. ปจจัยนําเขาเพื่อการขยายอาชีพในแตละปจจัย จะมีตัวแปรรวม ดังนี้ 1.1 ทุน (1) เงินทุน (2) ที่ดิน/อาคารสถานที่ (3) ทุนทางปญญา - การสรางความสัมพันธกับลูกคา - องคความรูที่สรางขึ้น - ภาพลักษณของผลผลิตและสถานประกอบการที่จะสรางความพอใจกับลูกคา 1.2 บุคลากร (1) หุนสวน (2) แรงงาน 1.3 วัสดุอุปกรณ (1) วัตถุดิบ (2) อุปกรณเครื่องมือ 1.4 การจัดการ (1) การจัดการการผลิต (2) การจัดการการตลาด 2. การจัดองคประกอบพัฒนาอาชีพ มีปจจัยและตัวแปร ดังนี้ 1.1 องคประกอบดานการจัดการลดความเสี่ยงผลผลิต (1) ความหลากหลายทางชีวภาพ (2) การเพิ่มผลผลิต (3) การจัดการหมุนเวียนเปลี่ยนรูป (4) การจัดการรายไดใหเวียนกลับมาสูการขยายอาชีพ การจัดองคประกอบ พัฒนาอาชีพ ตรงกัน สัมพันธกัน =
  • 11. การลดตนทุน (3) การสงมอบ (4) ความปลอดภัย 3. ศักยภาพการขยายอาชีพ เปนตัวเลขบงชี้ความตรงกันหรือความสัมพันธระหวาง ปจจัยนําเขา กับ การจัดองคประกอบพัฒนาอาชีพ ดังนี้ 3.1 ประสิทธิภาพรวมของการดําเนินการขยายอาชีพ ซึ่งเปนตัวเลขผันแปร ระหวาง -1 ถึง 1 โดยมีเกณฑการประเมินดังนี้ ต่ํากวา 0.5 = การขยายอาชีพ มีศักยภาพต่ําตองแกไข สูงกวา 0.5 – 0.75 = การขยายอาชีพมีศักยภาพ สูงกวา 0.75 = การขยายอาชีพมีศักยภาพสูง 3.2 ประสิทธิภาพแตละปจจัย ตองมีคา 0.5 ขึ้นไปถึงจะยอมรับได แตถาหากต่ํากวา ก็ควรดําเนินการแกไขพัฒนา
  • 12. 3 – 5 คน ดําเนินการวิเคราะหแลวนํามาประมวลผล สรุปผล ดังนี้ 1. จัดทําตารางวิเคราะห ดังตัวอยางนี้ ปจจัยนําเขา ขยายอาชีพ องคประกอบ พัฒนาอาชีพ ทุนดําเนินการ บุคลากร วัดสุอุปกรณ การจัดการ ศักยภาพ รายขอ 1 0 -1 1 0 -1 1 0 -1 1 0 -1 1. ความหลากหลาย ทางชีวภาพ 2. การเพิ่มของผลิต 3. การหมุนเวียน เปลี่ยนรูป 4. การจัดการ รายได 5. คุณภาพ ผลผลิต 6. การลดตนทุน 7. การสงมอบ ผลผลิต 8. ความปลอดภัย ศักยภาพรวม
  • 13. – 5 คน ตรวจสอบพิจารณาความตรงกันระหวางองคประกอบพัฒนาอาชีพในแตละขอกับปจจัยนําเขา ขยายอาชีพ โดยมีเกณฑพิจารณาดังนี้ ใหคะแนน 1 หมายถึง มีความตรงกัน สัมพันธกัน ใหคะแนน 0 หมายถึง เฉย ๆ ไมมีความเห็น ใหคะแนน – 1 หมายถึง ไมตรงกัน 3. ดําเนินการประมวลผล เพื่อสรุปผลและอภิปรายผลศักยภาพการขยายอาชีพดวยการ นําผลการวิเคราะหของทุกคนมาคิดหาคาเฉลี่ย ดังตัวอยาง ปจจัยนําเขา ขยายอาชีพ องคประกอบ พัฒนาอาชีพ ทุนดําเนินการ บุคลากร วัดสุอุปกรณ การจัดการ ศักยภาพ รายขอ 1 0 -1 1 0 -1 1 0 -1 1 0 -1 1. ความหลากหลาย ทางชีวภาพ 4 - 1 3 - 2 2 3 - 4 1 - 0.50 2. การเพิ่มของผลิต 5 - - 2 3 - 2 3 - 4 1 - 0.65 3. การหมุนเวียน เปลี่ยนรูป 5 - - 2 3 - 1 4 - 4 1 - 0.60 4. การจัดการ รายได 1 4 - 2 3 - 2 3 - 4 - 1 0.40 5. คุณภาพ ผลผลิต 4 1 - 3 2 - 3 2 - 4 1 - 0.70 6. การลดตนทุน 5 - - 5 - - - 1 4 3 - 2 0.35 7. การสงมอบ ผลผลิต 1 - 4 2 - 3 1 - 4 2 - 3 -0.40 8. ความปลอดภัย 2 3 - 5 - - 3 2 - 5 - - 0.75 0.55 0.45 0.225 0.60 0.365
  • 14. 0.365 อาจบอกไดวา การขยายอาชีพมีศักยภาพไม ถึงเกณฑ (2) เมื่อพิจารณาดานปจจัยนําเขา พบวา ปจจัยดานบุคลากรและวัสดุอุปกรณมีศักยภาพ ไมถึงเกณฑ (3) เมื่อพิจารณาดานองคประกอบพัฒนาอาชีพ พบวา องคประกอบดานการจัดการ รายได การลดตนทุนและการสงมอบผลผลิตมีศักยภาพไมถึงเกณฑ (4) ผลการวิเคราะหอาจสรุปไดวา การขยายอาชีพของผูประกอบการรายนี้ มีศักยภาพ ต่ํากวาเกณฑที่กําหนดจําเปนตองทบทวนพัฒนาใหม การระบุปจจัยและองคประกอบที่มีและไมมีศักยภาพ การระบุปจจัยและองคประกอบที่มีและไมมีศักยภาพได จากการนําผลการวิเคราะหและ ประเมินศักยภาพในธุรกิจมาพิจารณาอภิปรายเหตุและผลที่นําไปสูการพัฒนา ดังขั้นตอนตอไปนี้ 1. ตรวจสอบผลการวิเคราะหองคประกอบที่มีคะแนนต่ํากวาเกณฑที่มีองคประกอบ อะไรบาง 2. พิจารณาองคประกอบที่พบวาต่ํากวาเกณฑแลวนํามาพิจารณาสภาพภายในวา ความ ตรงกับกับปจจัยนําเขาขยายอาชีพมีสภาพเปนอยางไรแลวคิดทบทวนหาเหตุ หาผล วามาจากอะไร ตัวอยางการพิจารณา ปจจัยนําเขา ขยายอาชีพ องคประกอบ พัฒนาอาชีพ ทุนดําเนินการ บุคลากร วัดสุอุปกรณ การจัดการ ศักยภาพ รายขอ 1 0 -1 1 0 -1 1 0 -1 1 0 -1 4. การจัดการรายได 1 4 - 2 3 - 2 3 - 4 - 1 0.40 จากตัวอยาง เราพบวา องคประกอบของการพัฒนาอาชีพในรายการที่ 4 เรื่อง การจัดการ รายได มีคะแนนศักยภาพ 0.40 ต่ํากวาเกณฑที่ยอมรับได จึงจําเปนที่เราตองพัฒนา ดังนั้นจึงหันมาพิจารณา ดานปจจัยนําเขาซึ่งเปนตัวที่มีภาวะแฝงสามารถทําใหอาชีพพัฒนาและปรากฏใหประจักษไดดังนี้ 1. ดานทุนดําเนินการ ที่จะใชขับเคลื่อนการจัดการรายได ขาดความชัดเจน 2. บุคลากรดําเนินการ ผูเชี่ยวชาญมองเห็นวา ไมชัดเจน 3. วัสดุอุปกรณ ผูเชี่ยวชาญมองเห็นวา ไมชัดเจน ทั้ง 3 ปจจัยสงผลตอศักยภาพการจัดการรายได จึงจําเปนตองมีการทบทวนกําหนด แนวทางพัฒนา
  • 15. และประเมินผลดังนี้ 1. ภาพรวมของศักยภาพธุรกิจอยูระดับใด 2. ศักยภาพใดบางที่ถึงเกณฑ และศักยภาพใดบางที่ไมถึงเกณฑ 3. ศักยภาพที่ไมถึงเกณฑทานมีแนวทางในการพัฒนาอยางไร
  • 16. มักจะถูกจับตามองทําตามกัน มาก สวนแบงการตลาดจึงมีขนาดเล็กลงโดยลําดับ จนถึงวันหนึ่งจะเกิดวิกฤติจึงมีความจําเปนที่จะตอง พัฒนาหรือขยายขอบขายอาชีพออกไปหรือเรียนรูทําในสิ่งที่คนอื่นทําไมได เพื่อใหอยูไดอยางมั่นคง ยั่งยืน การพัฒนาหรือขยายอาชีพ จะตองวิเคราะหและประเมินศักยภาพของธุรกิจวาอยูในตําแหนงธุรกิจ ระดับใด ดังนี้ 4 ธุรกิจตกต่ําหรือสูงขึ้นถาไมมี การพัฒนาธุรกิจจะเปนขาลง จําเปนตองขยายขอบขาย จึงมีความตองการใชนวตกรรม/ เทคโนโลยีเขามาใชงาน 3 ธุรกิจทรงตัวจะมีผูคนเขามาเรียนรูทําตาม ทําใหเกิดวิกฤติสวนแบงตลาด 2 ธุรกิจอยูในระยะสรางตัว จะมีคนจับตามองพรอมทําตาม 1 ธุรกิจระยะเริ่มตน การพัฒนา แผนภูมิการวิเคราะหตําแหนงธุรกิจ 1. ระยะเริ่มตน เปนระยะเริ่มตนของการทําธุรกิจ จึงตองมีการพัฒนาใหธุรกิจอยูได เปน ระยะที่ผูประกอบการจะตองประชาสัมพันธสินคาและบริการใหลูกคารูจัก 2. ระยะสรางตัว เปนระยะที่ธุรกิจเติบโตมาดวยดี มักจะมีคนจับตามองพรอมคําถาม 3. ระยะทรงตัว เปนระยะที่ธุรกิจอยูนิ่ง ไมมีการขยายตลาด ไมมีการพัฒนา สืบ เนื่องมาจากระยะที่ 3 ที่มีผูประกอบการอื่น ๆ ทําตาม จึงทําใหมีสวนแบงของตลาด 4. ระยะตกต่ําหรือสูงขึ้น เปนระยะที่ถาไมมีการพัฒนาธุรกิจก็จะอยูในขาลง ถามีการ พัฒนาธุรกิจจากระยะทรงตัวก็จะทําใหธุรกิจอยูในขาขึ้น การวิเคราะหศักยภาพธุรกิจบนเสนทางของเวลา เปนการวิเคราะหศักยภาพธุรกิจตามระยะเวลา กับขั้นตอนการทํางานในอาชีพ
  • 17. หมายถึง วงจรของการประกอบอาชีพ ธุรกิจ สินคาหรือบริการ ในชวงระยะเวลาหนึ่งของการดําเนินการ การวิเคราะหศักยภาพบนเสนทางของเวลา คือ การแยกแยะกระบวนการทางธุรกิจ หรือ การดําเนินการดานอาชีพหรือการประกอบอาชีพ โดยแบงตามชวงระยะเวลาดําเนินกิจกรรม และมี เปาหมาย คือ ผลการประกอบการในชวงเวลานั้น เมื่อเปรียบเทียบชวงกอนหนานี้ จัดอยูประเภทขาขึ้น หรือขาลงในตําแหนงธุรกิจ การวิเคราะหศักยภาพบนเสนทางของเวลา ใหมองเห็นความกาวหนา ความสําเร็จในแต ละภารกิจ ดวยการกําหนดกิจกรรมพรอมกํากับเวลาที่ตองใชจริง เขียนเปนผังการไหลของงานใชเฝาระวัง การดําเนินงาน การจัดทําผังการไหลของงานในแตละภารกิจ ใหกําหนดดังนี้ 1. กําหนดงาน/อาชีพออกเปนเรื่องสําคัญ 2. นํากิจกรรมออกมาจัดลําดับขั้นตอนกอนหลัง 3. นําลักษณะบงชี้ความสําเร็จออกมากําหนดเปนผลการดําเนินงาน จัดทําผังของงานในรูปแบบใดก็ไดที่ผูประกอบอาชีพมีความเขาใจดี ดังตัวอยางการปลูกมะละกอ ชวงเวลา (สัปดาห) 1 2 3 4-14 15 16-24 25 26 การบริหาร จัดการ วางแผน การผลิต เตรียม ปจจัยปลูก จัดจําหนาย สรุป ยอดขาย ขยายอาชีพ ปลูกมะละกอ การผลิต มะละกอ ทํา ปุยหมัก บํารุง ดิน ปลูก มะละกอ บํารุง รักษา เก็บเกี่ยว ปลูก มะละกอ 5 ไร
  • 18. การทํางาน มี 2 ลักษณะ คือ การบริหารจัดการและ การปลูกผัก ตองจัดผังใหเห็นการทํางานกอนหลังตั้งแตเริ่มตนจนจบ เพื่อใหมองเห็นเสนทางของการปลูก พืช เราสามารถใชผังการไหล กํากับ ดูแลการขยายอาชีพดวยการ 1. นําผังการไหลของงานติดผนังใหมองเห็น 2. ติดตามระยะเวลาตามผังการไหลของงานวา วันที่กําหนดกิจกรรมดําเนินการเสร็จ หรือไม ถาเสร็จก็ทําเครื่องหมายบอกใหรูวาเสร็จ 3. ถาไมเสร็จผูประกอบการจะตองติดตาม คนหาสาเหตุแลวปฏิบัติการแกไข ขอบกพรอง 4. ดําเนินการปรับระยะเวลาในผังการไหลของงานใหเปนความจริง ประเมินผลการกํากับ ดูแลวา มีสวนใดประสบผลสําเร็จบาง และสําเร็จไดเพราะอะไร เปนเหตุ จากนั้นดูวา สวนใดที่ไมประสบผลสําเร็จและมีอะไรเปนเหตุ นําผลทั้งความสําเร็จและความ เสียหายมาสรุปผล เพื่อนําผลกลับมาแกไขแผนกลยุทธและแผนปฏิบัติการใหมีประสิทธิภาพได กิจกรรมที่ 2 ใหผูเรียนทดลองจัดทําผังการไหลของงานการขยายอาชีพของตนเอง หรืออาชีพของผู ประสบความสําเร็จจากการประกอบอาชีพ
  • 19. เพื่อใหบรรลุเปาหมายทางการตลาดที่กําหนดไว ลักษณะบงชี้ความสําเร็จของการเรียนรู 1. กําหนดทิศทางและเปาหมายการตลาดของสินคาหรือบริการได 2. กําหนดและวิเคราะหกลยุทธสูเปาหมายการตลาดได 3. กําหนดกิจกรรมและแผนการพัฒนาการตลาดได ขอบขายเนื้อหา เรื่องที่ 1 การกําหนดทิศทางการตลาด เปาหมาย กลยุทธในการขยายอาชีพ เรื่องที่ 2 การวิเคราะหกลยุทธ เรื่องที่ 3 การกําหนดกิจกรรมและแผนการพัฒนาการตลาด
  • 20. เปาหมาย กลยุทธในการขยายอาชีพ ความคิดรวบยอด การทําธุรกิจไมวาจะทําระดับใด จําเปนตองมีทิศทางใหมองเห็นผลสําเร็จ ภาระงานที่ จะตองทําและกลยุทธสูความสําเร็จใชเปนความคิดสูการปฏิบัติจริง จะทําใหเราวางธุรกิจอยูในความพอดี อยางมีภูมิคุมกัน ไมใชทําไป คิดไป ลงทุนไป อยางไรทิศทาง ขั้นตอนการดําเนินงาน จากแผนภูมิ ทําใหมองเห็นวาการกําหนดทิศทาง กลยุทธ การขยายอาชีพ ประกอบดวย 1. การคิดเขียนทิศทางธุรกิจ ประกอบดวยวิสัยทัศนที่ตองการใหเกิดอยางมีความพอดี และ พันธกิจสําคัญที่จะนําไปสูความสําเร็จ 2. การคิดเขียนกลยุทธหรือวิธีการสรางความสําเร็จตามพันธกิจ ซึ่งจะมีเปาหมายอยางชัดเจน 3. การคิดเขียนแผนกลยุทธดวยการนําเปาหมายกลยุทธมาวิเคราะหใหมองเห็นตัวบงชี้ ความสําเร็จ ปจจัยนําเขาที่สําคัญ และกิจกรรมที่จําเปนตองทําเปนแผนทิศทางไปสูความสําเร็จของการ ดําเนินธุรกิจ 1. ทิศทางธุรกิจ 2. เปาหมาย 3. แผน วิสัยทัศน พันธกิจ กลยุทธ แผนกลยุทธ 1 2 3
  • 21. อยางไร ซึ่งประกอบดวย ขอความวิสัยทัศนวาจะไปถึงไหน และ ขอความพันธกิจวาจะไปอยางไร โดยมีวิธีการคิดและเขียนดังนี้ 1.1 การเขียนขอความวิสัยทัศน การขยายอาชีพ มีลักษณะโครงสรางการเขียนที่ประกอบดวย ก. ชวงระยะเวลาที่เราไปสุดทางของการขยายอาชีพในชวงนี้ จะเปนระยะเวลากี่ปพ.ศ.อะไร ข. ความคิด เปาหมาย ลักษณะความสําเร็จที่เราจะไปถึงอยางมีความพอดี และทาทาย ความสามารถของเรา คืออะไร จากขอความวิสัยทัศน ตัวอยางขางตน สามารถจําแนกใหมองเห็นโครงสรางการเขียนไดดังนี้ ก. ชวงระยะเวลาที่จะไปสุดทาง คือ ป พ.ศ. 2551 ข. ขอความ ความคิดลักษณะความสําเร็จที่จะไปถึงอยางมีความพอดีและทาทาย คือไรทน เหนื่อยสามารถผลิตผักสด ผลไม เกษตรอินทรียเขาสูตลาดคุณภาพประเทศสิงคโปรได จึงอาจสรุปไดวาการกําหนดวิสัยทัศนไมใชเปนการกําหนดเพื่อความนาสนใจแตเปนการ กําหนดใหมองเห็นทิศทางของธุรกิจที่เราจะตองฝาฟนอุปสรรคตางๆ ไปใหถึงได 1.2 การเขียนพันธกิจ การเขียนขอความพันธกิจเปนการดําเนินการตอเนื่องจากการกําหนด วิสัยทัศน วา เราจะตองมีภารกิจที่สําคัญ อะไรบาง ที่เราทําใหการขยายอาชีพบรรลุผลสําเร็จ ไดตามวิสัยทัศน โดยมีแนวทางการคิดและเขียนดังนี้ 1.2.1 การวิเคราะหวา หากจะใหเกิดความสําเร็จตามวิสัยทัศน จะตองมีพันธกิจอะไรบาง ในทางธุรกิจมีภาระที่สําคัญ 4 ประการ คือ ก. ภารกิจดานทุนดําเนินการ ข. ภารกิจดานลูกคา ค. ภารกิจดานผลผลิต ง. ภารกิจดานการเรียนรูพัฒนาตนเองและองคกร ดังนั้น การดําเนินการขยายอาชีพอาจใชพันธกิจทั้ง 4กรณีมาคิดเขียนพันธกิจนําไปสูความสําเร็จได 1.2.2 โครงสรางการเขียนพันธกิจมีองคประกอบรวม 3 ดาน คือ ก. ทําอะไร (บอกภาระสําคัญที่กระทบตอความสําเร็จ) ข. ทําไมตองทํา (บอกเหตุผลหรือจุดประสงค) ค. ทําอยางไร (บอกวิธีดําเนินการที่สําคัญ และสงผลตอความสําเร็จจริง) ตัวอยางขอความวิสัยทัศน “ พ.ศ. 2551 ไรทนเหนื่อยผลิตผักสดผลไมเกษตรอินทรียเขาสูตลาดคุณภาพประเทศสิงคโปร
  • 22. ทําอยางไร 1. ขยายพื้นที่การผลิต 20 ไร เพื่อใชผลิตผักสดอินทรีย โดยการพัฒนาคุณภาพดินดวยปุย พืชสด เพิ่มแรงงาน 10 คน จัดหา น้ําวันละ 300 ลูกบาศกเมตร 2. สรางความเชื่อถือใหกับลูกคา เพื่อใหลูกคามั่นใจวาไดบริโภค อาหารคุณภาพ สะอาด ปลอดภัย ดวยการจัดทําเว็บไซดของตนเอง จัดทําสารคดีเผยแพรสัปดาหละ 1 เรื่อง และเว็บบอรดแลกเปลี่ยน เรียนรูกับลูกคา 3. ยกระดับคุณภาพผลผลิตให เปนไปตามมาตรฐานเกษตร อินทรียยุโรป เพื่อใหสามารถสงออกไปสู ประเทศสิงคโปรได ดวยการพัฒนาดินไมใหปนเปอน โลหะหนักตามมาตรฐานพัฒนา ระบบนิเวศแปลงเกษตรใหเปน ระบบนิเวศธรรมชาติ 4. พัฒนาคนงานใหทํางานตาม ขั้นตอนได เพื่อใหสามารถติดตามหา ขอบกพรองและปฏิบัติการแกไข ขอบกพรองได ดวยการสรางความตระหนักให เห็นความสําคัญของมาตรฐาน คุณภาพผลผลิตและรวมเขียน เอกสารขั้นตอนการทํางาน ตัวอยางขอความภารกิจของไรทนเหนื่อย 1. ขยายพื้นที่การผลิต 20 ไร เพื่อใชผลิตผักสดอินทรีย ดวยการพัฒนาคุณภาพดินดวยปุยพืชสด เพิ่มแรงงาน 10 คน จัดหาน้ําใหไดวันละ 300 ลูกบาศกเมตร 2. สรางความเชื่อถือใหกับลูกคา เพื่อขยายการตลาดดวยการจัดทําเว็บไซดของตนเอง จัดทําสารคดี เผยแพร สัปดาหละ 1 เรื่อง และเว็บบอรดแลกเปลี่ยนเรียนรูกับลูกคาและผูสนใจ 3. ยกระดับคุณภาพผลผลิตใหเปนไปตามมาตรฐานเกษตรอินทรียยุโรป เพื่อใหสามารถสงออก ตางประเทศได ดวยการพัฒนาคุณภาพดินไมใหปนเปอนโลหะหนัก และจัดการแปลงเกษตรให เปนระบบนิเวศธรรมชาติ 4. พัฒนาคนงานใหทํางานตามขั้นตอน เพื่อติดตามหาขอบกพรองและปฏิบัติการแกไข ขอบกพรองไดดวยการสรางความตระหนักใหเห็นความสําคัญของมาตรฐานคุณภาพ และรวม เขียนเอกสารขั้นตอนการทํางาน
  • 23. ตอง ทําอยางไรใหมองเห็นรูปธรรมของการขยายอาชีพที่กาวออกไปขางหนา 2. การกําหนดเปาหมายการตลาด เปาหมายการตลาดเพื่อการขยายอาชีพ คือ การบอกใหทราบวา สถานประกอบการนั้น สามารถทําอะไรไดภายในระยะเวลาเทาใด ซึ่งอาจจะกําหนดไวเปนระยะสั้น หรือระยะยาว 3 ป หรือ 5 ป ก็ได การกําหนดเปาหมายของการขยายอาชีพตองมีความชัดเจนสามารถวัดและประเมินผลได การ กําหนดเปาหมายหากสามารถกําหนดเปนจํานวนตัวเลขไดก็จะยิ่งดี เพราะทําใหมีความชัดเจนจะชวยให การวางแผนมีคุณภาพยิ่งขึ้น และจะสงผลในทางปฏิบัติไดดียิ่งขึ้น 3. การกําหนดกลยุทธ การที่จะขยายอาชีพใหบรรลุตามวิสัยทัศน ตองมีแนวทางปฏิบัติสูความสําเร็จ เพื่อชัย ชนะเราเรียกวา กลยุทธ ดังนั้นการกําหนดกลยุทธเพื่อใหการขยายอาชีพสูความสําเร็จจึงกําหนดกลยุทธ จากภารกิจที่จะทําทั้ง 4 ดานตามแนวคิดดังนี้ นําขอความพันธกิจในสวนทําอยางไรมาพิจารณาวามีกิจกรรมที่จะตองทําอะไรบาง 3.1 คิดพิจารณาวา กิจกรรมใดเปนกิจกรรมที่ยุงยากและเปนแกนหลักสําคัญของความสําเร็จใน ภารกิจนี้ จะตองใชเทคนิควิธีอะไรเขามาเปนกลยุทธในการทํางานดังตัวอยาง กิจกรรม สรุปผลการพิจารณา ลําดับ ความสําคัญ เทคนิควิธีการที่จะใช เปนกลยุทธ 1. พัฒนาคุณภาพดิน ดวยปุยพืชสด เปนกิจกรรมที่ตองทํากรอบการ ผลิตเปนระยะๆ อยางตอเนื่อง 1 ใชจอบหมุนฟนดินและ วัชพืชเขาดวยกัน 2. เพิ่มแรงงาน 10 คน เพียงประกาศรับสมัครแลวชี้แจงให ทํางานตามขั้นตอน 3 - 3. จัดน้ําเพิ่มวันละ 300 ลูกบาศกเมตร วาจางผูรับเหมา สํารวจ เจาะหาน้ํา ทําเสร็จแลวก็ใชไดเลย 2 - ตัวอยาง การพิจารณาในสวน ทําอยางไรของพันธกิจที่ 1 มีกิจกรรมที่ตองทําดังนี้ 1. พัฒนาคุณภาพดินดวยปุยพืชสด 2. เพิ่มแรงงาน 10 คน 3. จัดใหมีน้ําใชเพิ่มวันละ 300 ลูกบาศกเมตร
  • 24. และเปาหมายกลยุทธดวยการนําผลการวิเคราะหกําหนดเทคนิควิธีการมา เปนกลยุทธ และนําขอความสวนที่บอกวาทําอะไรมาเปนเปาหมายกลยุทธ ดังตัวอยางนี้ 3.2.1 กลยุทธดําเนินการคือ การใชจอบหมุนพัฒนาคุณภาพดิน 3.2.2 เปาหมายกลยุทธคือ การพัฒนาคุณภาพดิน 20 ไร ตัวอยางผลการพิจารณากําหนดกลยุทธขยายอาชีพเกษตรอินทรียของไรทนเหนื่อยดังนี้ ผลการพิจารณาขอความทํา อยางไร และกําหนดเทคนิควิธีใน กิจกรรมที่สําคัญสงผลตอ ความสําเร็จของภารกิจ ขอความภารกิจในสวน ทํา อยางไร นํามาใชกําหนด เปาหมายกลยุทธ ขอความกลยุทธสูความสําเร็จ ของการขยายอาชีพ 1. ใชจอบหมุนพัฒนาคุณภาพ ดิน ขยายพื้นที่การผลิต 20 ไร ใชจอบหมุนพัฒนาคุณภาพดิน ในการขยายพื้นที่การผลิตจํานวน 20 ไร 2. ใชเว็บไซดเผยแพร สรางความเชื่อถือใหกับลูกคา ใชเว็บไซดเผยแพรความรูเกษตร อินทรีย ความเขาใจทาง อินเตอรเน็ต 3. ใชองคความรูระบบนิเวศ ธรรมชาติ พัฒนาระบบนิเวศ แปลงเกษตร ยกระดับคุณภาพผลผลิตใหได ตามมาตรฐานคุณภาพเกษตร อินทรียยุโรป ใชองคความรูระบบนิเวศ ธรรมชาติยกระดับคุณภาพ ผลผลิตเขาสูมาตรฐานเกษตร อินทรียยุโรป 4. พัฒนาคณะทํางานใหรูเทากัน พัฒนาคนงานใหทํางานตาม ขั้นตอนได ใชเทคนิคการบริหารคุณภาพให คณะทํางานรูเทาทันกัน รวมกัน ทํางานตามขั้นตอนได
  • 25. 16 ตาราง บรรจุเงื่อนไขสูความสําเร็จไวสําหรับจัดทําแผนปฏิบัติการ และควบคุมภาพรวมของ การดําเนินงาน ก. องคประกอบดานเหตุผลสูความสําเร็จของการขยายอาชีพประกอบดวย (1) ดานการลงทุน (2) ดานลูกคา (3) ดานผลผลิต (4) ดานการเรียนรูพัฒนาตนเอง ข. องคประกอบดานการควบคุมเชิงกลยุทธประกอบดวย (1) เปาหมายกลยุทธ (2) ตัวบงชี้ความสําเร็จ (3) ปจจัยนําเขาดําเนินงาน (4) กิจกรรม / โครงการที่ตองทํา 3.1 การเขียนแผนกลยุทธทั้งหมดจะตองบรรจุอยูในเอกสารหนาเดียว เพื่อใหมองเห็น ความสัมพันธรวมระหวางตารางทั้ง 16 ตารางดังตัวอยาง ตัวอยางแผนกลยุทธ วิสัยทัศน “ป พ.ศ. 2551 ไรทนเหนื่อยผลิตผักสด ผลไมเกษตรอินทรียเขาสูตลาดอาหารคุณภาพ ประเทศสิงคโปรได
  • 26. ภารกิจดานผลผลิต ภารกิจดานการ พัฒนาตนเอง เปาหมายกลยุทธ ขยายพื้นที่การผลิต 20 ไร สรางความเชื่อถือใหกับ ลูกคา ยกระดับคุณภาพ ผลผลิตใหไดตาม มาตรฐานการเกษตร อินทรียยุโรป พัฒนาคนงานใหทํางาน ตามขั้นตอนได ตัวบงชี้ความสําเร็จ - พัฒนาคุณภาพเปนดิน อินทรียครบ 20ไร - โครงสรางดินเปนเมล็ดกลม สีน้ําตาล - ยอดสั่งซื้อเพิ่มขึ้นจนเต็ม ปริมาณการผลิต - ลูกคาเขามาแลกเปลี่ยน ความเขาใจเกษตรอินทรีย ในเว็บเพจ - ผลการวิเคราะห ผลผลิตไมพบธาตุ โลหะหนักที่ระบุใน มาตรฐาน - ปราศจาก จุลินทรียบูดเนา - คนงานยึดการทําตาม เอกสารคูมือดําเนินงาน - คนงานรูเทาทันกัน ปจจัยนําเขา ดําเนินงาน - จอบหมุนขนาดหนากวาง 120 ซม. - เมล็ดพันธุปุยพืชสด - จุลินทรีย พด.1 พด.2 และ พด.3 - สารคดีการผลิตเกษตร อินทรียไรทนเหนื่อยภาค ภาษาอังกฤษและไทย เมล็ดพันธุ ออกานิค - เอกสารขั้นตอนการ ทํางาน - เอกสารตรวจติดตาม คุณภาพ กิจกรรมโครงการ - กิจกรรมการพัฒนาดินดานปุย พืชสด - สํารวจขุดเจาะบอน้ําบาดาล ขนาด 300 ม3 /วัน - จัดทําสารคดีความรูและ แสดงผลงานเกษตรอินทรีย เดือนละ 1 เรื่อง - ติดตั้งเว็บไซด - จายแจก DVD ความรู เกษตรอินทรียไรทนเหนื่อย - ผลิตเมล็ดพันธุพืชผัก ตัวที่สามารถทําได - ฝกอบรมการทํางาน รวมกัน เพื่อใหมี ความสามารถเทาทันกัน - จัดทําเอกสารขั้นตอน การทํางานในแตละ กิจกรรม - ฝกการใชเอกสาร ขั้นตอนการทํางาน จากตัวอยาง ทําใหมองเห็นสาระสําคัญที่เปนเหตุเปนผลตอความสําเร็จของการขยาย อาชีพเกษตรอินทรียไรทนเหนื่อย
  • 27. ธุรกิจ ตองเริ่มดวยการศึกษาความตองการที่แทจริงของลูกคา จากนั้นจึงทําการสรางสินคาหรือบริการที่ทําให ลูกคาเกิดความพอใจสูงสุดดวยการคํานึงถึงในเรื่องตอไปนี้ 1. กิจกรรมการพัฒนาสินคาใหตรงกับความตองการของลูกคา 2. กิจกรรมดานราคาผูผลิตตองกําหนดราคาที่เหมาะสมกับกําลังซื้อของผูบริโภค และ เหมาะสมกับคุณภาพของสินคา 3. กิจกรรมดานสถานที่ ตองคิดวาจะสงของสินคาใหกับผูบริโภคไดอยางไร หรือตองมี การปรับสถานที่ขาย ทําเลที่ตั้งขายสินคา 4. กิจกรรมสงเสริมการขาย จะใชวิธีการใดที่ทําใหลูกคารูจักสินคาของเรา การวางแผนพัฒนาการตลาด ผูผลิตตองนํากิจกรรมตาง ๆ มาวางแผนเพื่อพัฒนาตลาด เพื่อนําสูการปฏิบัติ ดังตัวอยาง แผนพัฒนาการตลาดสินคาผงซักฟอก ที่ กิจกรรมที่ตองดําเนินการ แผนการพัฒนาการตลาด ป 2554 ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. 1 2 3 4 5 กําหนดทิศทางการพัฒนา การตลาด - วิสัยทัศน - พันธกิจ กําหนดเปาหมายการตลาด กําหนดกลยุทธสูเปาหมาย วิเคราะหกลยุทธ ดําเนินการ - การโฆษณา - การประชาสัมพันธ - การทําฐานขอมูลลูกคา - การสงเสริมการขาย - การกระจายสินคา ฯลฯ
  • 28. กลยุทธในการขยายอาชีพ และกําหนดกิจกรรม และวางแผนการพัฒนาตลาดสินคาของผูเรียนหรือสินคาที่สนใจ ลงในตารางที่กําหนดขึ้น 1. ทิศทางธุรกิจในการขยายอาชีพ.................................................................................... ..................................................................................................................................................................... 2. เปาหมายธุรกิจในการขยายอาชีพ................................................................................ ..................................................................................................................................................................... 3. กลยุทธในการขยายอาชีพ............................................................................................. ..................................................................................................................................................................... กิจกรรมและแผนการพัฒนาการตลาด อาชีพ/สินคา.......................................................................... ที่ กิจกรรมที่ตองดําเนินการ แผนการพัฒนาการตลาด ป 2554 ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค.
  • 29. กําหนดแผนกิจกรรม เปนการพัฒนาระบบการผลิตหรือการบริการ ลักษณะบงชี้ความสําเร็จของการเรียนรู 1. อธิบายการกําหนดคุณภาพผลผลิตหรือการบริการ 2. สามารถวิเคราะห ทุนปจจัยการผลิตหรือการบริการ 3. กําหนดเปาหมายการผลิตหรือการบริการ 4. กําหนดแผนกิจกรรมการผลิต 5. พัฒนาระบบการผลิตหรือการบริการ ขอบขายเนื้อหา 3.1 การกําหนดคุณภาพผลผลิตหรือการบริการ 3.2 การวิเคราะหทุนปจจัยการผลิตหรือการบริการ 3.3 การกําหนดเปาหมายการผลิตหรือการบริการ 3.4 การกําหนดแผนกิจกรรมการผลิต 3.5 การพัฒนาระบบการผลิตหรือการบริการ
  • 30. 2 ซึ่งมีการกําหนดทิศทาง เปาหมาย กล ยุทธทางการตลาดแลว ดังนั้นในหนวยนี้จะเปนการกําหนดคุณภาพผลผลิตหรือการบริการใหสอดคลอง กับความตองการของตลาดขึ้นอยูกับเปาหมาย คือ ลูกคา เปนกลุมใด วัยใด เพศใด อาชีพใด มีระดับ การศึกษาใด การกําหนดคุณภาพผลผลิต ความหมายของคุณภาพ ความหมายของคุณภาพ ถูกกําหนดขึ้นตามการใชงานหรือตามความคาดหวังของผู กําหนด เชน มีความเหมาะสมกับการใชงาน มีความทนทาน ใหผลตอบแทนสูงสุด บริการดีและ ประทับใจหรือเปนไปตามมาตรฐานที่ตั้งใจไว แบงเปน 2 ลักษณะ ดังนี้ 1. คุณภาพตามหนาที่ หมายถึง ประสิทธิภาพการทํางาน ความเหมาะสมในการใชงาน ความทนทาน เชน พัดลมเครื่องนี้มีมอเตอรที่สามารถใชไดอยางตอเนื่องถึง 24 ชั่วโมง 2. คุณภาพตามลักษณะภายนอก หมายถึง รูปรางสวยงาม สีสันสดใส เรียบรอย เหมาะ กับการใชงาน โครงสรางแข็งแรง ผลิตภัณฑสวนใหญมักเนนคุณภาพภายนอก โดยเนนที่สีสันสดใส หรือรูปลักษณใหโดดเดนเพื่อดึงดูดความสนใจของผูซื้อ ในอดีตคุณภาพมักจะถูกกําหนดขึ้นจากความตองการของผูผลิต แตปจจุบันสภาพการ แขงขันในตลาด มีมาก หากคุณภาพไมตรงกับความตองการของผูซื้อ การผลิตสินคาและบริการก็อาจจะ ตองลมเลิกกิจการไป ดังที่ไดเกิดขึ้นมาในปจจุบัน สินคาบางประเภทแขงขันกันที่คุณภาพ บางประเภท แขงขันกันที่ราคาแตบางประเภทแขงขันกันที่ความแปลกใหม ดังนั้นการผลิตหรือใหบริการใดๆ จะตองมี การศึกษาสภาพตลาดอยางรอบคอบ เพื่อกําหนดคุณภาพ ขั้นตอนการกําหนดคุณภาพ การกําหนดคุณภาพมีความสําคัญอยางยิ่ง เพราะการกําหนดคุณภาพไมไดกําหนดจาก บุคคลใด บุคคลหนึ่ง หรือกลุมคน หรือสถาบันเทานั้น แตการกําหนดคุณภาพตองคํานึงถึงคนหลายกลุม หลายสถาบัน การกําหนดคุณภาพสินคาและบริการ มีขั้นตอนดําเนินการ 3 ขั้นตอน ไดแก 1. การศึกษาความตองการของผูใชสินคาและบริการอยางกวางขวางและครอบคลุมผูซื้อ หรือผูใชบริการที่มีความหลากหลาย 2. การออกแบบผลิตภัณฑหรือพัฒนาผลิตภัณฑใหสอดคลองกับความตองการที่ศึกษา มาอยางจริงจัง 3. จัดระบบการผลิตและควบคุมระบบการผลิตใหไดผลผลิตที่มีคุณภาพ
  • 31. หรือการดําเนินการเพื่อประโยชนของผูอื่น การบริการที่ดี ผูรับบริการก็จะไดรับความประทับใจ และชื่นชมองคกร ซึ่งเปนสิ่งดีสิ่งหนึ่งอันเปนผลดี กับองคกรของเรา เบื้องหลังความสําเร็จเกือบทุกงาน มักพบวางานบริการเปนเครื่องมือสนับสนุนงาน ดานตาง ๆ เชน งานประชาสัมพันธ งานบริการวิชาการ เปนตน ดังนั้น ถาบริการดี ผูรับบริการเกิดความ ประทับใจ เกิดภาพลักษณที่ดีตอองคกร (อาศยา โชติพานิช. ออนไลน, 2533) คุณภาพของงานบริการ (Service Quality) ปจจัยที่บงชี้คุณภาพของการบริการ ไดแก 1. สามารถจับตองได โดยปกติบริการเปนสิ่งที่จับตองไมได ทําใหการรับรูในคุณภาพ คอนขางไมชัดเจน ดังนั้น บริการที่ดีควรสรางหลักฐานใหเห็นชัดเจนวา บริการนั้นมีคุณภาพหลักฐานที่ จะสรางนั้น ไดแก อาคาร อุปกรณ เครื่องอํานวยความสะดวก และบุคลากร เชน การจัดที่นั่งคอยการ บริการ การบริการอยางดี 2. นาเชื่อถือ ในที่นี้หมายถึง ความถูกตองในการคิดคาบริการ รานอาหารที่คิดราคาตรง กับจํานวนอาหารที่ลูกคาสั่ง ลูกคายอมใหความเชื่อถือ และจะกลับไปรับประทานอาหารที่รานนั้นอีก ตรงกันขามกับรานอาหารที่คิดเงินเกินกวาความเปนจริง ยอมทําใหลูกคาหมดความเชื่อถือ และไม กลับไปใชบริการที่รานอาหารนั้นอีก เปนตน 3. มีความรู ผูใหบริการที่มีคุณภาพตองเปนผูมีความรูในเรื่องนั้น เชน ชางซอมรองเทา ตองมีความรูในเรื่องการซอมรองเทา ทาทางขณะซอมรองเทา ตองดูวามีความสามารถ มีความ กระฉับกระเฉง คลองแคลว ซึ่งทําใหผูเอารองเทาไปซอมเกิดความมั่นใจ เปนตน 4. มีความรับผิดชอบ ตัวอยางเชน อูซอมรถยนตสัญญากับลูกคาวา จะซอมรถยนตให เสร็จภายใน 3 วัน อูแหงนั้นจะตองทําใหเสร็จภายในเวลา 3 วัน ชางซอมทีวีที่ซอมผิด ทําใหทีวีเสีย ตอง รับผิดชอบใหอยูในสภาพที่ดี โดยไมปดความผิดใหเจาของทีวี 5. มีจิตใจงาม ผูใหบริการที่มีคุณภาพตองเปนผูมีจิตใจงาม จึงจะเปนผูกระตือรือรนใน การใหบริการผูอื่น เต็มใจชวยเหลือโดยไมรังเกียจ กิจกรรมที่ 1 ใหผูเรียนกําหนดคุณภาพผลผลิตหรือการบริการที่สอดคลองกับความตองการของกลุมลูกคาของ อาชีพที่ผูเรียนดําเนินการหรืออาชีพที่สนใจลงในแบบบันทึก
  • 32. หมายถึง เงินลงทุนในการดําเนินงานธุรกิจ(ผลิตหรือบริการ) ทุนถือวาเปนปจจัยสําคัญในการประกอบกิจการอาชีพใหดําเนินงานไปอยางมีประสิทธิภาพ และมีความเจริญเติบโตอยางตอเนื่อง ตนทุนการผลิต หมายถึง ทุน ในการดําเนินกิจการ แบงได 2 ประเภท คือ 1. ทุนคงที่ คือการที่ผูประกอบการจัดหาทุน เพื่อใชในการจัดหาสินทรัพยถาวร เชน ดอกเบี้ยเงินกู ที่ดิน อาคาร เครื่องจักร เปนตน ทุนคงที่ สามารถแบงได 2 ลักษณะ คือ 1.1 ทุนคงที่ที่เปนเงินสด เปนจํานวนเงินที่ตองจายเปนคาดอกเบี้ยเงินกู เพื่อนํามาใช ในการดําเนินงานธุรกิจ 1.2 ทุนคงที่ที่ไมเปนเงินสด ไดแก พื้นที่ อาคารสถานที่ โรงเรือน รวมถึงคาเสื่อม ของเครื่องจักร 2. ทุนหมุนเวียน คือ การที่ผูประกอบการจัดหาทุน เพื่อใชในการดําเนินการจัดหา สินทรัพยหมุนเวียนเชนวัตถุดิบในการผลิตผลผลิตหรือการบริการวัสดุสิ้นเปลืองคาแรงงานคาขนสงคา ไฟฟาคาโทรศัพท เปนตน ทุนหมุนเวียนแบงออกเปน 2 ลักษณะ คือ 2.1 ทุนหมุนเวียนที่เปนเงินสด ไดแก 2.1.1 คาวัสดุอุปกรณในการประกอบอาชีพ ดังนี้ 1) วัสดุอุปกรณอาชีพในกลุมผลิตผลผลิต เชน งานอาชีพเกษตรกรรม เชน คา ปุย พันธุพืช พันธุสัตว คาน้ํามัน เปนตน 2) วัสดุอุปกรณอาชีพในกลุมบริการ เชน อาชีพรับจางซักรีดเสื้อผา เชน คา ผงซักฟอก คาน้ํายาซักผา เปนตน 2.1.2 คาจางแรงงาน เปนคาจางแรงงานในการผลิตหรือบริการ เชน คาแรงงานใน การไถดิน คาจางลูกจางในรานอาหาร 2.1.3 คาเชาที่ดิน/สถานที่ เปนคาเชาที่ดิน/สถานที่ในการประกอบธุรกิจ 2.1.4 คาใชจายอื่นๆ เปนคาใชจายในกรณีอื่นที่นอกเหนือจากรายการตาง ๆ 2.2 ทุนหมุนเวียนที่ไมเปนเงินสด ไดแก คาใชจายในครัวเรือน เปนแรงงานในครัวเรือนสวนใหญ ในการประกอบการ ธุรกิจจะไมนํามาคิดเปนตนทุน จึงไมทราบขอมูลการลงทุนที่ชัดเจน โดยการคิดคาแรงในครัวเรือน กําหนดคิดในอัตราคาแรงขั้นต่ําของทองถิ่นนั้นๆ
  • 33. การบริหารเงินทุนหรือดานการเงินนั้น เปนสิ่งที่ ผูประกอบการตองใหความสําคัญเปนอยางมาก เพราะมีผลตอความมั่นคงของอาชีพวาจะกาวหนาหรือ ลมเหลวได ดังนั้น การใชทุนแตละชนิดตองผานการวิเคราะหวา จะตองใชชนิดใด คุณภาพอยางไร ปริมาณเทาไร จึงจะเหมาะสมกับอาชีพ กิจกรรมที่ 2 ใหผูเรียนกําหนดปจจัยการผลิต พรอมวิเคราะหถึงเหตุผลในการใชปจจัยแตละชนิดในงานอาชีพ ที่ผูเรียนดําเนินการเองหรืออาชีพที่สนใจ ปจจัยการผลิต เหตุผลในการใชปจจัยนั้น ๆ รายการ จํานวน

กระทู้ที่เกี่ยวข้อง

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

แปลภาษาไทย ไทยแปลอังกฤษ โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน lmyour แปลภาษา ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv แปลภาษาอาหรับ-ไทย แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip แอพแปลภาษาอาหรับเป็นไทย ค้นหา ประวัติ นามสกุล ห่อหมกฮวกไปฝากป้า หนังเต็มเรื่อง ไทยแปลอังกฤษ ประโยค Terjemahan เมอร์ซี่ อาร์สยาม ล่าสุด แปลภาษาจีน กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น ่้แปลภาษา Google Translate ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย พร บ ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 วิธีใช้มิเตอร์วัดไฟดิจิตอล สหกรณ์ออมทรัพย์กรมส่งเสริมการปกครอง ส่วนท้องถิ่น ห่อหมกฮวก แปลว่า Bahasa Thailand Thailand translate mu-x มือสอง รถบ้าน การวัดกระแสไฟฟ้า ด้วย แอมมิเตอร์ การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 4 ก่อนจะนิ่งก็ต้องกลิ้งมาก่อน เนื้อเพลง ก่อนจะนิ่งก็ต้องกลิ้งมาก่อน แคปชั่น พจนานุกรมศัพท์ทหาร ภูมิอากาศ มีอะไรบ้าง สถาบันพัฒนาบุคลากรท้องถิ่น อาจารย์ ตจต อเวนเจอร์ส ทั้งหมด เขียน อาหรับ แปลไทย ใบรับรอง กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน Google map Spirited Away 2 spirited away ดูได้ที่ไหน tor คือ จัดซื้อจัดจ้าง กินยาคุมกี่วัน ถึง ปล่อยในได้ ธาตุทองซาวด์เนื้อเพลง บช.สอท.ตำรวจไซเบอร์ ล่าสุด บบบย มิติวิญญาณมหัศจรรย์ ตอนจบ รหัสจังหวัด อําเภอ ตําบล ศัพท์ทางทหาร military words สอบ O หยน