ก ศลม ล และ อก ศลม ล ในร ปของแผนภ ม

1•1•.(ข•นG้นั•กัaคเt•รดิhยีวeน•เิrคแinร•ตgาล่ )ะ•ะหกแ์•ลลุม่ •ะรสว่ •รมปุ ก•คันวว•าิเคม•รราู้ ะ•(หP•์ rอoภ•cปิe•รsาsยi•nแg•)ละแสดงความคิดเหน็ เก่ยี วกับผลการทากจิ กรรม

โดยรว่ มกนั ตอบคาถามหลังทากจิ กรรม ดงั นี้ 11.1 เพราะเหตุใดลมบกและลมทะเลจึงต้องเกิดท่บี ริเวณชายทะเล (เปน็ ลมเฉพาะถ่ินท่เี กดิ จากความแตกต่างของอุณหภมู ขิ องพนื้ ดนิ และอณุ หภูมิของนา้ ทะเล) 11.2 ทิศทางการเคลื่อนที่ของลมบกและลมทะเลแตกต่างกนั อย่างไร (ลมบกเกดิ เวลากลางคนื พดั ออกจากชายฝัง่ ไปสู่ทะเล ส่วนลมทะเลเกิดเวลากลางวนั พัดจากทะเลเขา้ สชู่ ายฝ่งั ) 11.3 สรุปผลการทากิจกรรมได้วา่ อยา่ งไร (อทิ ธิพลของภมู ปิ ระเทศและความเปลีย่ นแปลงของความดันของอากาศทาใหเ้ กิดลมทอ้ งถน่ิ ขึน้

ลมท้องถิ่นก็คอื ลมบกและลมทะเล ลมบกและลมทะเล เปน็ ลมทเี่ กิดจากความแตกตา่ งของอุณหภูมิของอากาศเหนือพืน้ ดินและพืน้ นา้

เปน็ ลมท่พี ัดประจาวนั ) 11.4 มนษุ ย์ใชป้ ระโยชน์จากลมบกและลมทะเลในเรื่องใด (การทาประมงดว้ ยเรือขนาดเลก็ อาศัยลมบกชว่ ยเดินทางออกไปทาประมงในเวลากลางคืน

และอาศัยลมทะเลพัดเข้าชายฝัง่ ในเวลาเช้า) 12. นกั เรียนแต่ละกลมุ่ รว่ มกันคิดวเิ คราะห์เพม่ิ เติม เพื่อเสริมสรา้ งสมรรถนะด้านการคิด

โดยรว่ มกันตอบคาถาม ดังนี้ 12.1 ดินกบั นา้ ดดู กลืนและคายความร้อนได้แตกตา่ งกันหรือไม่ อยา่ งไร (ดนิ กับนา้ ดดู กลืนและคายความรอ้ นได้แตกต่างกัน คือ ดินดูดกลืนและคายความร้อนได้ดกี วา่ น้า) 12.2 ความสามารถในการคายความร้อนของวัตถหุ นึ่ง ๆ มคี วามสัมพันธก์ บั ความสามารถในการ

ดูดกลืนความร้อนของวตั ถนุ ั้น ๆ หรอื ไม่ อย่างไร (มคี วามสมั พนั ธก์ ัน คือ ความสามารถในการคายความรอ้ นเป็นไปตามความสามารถในการดดู กลนื

ความร้อน เชน่ ของแข็งดูดกลืนความร้อนได้ดีกวา่ ของเหลว ของแข็งก็สามารถคายความร้อนไดด้ ีกว่าของเหลวด้วย) 12.3 ลมบก ลมทะเลเกดิ ไดอ้ ย่างไร (ลมทะเลเกดิ ข้ึนในฤดรู ้อนตามชายฝง่ั ทะเลในเวลากลางวนั เมือ่ พน้ื ดินไดร้ บั ความร้อนจาก

ดวงอาทติ ยจ์ ะมีอุณหภมู ิสงู กวา่ พืน้ น้า และอากาศเหนือพน้ื ดนิ ได้รบั ความร้อนจะขยายตัวลอยขึ้นสู่เบือ้ งบน อากาศเหนอื พนื้ น้าซึ่งเยน็ กวา่ จะไหลเขา้ ไปแทนทเ่ี กดิ ลมพัดเขา้ หาฝั่ง เรียกวา่ ลมทะเล สว่ นลมบกเกิดขึ้นใน เวลากลางคืน เมื่อพนื้ ดนิ คายความร้อนโดยการแผร่ งั สี จะคายความร้อนออกได้เร็วกว่าพน้ื นา้ ทาให้มีอุณหภมู ิ ตา่ กว่าพนื้ น้า อากาศเหนอื พ้นื นา้ ซ่ึงรอ้ นกว่าพน้ื ดนิ จะลอยตัวขึน้ สู่เบ้อื งบน อากาศเหนือพื้นดินซึ่งเย็นกว่า จะไหลเขา้ ไปแทนที่เกดิ เป็นลมพดั จากฝัง่ ไปสู่ทะเล เรียกว่า ลมบก)

13. นักเรยี นแต่ละกลุ่มรว่ มกันวเิ คราะห์ และเปรียบเทยี บ ลมบก ลมทะเล แลว้ สรุปเป็นความคิดรวบยอด โดยเขียนเป็นแผนภาพความคิด

(ตัวอยา่ งแผนภาพความคิด)

ลมบก ลมทะเล

• ลมทพ่ี ัดจากฝงั่ สู่ทะเล เกดิ จากพื้นดิน • ลมที่พัดจากทะเลสู่ฝ่ัง • เกดิ ในเวลากลางคนื และพน้ื น้า • เกิดในเวลากลางวนั • อณุ หภมู ิพ้ืนดินต่ากวา่ มอี ุณหภูมิ • อุณหภมู ิพื้นดนิ สงู กวา่ พน้ื นา้ แตกต่างกนั พืน้ นา้

แผนภาพความคิด เปรียบเทียบ ลมบก ลมทะเล

14. นกั เรียนแตล่ ะกลุม่ ร่วมกันสรปุ ผลการทากจิ กรรมและสรุปสิง่ ท่เี ขา้ ใจเปน็ ความรรู้ ่วมกันเก่ียวกบั ลมบก ลมทะเลวา่ อิทธิพลของภมู ิประเทศและความเปล่ียนแปลงของความดนั ของอากาศทาให้เกดิ ลมท้องถิ่นขน้ึ ลมทอ้ งถน่ิ ก็คอื ลมบกและลมทะเล

ลมบกและลมทะเล เป็นลมท่เี กิดจากความแตกต่างของอุณหภูมิของอากาศเหนือพื้นดินและพ้ืนนา้ เปน็ ลมทีพ่ ดั ประจาวัน

15. นกั เรยี นคิดประเมินเพอ่ื เพิม่ คุณคา่ โดยร่วมกนั บอกประโยชน์ของลมบก ลมทะเล (ตวั อย่างคาตอบ การทาประมงด้วยเรือขนาดเล็ก อาศัยลมบกชว่ ยเดนิ ทางออกไปทาประมงในเวลา กลางคืน และอาศัยลมทะเลพัดเข้าชายฝงั่ ในเวลาเช้า)

อากาศเยน็ อากาศร้อน

ส่ือการเรยี นรู้/แหล่งการเรียนรู้

1. หนงั สือเรยี นรายวชิ าพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 6

ของสถาบันพัฒนาคณุ ภาพวิชาการ (พว.)

2. แบบฝึกหัดรายวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ 6

ของสถาบนั พัฒนาคุณภาพวชิ าการ (พว.)

3. ชดุ กิจกรรมการเรียนรู้พัฒนาการคิดวิเคราะห์รายวชิ าพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 6 ของสถาบนั พฒั นาคุณภาพวิชาการ (พว.)

4. ภาพ เรอื ลากร่มหรือพาราเซลล่งิ

5. ภาพ การเลน่ เรอื ใบ

6. กระดาษฟลิปชาร์ต

7. ขวดปากกว้างขนาดเท่ากนั 2 ใบ

8. เทอรม์ อมิเตอร์พรอ้ มขาตงั้ 2 ชดุ 9. ดนิ 2 10. น้า 32 ของขวดปากกวา้ ง 11. ใบงานที่ 31 เรอ่ื ง ลมบก ลมทะเล 3 ของขวดปากกว้าง

12. ใบกิจกรรม เร่ือง การดดู กลืนและคายความรอ้ นของดินและน้า

13. แหล่งการเรยี นรทู้ ั้งภายในและภายนอกโรงเรยี น

กิจกรรมเสนอแนะ

นักเรียนลองทากิจกรรมต่อไปน้ี

กิจกรรม การดูดกลนื และคายความร้อนของดินและนา้

วสั ดุอุปกรณ์ 2 ใบ

1. ขวดปากกว้างขนาดเทา่ กนั 2 ชุด 2. เทอรม์ อมเิ ตอรพ์ ร้อมขาต้ัง 2 3. ดนิ 233 ของขวดปากกว้าง 4. นา้ ของขวดปากกวา้ ง

วธิ ที า

1. แบง่ กลุ่ม แตล่ ะกลุม่ รว่ มกนั ใช้ขวดปากกวา้ งชนดิ เดียวกัน 2 ใบ

ใส่ดินและน้าอย่างละเทา่ ๆ กัน ประมาณ 2 ใน 3 ส่วนของ

ขวดปากกวา้ ง

2. นาเทอร์มอมเิ ตอร์เสยี บไว้ดงั ภาพ แล้วบนั ทกึ อุณหภูมิของ

เทอรม์ อมเิ ตอร์ท้ังสองขวด

3. นาขวดทง้ั สองไปไว้กลางแดด อ่านเทอรม์ อมิเตอร์ทุก ๆ 5 นาที ดนิ นา้ เปน็ เวลา 15 นาที บันทกึ อุณหภมู ิ

4. นาขวดท้ังสองกลบั เขา้ มาไวใ้ นที่รม่ เป็นเวลา 5 นาที การดูดกลืนและคายความร้อนของดนิ และนา้

บนั ทึกอุณหภูมิ แลว้ บนั ทึกอกี 2 ครั้ง

ในชว่ งเวลาหา่ งกันช่วงละ 5 นาที บนั ทกึ อณุ หภูมทิ ุกครง้ั

5. แต่ละกล่มุ นาเสนอผลการทดลอง

คาถามกอ่ นทากจิ กรรม

1. คาถามสาคัญในการทดลองคืออะไร (พนื้ ดนิ หรือพืน้ น้าดูดกลืนและคายความรอ้ นได้ดีกว่ากัน)

2. วัตถุตา่ งชนดิ กันที่ใชใ้ นการทดลองคืออะไร (ดนิ และน้า)

3. วัตถแุ ตล่ ะชนดิ อยู่ในสถานะเดียวกนั หรอื ไม่ อย่างไร (ไม่ ดนิ อยใู่ นสถานะของแข็ง น้าอยใู่ นสถานะของเหลว)

4. สงิ่ ที่ต่างกนั ในการทดลองนี้คืออะไร (วตั ถุตา่ งชนิดกนั คอื ดินและน้า)

5. สิง่ ทเ่ี หมอื นกันในการทดลองคอื อะไร (ขวดแกว้ เหมือนกนั ขนาดเท่ากัน เทอรม์ อมิเตอรช์ นิดเดยี วกัน ปรมิ าณของที่ใสใ่ นขวดแก้วเท่ากนั วางขวดแก้วในบรเิ วณเดยี วกันและนานเท่ากนั )

6. การทดลองนต้ี ้องการตดิ ตามดอู ะไร (การดูดกลืนและคายความร้อนของวัตถุแต่ละชนิด)

7. เราวดั การดูดกลนื และคายความรอ้ นของวตั ถุตา่ ง ๆ ได้อย่างไร (สังเกตจากอุณหภมู ขิ องเทอร์มอมิเตอรใ์ นแต่ละขวดในระหว่างตั้งไว้กลางแดดกบั หลังจากนาขวด ท้ังหมดมาต้ังไวใ้ นทร่ี ม่ )

บนั ทกึ ผลการทากิจกรรม

ตาราง อุณหภมู ิของวตั ถุต่าง ๆ ก่อนนาไปวางกลางแดด ขณะวางกลางแดด และนากลับมาวางในทีร่ ม่

อุณหภูมิ ( C)

วตั ถุ กอ่ นนาไปวาง วางกลางแดด วางในทร่ี ม่

กลางแดด 5 นาที 10 นาที 15 นาที 5 นาที 10 นาที 15 นาที

ดนิ

นา้

คาถามหลังทากจิ กรรม

1. ดนิ กบั นา้ ดดู กลืนและคายความรอ้ นไดแ้ ตกต่างกนั หรือไม่ อย่างไร (แตกต่างกัน โดยดินดดู กลนื และคายความรอ้ นได้ดีกวา่ นา้ )

2. ความสามารถในการคายความรอ้ นของวัตถหุ นึง่ ๆ มคี วามสมั พนั ธ์กบั ความสามารถในการดดู กลนื ความร้อนของวตั ถุนั้น ๆ หรอื ไม่ อย่างไร (มคี วามสัมพนั ธ์กนั คือ ความสามารถในการคายความร้อนเปน็ ไปตามความสามารถในการดูดกลืน ความรอ้ น เช่น ของแข็งดูดกลืนความร้อนได้ดีกว่าของเหลว ของแข็งกส็ ามารถคายความร้อนได้ดีกวา่ ของเหลวด้วย)

3. สรุปผลการทดลองไดว้ ่าอย่างไร (วัตถุต่างชนดิ กนั ดูดกลนื และคายความร้อนได้ไม่เทา่ กัน)

4. ผลการทดลองน้นี าไปใช้อธิบายการเกดิ ลมบกและลมทะเลได้อยา่ งไร (ลมทะเลเกิดขึ้นในฤดรู ้อนตามชายฝัง่ ทะเล ในเวลากลางวันเม่อื พืน้ ดินได้รบั ความร้อนจากดวงอาทิตย์ จะมอี ุณหภมู สิ ูงกวา่ พื้นน้า และอากาศเหนือพืน้ ดนิ ไดร้ บั ความร้อนจะขยายตัวลอยขึ้นสู่เบ้ืองบน อากาศเหนือพ้ืนนา้ ซึ่งเยน็ กว่าจะไหลเข้าไปแทนทเี่ กดิ ลมพัดเขา้ ูส่ชายฝ่งั เรียกว่า ลมทะเล ส่วนลมบก เกิดขนึ้ ในเวลากลางคนื เมื่อพื้นดนิ คายความร้อน โดยการแผร่ ังสีจะคายความร้อนออกได้เรว็ กว่าพ้ืน น้า ทาใหม้ ีอณุ หภมู ติ ่ากวา่ พ้ืนน้า อากาศเหนอื พืน้ นา้ ซึ่งร้อนกวา่ พนื้ ดินจะลอยตวั ขนึ้ สเู่ บื้องบน อากาศ เหนือพน้ื ดินซึ่งเยน็ กวา่ จะไหลเข้าไปแทนที่ เกิดเป็นลมพดั จากชายฝั่งไปสูท่ ะเล เรยี กว่า ลมบก)

จงทากจิ กรรมอย่างรวมพลงั ดว้ ยความใฝ่รูแ้ ละมุ่งม่ันได้

กิจกรรมเสนอแนะ

นักเรยี นลองทากิจกรรมต่อไปนี้

กจิ กรรม การดดู กลนื และคายความร้อนของดินและนา้

วสั ดุอุปกรณ์ 2 ใบ

1. ขวดปากกว้างขนาดเทา่ กัน 2 ชุด 2. เทอร์มอมเิ ตอร์พร้อมขาตง้ั 2 3. ดนิ 233 ของขวดปากกว้าง 4. นา้ ของขวดปากกว้าง

วธิ ีทา

1. แบ่งกลุ่ม แต่ละกลมุ่ รว่ มกันใช้ขวดปากกว้างชนิดเดียวกัน 2 ใบ

ใส่ดินและน้าอย่างละเทา่ ๆ กัน ประมาณ 2 ใน 3 สว่ นของ

ขวดปากกว้าง

2. นาเทอรม์ อมเิ ตอร์เสียบไว้ดงั ภาพ แลว้ บันทกึ อณุ หภมู ิของ

เทอรม์ อมเิ ตอรท์ ง้ั สองขวด

3. นาขวดท้งั สองไปไวก้ ลางแดด อ่านเทอรม์ อมเิ ตอรท์ ุก ๆ 5 นาที ดนิ นา้ เป็นเวลา 15 นาที บันทกึ อุณหภมู ิ

4. นาขวดทงั้ สองกลับเขา้ มาไว้ในที่ร่มเป็นเวลา 5 นาที การดูดกลืนและคายความรอ้ นของดนิ และน้า

บนั ทึกอุณหภมู ิ แลว้ บนั ทกึ อีก 2 ครัง้ ในช่วงเวลาหา่ งกันชว่ งละ

5 นาที บนั ทกึ อณุ หภูมิทุกครง้ั

5. แตล่ ะกล่มุ นาเสนอผลการทดลอง

คาถามกอ่ นทากจิ กรรม

1. คาถามสาคัญในการทดลองคืออะไร (พนื้ ดนิ หรือพืน้ น้าดูดกลืนและคายความร้อนได้ดีกว่ากัน)

2. วัตถุตา่ งชนดิ กันที่ใชใ้ นการทดลองคืออะไร (ดนิ และน้า)

3. วัตถแุ ตล่ ะชนดิ อยู่ในสถานะเดียวกนั หรอื ไม่ อย่างไร (ไม่ ดนิ อยใู่ นสถานะของแข็ง น้าอยใู่ นสถานะของเหลว)

4. สงิ่ ที่ต่างกนั ในการทดลองนี้คืออะไร (วตั ถุตา่ งชนิดกนั คอื ดินและน้า)

5. สิง่ ทเ่ี หมอื นกันในการทดลองคอื อะไร (ขวดแกว้ เหมือนกนั ขนาดเท่ากัน เทอรม์ อมิเตอรช์ นิดเดยี วกัน ปรมิ าณของที่ใสใ่ นขวดแก้วเท่ากนั วางขวดแก้วในบรเิ วณเดยี วกันและนานเท่ากนั )

6. การทดลองนต้ี ้องการตดิ ตามดอู ะไร (การดูดกลืนและคายความร้อนของวัตถุแต่ละชนิด)

7. เราวดั การดูดกลนื และคายความรอ้ นของวัตถุตา่ ง ๆ ได้อย่างไร (สังเกตจากอุณหภมู ขิ องเทอร์มอมิเตอร์ในแต่ละขวดในระหว่างตั้งไว้กลางแดดกบั หลังจากนาขวด ท้ังหมดมาต้ังไวใ้ นที่รม่ )

บันทกึ ผลการทากิจกรรม

ตาราง อุณหภมู ิของวตั ถุต่าง ๆ กอ่ นนาไปวางกลางแดด ขณะวางกลางแดด และนากลับมาวางในท่ีร่ม

อณุ หภมู ิ ( C)

วตั ถุ ก่อนนาไปวาง วางกลางแดด วางในที่ร่ม

กลางแดด 5 นาที 10 นาที 15 นาที 5 นาที 10 นาที 15 นาที

ดนิ 28.0 29.5 31.0 32.0 31.0 30.5 30.0

นา้ 28.0 29.0 29.7 31.0 30.3 29.9 29.7

คาถามหลงั ทากิจกรรม

1. ดินกับนา้ ดดู กลืนและคายความร้อนได้แตกต่างกนั หรือไม่ อยา่ งไร (แตกตา่ งกัน โดยดินดูดกลืนและคายความร้อนได้ดีกว่านา้ )

2. ความสามารถในการคายความรอ้ นของวัตถุหน่ึง ๆ มีความสมั พันธก์ บั ความสามารถในการดดู กลืน ความร้อนของวตั ถุนัน้ ๆ หรอื ไม่ อย่างไร (มีความสมั พนั ธก์ นั คือ ความสามารถในการคายความร้อนเปน็ ไปตามความสามารถในการดูดกลนื ความรอ้ น เชน่ ของแข็งดูดกลืนความร้อนไดด้ ีกวา่ ของเหลว ของแขง็ ก็สามารถคายความร้อนได้ดีกว่า ของเหลวดว้ ย)

3. สรุปผลการทดลองไดว้ า่ อย่างไร (วตั ถุต่างชนดิ กนั ดูดกลนื และคายความร้อนได้ไมเ่ ท่ากนั )

4. ผลการทดลองนี้นาไปใช้อธิบายการเกดิ ลมบกและลมทะเลไดอ้ ย่างไร (ลมทะเลเกิดข้นึ ในฤดรู ้อนตามชายฝั่งทะเล ในเวลากลางวัน เมือ่ พ้ืนดินได้รบั ความรอ้ นจากดวงอาทิตย์ จะมอี ุณหภมู สิ งู กวา่ พืน้ นา้ และอากาศเหนือพ้ืนดินไดร้ บั ความรอ้ นจะขยายตวั ลอยขนึ้ สเู่ บอื้ งบน อากาศเหนือพื้นน้าซงึ่ เยน็ กวา่ จะไหลเข้าไปแทนทีเ่ กิดลมพดั เข้าหาชายฝั่ง เรียกว่า ลมทะเล ส่วนลมบก เกิดขึ้นในเวลากลางคืน เม่ือพ้ืนดนิ คายความร้อนโดยการแผ่รังสี จะคายความร้อนออกไดเ้ รว็ กวา่ พื้นนา้ ทาให้มีอุณหภูมติ ่ากว่าพื้นนา้ อากาศเหนือพืน้ นา้ ซง่ึ ร้อนกว่าพ้ืนดินจะลอยตัวข้ึนสู่เบ้ืองบน อากาศเหนือ พน้ื ดินซ่ึงเยน็ กว่าจะไหลเข้าไปแทนที่เกดิ เปน็ ลมพดั จากชายฝง่ั ไปสู่ทะเล เรียกว่า ลมบก)

จงทากจิ กรรมอยา่ งรวมพลัง ดว้ ยความใฝร่ ู้และมุ่งมัน่ ได้

การประเมินการเรียนรู้

1. ประเมนิ ความรู้ เรอ่ื ง ลมบก ลมทะเล (K) ด้วยแบบทดสอบ 2. ประเมินการปฏิบัตกิ ารทากิจกรรมและการสืบสอบข้อมลู (P) ดว้ ยแบบประเมนิ 3. ประเมินคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ ดา้ นใฝเ่ รยี นรู้ มุง่ มั่นในการทางาน (A) ด้วยแบบประเมนิ

แบบประเมินตามสภาพจรงิ (Rubrics)

แบบประเมนิ การปฏบิ ตั กิ ารทากจิ กรรม

รายการการประเมนิ 4 ระดับคุณภาพ 1 32

1. การทากิจกรรม ทากิจกรรมตามวิธกี าร ทากจิ กรรมตามวิธีการ ทากิจกรรมตามวิธกี าร ทากจิ กรรมไมถ่ กู ตอ้ ง

ตามแผนทกี่ าหนด และข้นั ตอนท่ีกาหนดไว้ และข้ันตอนท่กี าหนดไว้ และขั้นตอนทก่ี าหนดไว้ ตามวิธีการและขัน้ ตอน

อยา่ งถกู ตอ้ งด้วยตนเอง ดว้ ยตนเอง มกี ารปรบั ปรุง โดยมีครหู รือผูอ้ ่ืน ท่ีกาหนดไว้ ไมม่ ีการ

มีการปรับปรงุ แกไ้ ข แกไ้ ขบา้ ง เป็นผแู้ นะนา ปรบั ปรงุ แก้ไข

เปน็ ระยะ

2. การใชอ้ ปุ กรณ์ ใชอ้ ุปกรณ์และ/หรอื ใช้อุปกรณ์และ/หรือ ใชอ้ ุปกรณแ์ ละ/หรือ ใช้อุปกรณ์และ/หรอื

และ/หรือเคร่ืองมอื เคร่ืองมอื ในการทา เคร่อื งมือในการทา เคร่ืองมือในการทา เครอ่ื งมือในการทา

กิจกรรมได้อยา่ งถูกต้อง กิจกรรมไดอ้ ย่างถูกตอ้ ง กจิ กรรมไดอ้ ย่างถูกตอ้ ง กจิ กรรมไมถ่ ูกตอ้ ง

ตามหลกั การปฏิบัติ ตามหลักการปฏิบตั ิ โดยมคี รหู รือผูอ้ ืน่ และไม่มคี วามคล่องแคล่ว

และคล่องแคล่ว แต่ไม่คล่องแคลว่ เป็นผแู้ นะนา ในการใช้

3. การบันทกึ ผล บนั ทึกผลเปน็ ระยะ บันทึกผลเปน็ ระยะ บนั ทกึ ผลเป็นระยะ บันทกึ ผลไม่ครบ

การทากิจกรรม อยา่ งถกู ต้อง มีระเบยี บ อยา่ งถูกต้อง มีระเบยี บ แต่ไม่เป็นระเบียบ ไมม่ กี ารระบหุ น่วย

มีการระบหุ นว่ ย มกี าร มีการระบุหนว่ ย ไม่มีการระบุหน่วย และไมเ่ ปน็ ไปตาม

อธบิ ายขอ้ มูลให้เห็น มีการอธิบายข้อมลู และไม่มีการอธิบายข้อมลู การทากจิ กรรม

ความเชือ่ มโยงเป็นภาพรวม ใหเ้ ห็นถงึ ความสมั พันธ์ ใหเ้ ห็นถึงความสมั พันธ์

เปน็ เหตเุ ป็นผล และเปน็ ไป เป็นไปตามการ ของการทากจิ กรรม

ตามการทากิจกรรม ทากิจกรรม

4. การจดั กระทาข้อมลู จดั กระทาข้อมลู จัดกระทาข้อมลู จัดกระทาขอ้ มลู จดั กระทาข้อมลู

และการนาเสนอ อย่างเป็นระบบ อย่างเปน็ ระบบ อย่างเปน็ ระบบ อย่างไม่เป็นระบบ

มกี ารเชอื่ มโยงใหเ้ หน็ มีการจาแนกขอ้ มลู มีการยกตวั อยา่ งเพ่มิ เตมิ และมีการนาเสนอ

เป็นภาพรวม และนาเสนอ ให้เห็นความสมั พันธ์ ใหเ้ ขา้ ใจงา่ ย และนาเสนอ ไม่ส่อื ความหมาย

ด้วยแบบต่าง ๆ อยา่ งชัดเจน นาเสนอด้วยแบบต่าง ๆ ดว้ ยแบบตา่ ง ๆ แตย่ งั และไม่ชัดเจน

ถกู ตอ้ ง ได้ แต่ยังไมช่ ัดเจน ไมช่ ัดเจนและไมถ่ กู ต้อง

รายการการประเมิน 4 ระดับคณุ ภาพ 1 32

5. การสรปุ ผล สรปุ ผลการทากิจกรรมได้ สรุปผลการทากจิ กรรม สรุปผลการทากจิ กรรมได้ สรุปผลการทากิจกรรม การทากิจกรรม อย่างถกู ต้อง กระชับ ได้ถกู ต้อง แตย่ ัง โดยมีครูหรอื ผู้อ่นื แนะนา ตามความรทู้ พี่ อมีอยู่

ชดั เจน และครอบคลมุ ไมค่ รอบคลุมข้อมลู บา้ ง จึงสามารถสรปุ ได้ โดยไม่ใช้ข้อมลู

ขอ้ มูลจากการวเิ คราะห์ จากการวเิ คราะห์ทัง้ หมด ถูกต้อง จากการทากจิ กรรม

ท้ังหมด

6. การดูแลและการเกบ็ ดแู ลอปุ กรณ์และ/หรอื ดแู ลอุปกรณแ์ ละ/หรอื ดแู ลอปุ กรณ์และ/หรอื ไม่ดแู ลอปุ กรณ์และ/

อปุ กรณแ์ ละ/หรือ เครือ่ งมอื ในการทา เคร่อื งมือในการทา เคร่อื งมือในการทา หรอื เครื่องมอื ในการทา กจิ กรรม และมีการ กจิ กรรม มกี าร กิจกรรม และไม่สนใจ เครือ่ งมอื กจิ กรรม และมีการ

ทาความสะอาด ทาความสะอาด ทาความสะอาด ทาความสะอาด แตเ่ กบ็ ไม่ถูกต้อง รวมท้งั เกบ็ ไม่ถูกตอ้ ง และเกบ็ อย่างถูกต้อง อย่างถกู ต้อง แตเ่ ก็บ ต้องใหค้ รหู รอื ผู้อ่ืน แนะนา ตามหลักการ และแนะนา ไม่ถูกต้อง

ให้ผอู้ นื่ ดูแลและ

เกบ็ รักษาไดถ้ กู ตอ้ ง

แบบประเมนิ การสบื สอบข้อมลู

รายการการประเมิน 4 ระดับคณุ ภาพ 1 32

1. การวางแผนค้นคว้า วางแผนท่ีจะค้นคว้าขอ้ มลู วางแผนทีจ่ ะค้นคว้าข้อมลู วางแผนทจี่ ะค้นควา้ ขอ้ มลู ไม่มีการวางแผนทีจ่ ะ

ขอ้ มูลจาก จากแหล่งการเรยี นรู้ จากแหล่งการเรยี นรู้ จากแหลง่ การเรียนรู้ ค้นคว้าขอ้ มลู จาก แหลง่ การเรยี นรู้ ท่ีหลากหลายเชอื่ ถอื ได้ ทห่ี ลากหลายและเหมาะสม โดยมคี รูหรือผู้อน่ื แหลง่ การเรยี นรู้

และมกี ารเช่อื มโยงใหเ้ ห็น แต่ไมม่ กี ารเช่ือมโยง แนะนาบา้ ง อย่างเป็นระบบ เปน็ ภาพรวม แสดงให้เห็น ให้เหน็ เปน็ ภาพรวม

ถึงความสัมพันธ์ ของวิธีการทั้งหมด

2. การเก็บรวบรวม เกบ็ รวบรวมขอ้ มูล เกบ็ รวบรวมข้อมูล เกบ็ รวบรวมขอ้ มลู เกบ็ รวบรวมข้อมูล ขอ้ มูล ตามแผนที่กาหนด โดยคดั เลือกและ/หรอื โดยไม่มกี ารคัดเลอื ก เปน็ ระยะ ขาดการ

ทกุ ประการ ประเมนิ ข้อมลู และ/หรือประเมินขอ้ มลู ประเมินเพือ่ คัดเลือก

3. การจัดกระทาข้อมลู จดั กระทาขอ้ มลู จัดกระทาข้อมลู จดั กระทาขอ้ มลู จัดกระทาข้อมลู อยา่ ง

และการนาเสนอ อยา่ งเป็นระบบ อยา่ งเปน็ ระบบ มกี าร อยา่ งเปน็ ระบบ ไมเ่ ป็นระบบ และ

มกี ารเชือ่ มโยงให้เหน็ จาแนกขอ้ มลู ให้เห็น มีการยกตวั อยา่ งเพิม่ เตมิ นาเสนอไมส่ ่อื ความหมาย

เป็นภาพรวม และนาเสนอ ความสัมพนั ธ์ นาเสนอ ใหเ้ ขา้ ใจง่ายและนาเสนอ และไม่ชดั เจน

ด้วยแบบตา่ ง ๆ อย่างชัดเจน ด้วยแบบต่าง ๆ ด้วยแบบต่าง ๆ

ถกู ต้อง ได้อยา่ งถกู ต้อง แต่ยงั ไมถ่ ูกต้อง

4. การสรปุ ผล สรุปผลไดอ้ ย่างถูกตอ้ ง สรปุ ผลได้อย่างกระชบั สรปุ ผลไดก้ ระชับ สรปุ ผลโดยไมใ่ ช้ กระชับ ชดั เจน และ แต่ยงั ไมช่ ดั เจนและ กะทดั รัด แต่ไมช่ ัดเจน ขอ้ มลู และไมถ่ กู ตอ้ ง ครอบคลมุ มเี หตุผล ไม่ครอบคลุมขอ้ มลู ทีอ่ า้ งองิ จากการสบื สอบได้ จากการวิเคราะห์

ทงั้ หมด

5. การเขียนรายงาน เขยี นรายงาน เขียนรายงาน เขียนรายงาน เขียนรายงานได้ ตรงตามจดุ ประสงค์ ตรงตามจุดประสงค์ โดยสือ่ ความหมายได้ ตามตัวอย่าง แต่ใชภ้ าษา ถกู ต้องและชัดเจน อย่างถูกตอ้ งและชัดเจน โดยมคี รหู รอื ผ้อู ื่น ไม่ถูกตอ้ งและไมช่ ดั เจน และมกี ารเชอื่ มโยง แต่ขาดการเรยี บเรยี ง แนะนา ใหเ้ หน็ เป็นภาพรวม

ขอ้ เสนอแนะของผู้บรหิ ารสถานศึกษา

ลงชือ่ (นายยทุ ธนา อัมวรรณ)

ตาแหน่ง ผู้อานวยการโรงเรียนบา้ นหว้ ยวังปลา

บันทึกหลงั การสอน

ผลการจดั การเรยี นการสอน

ปัญหา/อปุ สรรค

แนวทางแก้ไข

ครูผู้สอน (นางอนงนาถ นามโส)

วนั ที่บันทึก

หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 7 ลม ภัยธรรมชาติ และปรากฏการณ์เรือนกระจก แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 2 เรอื่ ง ลมบก ลมทะเล : 2

ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 6 เวลาเรยี น 1 ชั่วโมง

มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชวี้ ัด

มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ว 3.2 เข้าใจองคป์ ระกอบและความสมั พนั ธ์ของระบบโลก กระบวนการเปลย่ี นแปลงภายในโลก

และบนผวิ โลก ธรณีพิบตั ภิ ัย กระบวนการเปลยี่ นแปลงลมฟ้าอากาศและภมู ิอากาศโลก รวมท้งั ผลต่อสงิ่ มชี ีวติ และสิ่งแวดลอ้ ม

ตัวช้ีวัด เปรียบเทียบการเกิดลมบก ลมทะเล และมรสมุ รวมทั้งอธิบายผลท่ีมตี ่อสิ่งมชี ีวติ ว 3.2 ป.6/4 และสงิ่ แวดลอ้ มจากแบบจาลอง

จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้

1. อธบิ ายการเกดิ ลมบก ลมทะเลได้ (K) 2. อธบิ ายผลท่ีมีต่อสิ่งมีชวี ิตและส่งิ แวดล้อมจากการเกิดลมบก ลมทะเลได้ (K) 3. สรา้ งแบบจาลองแสดงการเกิดลมบก ลมทะเล อยา่ งรวมพลงั ด้วยความมุ่งม่ัน ตง้ั ใจ

และพอเพยี งได้ (P) 4. เปรียบเทยี บการเกิดลมบก ลมทะเลได้ (P) 5. มคี วามมงุ่ มัน่ ตงั้ ใจ และพอเพยี ง (A)

สาระการเรียนรู้

ลมบก ลมทะเล เกดิ จากพ้ืนดินและพื้นนา้ ร้อนและเย็นไม่เทา่ กันทาใหอ้ ุณหภูมิอากาศเหนือพืน้ ดิน และพนื้ น้าแตกต่างกนั จงึ เกิดการเคลื่อนท่ขี องอากาศจากบริเวณที่มอี ุณหภูมติ า่ ไปยังบรเิ วณทีม่ ีอุณหภูมิสูง

ลมบกและลมทะเลเปน็ ลมประจาถน่ิ ที่พบบรเิ วณชายฝงั่ โดยลมบกเกิดในเวลากลางคืน ทาให้มีลมพดั จากชายฝง่ั ไปสู่ทะเล ส่วนลมทะเลเกดิ ในเวลากลางวัน ทาให้มีลมพดั จากทะเลเข้าสู่ชายฝ่ัง

สมรรถนะสาคัญของผเู้ รยี น

1. ความสามารถในการสือ่ สาร - การอธิบาย การเขยี น การพูดหนา้ ช้ันเรียน

2. ความสามารถในการคิด - การสังเกต การสารวจ การคดิ วิเคราะห์ การเปรียบเทยี บ การจาแนกประเภท การสร้างคาอธบิ าย การอภปิ ราย การสอื่ ความหมาย การทากิจกรรมทดลองโดยใช้กระบวนการ ทางวทิ ยาศาสตร์

3. ความสามารถในการแก้ปัญหา - การแก้ปัญหาขณะปฏบิ ัตกิ ิจกรรม

4. ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวิต - กระบวนการกล่มุ

5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี (-)

คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์

1. ใฝ่เรียนรู้ 2. อยู่อยา่ งพอเพียง 3. มุ่งมนั่ ในการทางาน

คาถามสาคัญ

(-)

การจัดกิจกรรมการเรียนรู้

• ข•น้ั ป• ฏ•บิ ัต•ิแล•ะส•รุป•ค•วา•มร•้หู ล•ังก•าร•ปฏ•บิ ตั•ิ (•Ap• p•lyi•ng•an• d•Co• n•str•uc•tin•g•th•e K• n•ow•le•dg•e)• •1.•นกั •เร•ียน•เชื่อมโยงความรู้กับหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง โดยนักเรยี น

แตล่ ะกลุ่มร่วมกันอย่างรวมพลงั วางแผน ออกแบบ วาดภาพและระบายสี และประดษิ ฐ์แบบจาลอง การเกดิ ลมบก ลมทะเล จากวัสดเุ หลือใชใ้ นทอ้ งถิ่น จัดทาเปน็ ชิน้ งาน

การประดิษฐ์แบบจาลอง จากวัสดุเหลือใชใ้ นทอ้ งถ่นิ เปน็ การบรู ณาการหลักปรชั ญา ของเศรษฐกจิ พอเพยี ง บรู ณาการ STEM เสรมิ สรา้ งคา่ นิยมหลกั 12 ประการ ด้านดารงตนตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง

2. นักเรยี นร่วมกนั สรุปสิง่ ทเี่ ข้าใจเปน็ ความร้รู ่วมกนั ดังนี้ • ลมบก ลมทะเล เกดิ จากพ้นื ดินและพน้ื นา้ ร้อนและเยน็ ไมเ่ ท่ากันทาใหอ้ ุณหภมู ิอากาศ

เหนือพ้นื ดินและพื้นน้าแตกต่างกัน จึงเกิดการเคลื่อนทีข่ องอากาศจากบริเวณทมี่ ีอุณหภมู ติ ่าไปยังบริเวณท่ีมี อณุ หภูมสิ ูง

• ลมบกและลมทะเลเปน็ ลมประจาถน่ิ ท่ีพบบริเวณชายฝงั่ โดยลมบกเกดิ ในเวลากลางคนื ทาให้มลี มพัดจากชายฝ่งั ไปสู่ทะเล สว่ นลมทะเลเกิดในเวลากลางวนั ทาให้มลี มพัดจากทะเลเขา้ สชู่ ายฝงั่

• ข•ัน้ ส•ื่อส•าร•แล•ะน•าเ•สน•อ•(A•pp•ly•ing• t•he• C•om• m• u•ni•cat•io•n S•ki•ll•)

3. ผแู้ ทนนกั เรียนแตล่ ะกลุ่มนาเสนอแบบจาลอง การเกิดลมบก ลมทะเล โดยวิธจี ดั กจิ กรรม Team Game Tournament: TGT โดยจดั แยกใหส้ มาชิกกลุ่มของตนกระจายไปทุกกลมุ่ ไปรับฟังการนาเสนอ และตอบข้อซกั ถามของกลมุ่ อ่ืน

4. นักเรยี นรว่ มกันอภปิ รายสรุปเกี่ยวกบั วธิ ีการทางานใหเ้ หน็ การคิดเชิงระบบและวธิ กี ารทางาน ทม่ี ีแบบแผน

• ข•ั้นป•ระ•เม•นิ เ•พ่ือ•เพ•ิ่มค•ณุ •ค่า•บร•กิ า•รส•ังค•มแ•ละ•จ•ติ ส•าธ•าร•ณะ• (S•el•f-R•eg•u•lat•ing•) •5. •นัก•เร•ียนรว่ มกนั จัดประกวดแบบจาลอง ในแบบเดินชมนทิ รรศการ ท่ีลานอเนกประสงค์ของ

โรงเรยี น เพื่อเผยแพร่ความรู้ใหเ้ พ่ือนนักเรียนในโรงเรยี นเดินชม และคัดเลือกผลงานท่ดี เี ด่น มอบให้ ห้องวทิ ยาศาสตร์ เพือ่ ใช้เป็นสอ่ื การเรียนการสอนต่อไป

6. นักเรียนร่วมกนั จดั แสดงผลงานของนักเรียนเพ่ือเป็นแรงจงู ใจให้นกั เรยี นผลิตผลงานท่ีดี และได้เห็นผลงานท่ีหลากหลายของเพอื่ น เปน็ การเปิดความคดิ ของนักเรียนให้กว้างข้นึ

7. นักเรียนตรวจสอบหรือประเมินขั้นตอนต่าง ๆ ทีเ่ รยี นมาในวันนมี้ จี ุดเด่น จุดบกพร่องอะไรบา้ ง มีความสงสัย ความอยากรู้อยากเหน็ ในเร่ืองใด ให้ระบุ

8. นักเรยี นประเมินตนเอง โดยเขียนแสดงความรูส้ ึกหลงั การเรียนและหลงั การทากจิ กรรม ในประเดน็ ต่อไปน้ี

 ส่งิ ทนี่ กั เรียนได้เรยี นรใู้ นวนั น้คี ืออะไร  นกั เรียนมีส่วนรว่ มกิจกรรมในกลุ่มมากน้อยเพียงใด  เพอ่ื นนักเรียนในกลมุ่ มสี ว่ นร่วมกจิ กรรมในกลุม่ มากน้อยเพียงใด  นกั เรยี นพึงพอใจกับการเรยี นในวันนี้หรือไม่ เพยี งใด  นกั เรียนจะนาความร้ทู ่ีได้นไ้ี ปใช้ใหเ้ กิดประโยชน์แก่ตนเอง ครอบครัว และสังคมทวั่ ไป

ไดอ้ ยา่ งไร จากน้นั แลกเปลี่ยนตรวจสอบขัน้ ตอนการทางานทกุ ขัน้ ตอนวา่ จะเพมิ่ คุณค่าไปสสู่ ังคม เกิดประโยชน์ต่อสงั คมให้มากขนึ้ กวา่ เดิมในขนั้ ตอนใดบ้าง สาหรับการทางานในครง้ั ต่อไป

ส่ือการเรียนร/ู้ แหล่งการเรยี นรู้

1. หนังสอื เรยี นรายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปที ี่ 6 ของสถาบันพฒั นาคณุ ภาพวิชาการ (พว.)

2. แบบฝกึ หัดรายวชิ าพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 6 ของสถาบนั พฒั นาคณุ ภาพวชิ าการ (พว.)

3. ชดุ กจิ กรรมการเรียนรู้พัฒนาการคดิ วิเคราะห์รายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ช้ันประถมศึกษาปที ่ี 6 ของสถาบนั พัฒนาคุณภาพวชิ าการ (พว.)

4. แหล่งการเรียนรูท้ ง้ั ภายในและภายนอกโรงเรียน

การประเมนิ การเรียนรู้

1. ประเมนิ ความรู้ เรือ่ ง ลมบก ลมทะเล (K) ดว้ ยแบบทดสอบ 2. ประเมินช้ินงาน แบบจาลอง การเกิดลมบก ลมทะเล (P) ดว้ ยแบบประเมิน 3. ประเมนิ คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ ด้านใฝเ่ รยี นรู้ อยูอ่ ย่างพอเพยี ง

มงุ่ มน่ั ในการทางาน (A) ด้วยแบบประเมนิ

แบบประเมนิ ตามสภาพจริง (Rubrics)

แบบประเมนิ ชน้ิ งาน แบบจาลอง/ส่งิ ประดิษฐ์ด้วยวสั ดใุ นท้องถนิ่ หรือวัสดเุ หลือใชใ้ นบ้าน

รายการการประเมิน 4 ระดบั คุณภาพ 1 32

1. การวางแผน วางแผนในการออกแบบ วางแผนทจี่ ะออกแบบ วางแผนทีจ่ ะออกแบบ วางแผนทจี่ ะออกแบบ

ในการออกแบบ อยา่ งคิดสรา้ งสรรค์ อย่างคดิ รเิ รม่ิ และเหมาะสม อย่างเหมาะสม แตไ่ ม่มี ตามแบบอย่าง โดยไม่มี

เหมาะสม มีความละเอยี ด มคี วามละเอียด แต่ไมม่ ีการ ความคดิ สรา้ งสรรค์ ความคิดสรา้ งสรรค์ หรือ

และมีการเชอ่ื มโยงใหเ้ หน็ เชื่อมโยงใหเ้ ห็นเปน็ ภาพรวม ไมม่ คี วามละเอยี ด และ ออกแบบตามทีค่ รูแนะนา

เปน็ ภาพรวมแสดงใหเ้ ห็น และไมแ่ สดงใหเ้ ห็นถึง ไม่มีการเช่อื มโยงให้เห็น

ถงึ ความสัมพันธข์ องวิธีการ ความสัมพันธ์ของวธิ ีการ เป็นภาพรวม

ทัง้ หมด

2. การเลือกใชว้ ัสดุ เลอื กใชว้ สั ดใุ นท้องถิ่นได้ เลอื กใช้วัสดใุ นทอ้ งถ่ินได้ เลือกใช้วัสดใุ นท้องถ่นิ ได้ ไม่ใชว้ ัสดใุ นท้องถิ่น

ในท้องถนิ่ / อย่างสร้างสรรคด์ ้วยตนเอง อยา่ งคิดรเิ รม่ิ ราคาถกู ราคาถูกและสามารถ แตใ่ ช้วสั ดทุ ่ีมีราคาแพง

วัสดุเหลอื ใช้ ราคาถกู และสามารถ และสามารถใชง้ านได้ ใชง้ านได้

ใชง้ านไดอ้ ย่างทนทาน

3. การประดิษฐ์ตาม ประดษิ ฐต์ ามแผนที่ ประดษิ ฐ์ตามแผนที่ ประดษิ ฐต์ ามแผนที่ ประดิษฐ์ข้ามขนั้ ตอน

แผนทอ่ี อกแบบ ออกแบบอย่างเป็นขน้ั ตอน ออกแบบอยา่ งเปน็ ขนั้ ตอน ออกแบบอย่างเปน็ ข้นั ตอน และไมม่ กี ารปรับปรุง

ดว้ ยความคลอ่ งแคล่ว ด้วยความคลอ่ งแคลว่ แต่มกี ารแกไ้ ขปรับปรงุ

มกี ารปรบั ปรงุ เปน็ ระยะ ๆ มกี ารปรับปรงุ บา้ ง เปน็ ระยะบา้ ง

4. การนาเสนอ นาเสนอแบบจาลอง/ นาเสนอแบบจาลอง นาเสนอแบบจาลอง/ นาเสนอแบบจาลอง/

แบบจาลอง/ ส่ิงประดิษฐ์ /ส่ิงประดิษฐ์ โดยนาไปใช้ สง่ิ ประดิษฐไ์ ด้ ส่ิงประดษิ ฐ์ทไี่ มส่ ามารถ

สง่ิ ประดิษฐ์ โดยนาไปใชไ้ ด้จริง ได้จรงิ ถูกตอ้ ง น่าสนใจ แตไ่ มช่ ัดเจน ตอ้ งมกี าร นาไปใชไ้ ด้ ไมส่ ือ่ ความหมาย

ถูกต้อง นา่ สนใจ และชัดเจน แตไ่ มม่ ี ยกตัวอยา่ งเพม่ิ เตมิ ไม่ชดั เจน

และชดั เจน มีการเชื่อมโยง การเชอ่ื มโยงให้เหน็ ให้เขา้ ใจงา่ ย

ใหเ้ หน็ เป็นภาพรวม เปน็ ภาพรวม

5. การดแู ลและการเก็บ ดูแล เกบ็ และทาความ ดแู ล และทาความสะอาด ดูแล เก็บ และ ไม่ดแู ลอปุ กรณ์และ/หรอื

อปุ กรณแ์ ละ/ สะอาดอปุ กรณ์และ/หรอื อปุ กรณแ์ ละ/หรือ ทาความสะอาด เครื่องมือในการออกแบบ

หรอื เครื่องมอื เคร่ืองมอื ในการออกแบบ เครอื่ งมอื ในการออกแบบ อุปกรณแ์ ละ/หรอื และประดษิ ฐ์ และไมส่ นใจ

และประดษิ ฐอ์ ยา่ งถกู ต้อง และประดษิ ฐ์อย่างถกู ต้อง เครื่องมอื ในการออกแบบ ทาความสะอาด และเกบ็

ตามหลักการและแนะนา แตเ่ กบ็ ไม่ถูกตอ้ ง และประดษิ ฐแ์ ตไ่ มถ่ ูกต้อง ไม่ถูกตอ้ ง

ใหผ้ ู้อื่นดแู ลและเกบ็ รักษา

ได้ถกู ตอ้ ง

ขอ้ เสนอแนะของผู้บรหิ ารสถานศึกษา

ลงชือ่ (นายยทุ ธนา อัมวรรณ)

ตาแหน่ง ผู้อานวยการโรงเรียนบา้ นหว้ ยวังปลา

บันทึกหลงั การสอน

ผลการจดั การเรยี นการสอน

ปัญหา/อปุ สรรค

แนวทางแก้ไข

ครูผู้สอน (นางอนงนาถ นามโส)

วนั ที่บันทึก

หน่วยการเรียนรู้ท่ี 7 ลม ภยั ธรรมชาติ และปรากฏการณ์เรือนกระจก แผนการจดั การเรียนรูท้ ี่ 3 เรอื่ ง มรสมุ : 1

ชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี 6 เวลาเรียน 1 ชว่ั โมง

มาตรฐานการเรยี นรู้และตวั ช้วี ดั

มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ว 3.2 เขา้ ใจองค์ประกอบและความสมั พนั ธ์ของระบบโลก กระบวนการเปลย่ี นแปลงภายในโลก

และบนผวิ โลก ธรณีพิบตั ิภยั กระบวนการเปลย่ี นแปลงลมฟา้ อากาศและภมู ิอากาศโลก รวมท้ังผลต่อส่งิ มชี ีวิตและส่งิ แวดลอ้ ม

ตวั ช้วี ัด เปรียบเทียบการเกิดลมบก ลมทะเล และมรสมุ รวมทงั้ อธิบายผลที่มีตอ่ ส่งิ มีชีวิต ว 3.2 ป.6/4 และสิง่ แวดล้อมจากแบบจาลอง อธบิ ายผลของมรสมุ ต่อการเกิดฤดูของประเทศไทยจากข้อมูลทร่ี วบรวมได้ ว 3.2 ป.6/5

จดุ ประสงค์การเรียนรู้

1. อธิบายการเกิดมรสมุ ได้ (K) 2. อธิบายผลของมรสุมต่อการเกิดฤดขู องประเทศไทยได้ (K) 3. ปฏิบัติกิจกรรม อิทธิพลของมรสุมทีม่ ตี อ่ การเกิดฤดูของประเทศไทย อย่างรวมพลงั ดว้ ยความมงุ่ มนั่

ต้งั ใจ และรบั ผดิ ชอบได้ (P) 4. มีความมงุ่ มั่น ต้ังใจ และรับผดิ ชอบ (A)

สาระการเรียนรู้

มรสมุ เป็นลมประจาฤดู เกิดบริเวณเขตร้อนของโลก ซึ่งเป็นบริเวณกวา้ งระดับภูมิภาค ประเทศไทยได้รบั ผลจากมรสุมตะวันออกเฉยี งเหนอื ในช่วงประมาณกลางเดือนตุลาคมจนถงึ เดอื นกมุ ภาพันธ์ทาให้เกดิ ฤดูหนาว และได้รับผลจากมรสมุ ตะวนั ตกเฉียงใตใ้ นชว่ งประมาณกลางเดือนพฤษภาคมจนถงึ กลางเดือน ตุลาคมทาใหเ้ กิดฤดฝู น ส่วนชว่ งประมาณกลางเดือนกุมภาพันธ์จนถึงกลางเดอื นพฤษภาคมเปน็ ช่วงเปลยี่ น มรสมุ และประเทศไทยอย่ใู กลเ้ ส้นศูนย์สตู ร แสงอาทิตย์เกือบตัง้ ตรงและต้ังตรงประเทศไทยในเวลาเทย่ี งวนั ทาใหไ้ ดร้ ับความรอ้ นจากดวงอาทิตย์อย่างเต็มท่ี อากาศจึงร้อนอบอา้ วทาให้เกดิ ฤดูรอ้ น

สมรรถนะสาคญั ของผูเ้ รยี น

1. ความสามารถในการสอื่ สาร - การอธิบาย การเขยี น การพูดหน้าชัน้ เรียน

2. ความสามารถในการคิด - การสงั เกต การคิดวเิ คราะห์ การเปรียบเทยี บ การจาแนกประเภท การจดั จาแนก การจัดระบบความคิดเปน็ แผนภาพ การสรา้ งคาอธิบาย การอภปิ ราย การส่ือความหมาย การสบื สอบข้อมลู และการทากิจกรรมโดยใชก้ ระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์

3. ความสามารถในการแกป้ ัญหา - การแกป้ ัญหาขณะปฏิบัตกิ จิ กรรม

4. ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวิต - กระบวนการกลุ่ม

5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี - การสืบสอบขอ้ มลู จากเทคโนโลยสี ารสนเทศ

คุณลักษณะอนั พึงประสงค์

1. ซอ่ื สัตยส์ ุจริต 2. ใฝเ่ รียนรู้ 3. มุ่งม่ันในการทางาน

คาถามสาคญั

นักเรียนทราบหรือไมว่ ่า มรสุมคอื อะไร และมผี ลต่อการเกิดฤดขู องประเทศไทยอยา่ งไร

การจัดกิจกรรมการเรียนรู้

•ขั้น•สงั•เก•ต ร•วบ• ร•วม•ขอ้ •มูล• (G• a•th•eri•ng•)

1. นกั เรยี นอา่ นข่าวพยากรณ์อากาศที่แสดงใหเ้ หน็ ถึงอิทธิพลของมรสุม ทตี่ ิดบนกระดาน แลว้ รว่ มกนั ทบทวนประสบการณ์เก่ยี วกับมรสุม โดยรว่ มกนั ตอบคาถามสาคญั กระตุ้นความคดิ ดงั น้ี

1.1 นกั เรยี นทราบหรือไมว่ า่ มรสุมคอื อะไร (ตัวอย่างคาตอบ มรสมุ คือ ลมหรอื การเคลื่อนที่ของอากาศใน 2 บรเิ วณกวา้ ง ทมี่ อี ุณหภูมิแตกต่างกัน) 1.2 มรสุมทาให้เกดิ ปรากฏการณใ์ ดบ้าง (ตวั อยา่ งคาตอบ ทาให้เกิดฝนตก หรอื ทาให้มอี ากาศหนาวเยน็ ) 1.3 มรสุมมีผลตอ่ การเกดิ ฤดูของประเทศไทยอยา่ งไร (ตัวอย่างคาตอบ อิทธพิ ลของมรสมุ ตะวันออกเฉียงเหนือทาใหเ้ กดิ ฤดูหนาว อทิ ธพิ ลจากมรสมุ ตะวนั ตกเฉียงใต้ทาใหเ้ กิดฤดฝู น ในชว่ งรอยตอ่ จากมรสมุ ตะวนั ออกเฉียงเหนือ ไปเป็นมรสมุ ตะวนั ตกเฉยี งใต้ จะเปน็ ฤดรู ้อน) 2. นกั เรียนรว่ มกนั คาดคะเนคาตอบของคาถามข้างต้น 3. นักเรียนศึกษา ค้นคว้า และรวบรวมขอ้ มลู เก่ยี วกับมรสุมต่อการเกิดฤดูของประเทศไทย จากหนังสือเรยี น หรอื แหล่งการเรยี นรอู้ ืน่ ๆ อย่างหลากหลาย 4. นักเรยี นแบง่ กลุ่ม กลุ่มละ 4 คน คละเพศ และคละนักเรียนเก่ง ปานกลาง และอ่อน (หรอื จะแบ่งกลมุ่ ดว้ ยวิธีการตา่ ง ๆ เพิ่มเติมได้) โดยแต่ละกลุ่มร่วมกันอยา่ งรวมพลังศึกษาวิธีทาและปฏบิ ัติ กจิ กรรมที่ 7.2 เร่อื ง อิทธิพลของมรสมุ ท่ีมีต่อการเกิดฤดูของประเทศไทย ในใบงานที่ 32 ตามขนั้ ตอน ดังน้ี 4.1 ทบทวนบทบาทหน้าท่ขี องสมาชิกในกลุ่มวา่ ต้องทาหนา้ ที่อย่างไรบ้างในการดาเนินการ ด้วยกระบวนการทางานกลุ่ม เชน่ หวั หนา้ กลมุ่ มีหน้าท่ี ………………….... ผ้จู ดบันทกึ มีหนา้ ท่ี ………………...... ผเู้ สนอรายงาน มีหนา้ ที่ …………….. อืน่ ๆ ……………….

กิจกรรมกลุ่ม และการปฏบิ ตั ิกิจกรรม เปน็ การสรา้ งเสริมทักษะศตวรรษที่ 21 ดา้ นการร่วมมือทางานเป็นทมี การคิดแก้ปัญหา และรบั ผิดชอบต่อผลงานร่วมกนั

4.2 ตรวจสอบความพร้อมของสื่อ วสั ดอุ ุปกรณ์ สาหรบั การปฏิบัตกิ จิ กรรมวา่ ครบถ้วน เหมาะสมทจี่ ะใช้ในการปฏบิ ตั ิกิจกรรมเพียงใด

5. นกั เรยี นแตล่ ะกลมุ่ ร่วมกนั อย่างรวมพลังศึกษาวิธีการทากิจกรรมท่ี 7.2 เรอ่ื ง อิทธิพลของมรสมุ ท่ีมี ตอ่ การเกิดฤดูของประเทศไทย ในใบงานที่ 32

6. นักเรียนแต่ละกล่มุ รว่ มกนั แสดงความคิดเหน็ ก่อนการทากิจกรรม โดยร่วมกนั ตอบคาถามกอ่ นทา กจิ กรรม ดังนี้

6.1 คาถามสาคัญในการทากิจกรรมคอื อะไร (มรสมุ คืออะไร และมผี ลต่อการเกิดฤดูของประเทศไทยอย่างไร) 6.2 นักเรยี นคดิ ว่ามรสมุ คอื อะไร (ตวั อยา่ งคาตอบ มรสมุ คอื ลมหรอื การเคลอ่ื นทข่ี องอากาศใน 2 บริเวณกวา้ งทม่ี ีอุณหภูมิ แตกต่างกัน) 6.3 มรสุมเกดิ ข้ึนได้อย่างไร (ตัวอยา่ งคาตอบ การเกดิ ลมมรสุม ต้องเป็นบรเิ วณที่ปกคลุมพ้ืนท่ีกวา้ งนับพนั ๆ กโิ ลเมตร เป็นพื้นท่รี ะดับภูมิภาคหรือทวีป ในฤดูหนาว อณุ หภูมขิ องภาคพน้ื ทวปี จะตา่ กวา่ อณุ หภูมิของมหาสมทุ ร อากาศจึงเคล่ือนท่จี ากภาคพ้ืนทวปี ออกสูม่ หาสมทุ รในฤดูหนาว ส่วนฤดูร้อน อณุ หภูมขิ องภาคพ้นื ทวปี จะสงู กว่าอุณหภูมิของมหาสมุทร อากาศจงึ เคลื่อนท่จี ากมหาสมุทรเข้าสู่ภาคพน้ื ทวปี ในฤดรู อ้ น) 7. นักเรยี นแตล่ ะกลมุ่ ร่วมกันอย่างรวมพลงั ลงมือทากจิ กรรมตามขนั้ ตอนท่ีกาหนดในใบงานที่ 32 เรือ่ ง อิทธพิ ลของมรสุมที่มตี ่อการเกดิ ฤดูของประเทศไทย และบันทึกผลการทากจิ กรรมในใบงานที่ 32 8. หลงั จากนกั เรียนทากจิ กรรมและบันทึกผลการทากจิ กรรมในใบงานที่ 32 แลว้ ผแู้ ทนนกั เรียน แตล่ ะกลมุ่ ออกมานาเสนอผลการทากิจกรรมหน้าช้ันเรยี น เพือ่ แลกเปล่ยี นเรียนรกู้ นั

•ข(G้ัน•aคt•ิดhวe•เิrคinร•gา)ะ•ห์แ• ล•ะส•รุป•คว•าม•รู้ •(P•ro•ce•ssi•ng•) 9•. น• กั เรยี นแตล่ ะกลุ่มรว่ มกันวิเคราะห์ อภิปราย และแสดงความคดิ เหน็ เกีย่ วกบั ผลการทากิจกรรม

โดยรว่ มกันตอบคาถามหลงั ทากจิ กรรม ดังนี้ 9.1 มรสมุ คอื อะไร (มรสุม คือ ลมหรือการเคล่ือนทข่ี องอากาศใน 2 บริเวณกว้างใหญ่ไพศาลท่มี ีอุณหภมู ิแตกต่างกัน) 9.2 มรสุมเกิดข้ึนได้อย่างไร (ตวั อยา่ งคาตอบ การเกิดลมมรสมุ ต้องเป็นบรเิ วณที่ปกคลุมพืน้ ท่ีกวา้ งนับพัน ๆ กโิ ลเมตร

เปน็ พื้นท่ีระดบั ภมู ภิ าคหรือทวปี ในฤดหู นาว อุณหภูมขิ องภาคพ้นื ทวปี จะต่ากวา่ อณุ หภูมขิ องมหาสมุทร อากาศจงึ เคลื่อนที่จากภาคพ้ืนทวีปออกสูม่ หาสมทุ รในฤดูหนาว ส่วนฤดรู ้อน อุณหภูมขิ องภาคพื้นทวปี จะสูงกว่าอุณหภมู ขิ องมหาสมุทร อากาศจงึ เคล่ือนทจ่ี ากมหาสมุทรเขา้ ส่ภู าคพืน้ ทวีปในฤดรู อ้ น)

9.3 ประเทศไทยอยใู่ นพนื้ ทท่ี ี่ไดร้ ับอิทธิพลจากมรสมุ ใด (ตวั อย่างคาตอบ มรสุมตะวนั ออกเฉียงเหนือและมรสมุ ตะวนั ตกเฉยี งใต้)

9.4 มรสุมมีอิทธิพลต่อการเกิดฤดูของประเทศไทยอย่างไร (ตวั อยา่ งคาตอบ อิทธพิ ลของมรสุมตะวนั ออกเฉียงเหนือทาใหเ้ กดิ ฤดูหนาว อทิ ธพิ ลจากมรสุม ตะวันตกเฉียงใต้ทาให้เกดิ ฤดูฝน ในช่วงรอยต่อจากมรสุมตะวันออกเฉียงเหนอื ไปเป็นมรสมุ ตะวันตกเฉยี งใต้ จะเปน็ ฤดูร้อน) 9.5 สรุปผลการทากิจกรรมได้ว่าอย่างไร (มรสมุ เป็นลมประจาฤดู เกิดบริเวณเขตร้อนของโลก ซ่งึ เป็นบรเิ วณกว้างระดับภูมภิ าคประเทศไทย ไดร้ ับผลจากมรสุมตะวนั ออกเฉียงเหนอื ในช่วงประมาณกลางเดอื นตลุ าคมจนถึงเดอื นกมุ ภาพนั ธ์ทาใหเ้ กดิ ฤดูหนาว และได้รับผลจากมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ในชว่ งประมาณกลางเดือนพฤษภาคมจนถึงกลางเดือนตุลาคม ทาใหเ้ กดิ ฤดูฝน ส่วนชว่ งประมาณกลางเดือนกมุ ภาพันธ์จนถึงกลางเดือนพฤษภาคม เป็นชว่ งเปลี่ยนมรสมุ และ ประเทศไทยอยใู่ กล้เสน้ ศูนย์สูตร แสงอาทิตยเ์ กือบตง้ั ตรงและตั้งตรงประเทศไทยในเวลาเทยี่ งวนั ทาให้ได้รบั ความร้อนจากดวงอาทติ ย์อย่างเตม็ ที่ อากาศจึงร้อนอบอ้าวทาใหเ้ กิดฤดูร้อน) 10. นกั เรียนแตล่ ะกลมุ่ ร่วมกันคิดวิเคราะห์เพ่มิ เตมิ เพื่อเสรมิ สรา้ งสมรรถนะสาคัญดา้ นการคดิ โดยเปรยี บเทยี บลกั ษณะของมรสมุ ตะวนั ตกเฉยี งใตก้ ับมรสุมตะวนั ออกเฉยี งเหนือ แลว้ สรปุ เปน็ ความคิดรวบยอด โดยเขยี นเปน็ แผนภาพความคิดในกระดาษฟลปิ ชาร์ต (ตวั อย่างแผนภาพความคิด)

มรสุมตะวนั ตกเฉียงใต้ มรสุมตะวนั ออกเฉยี งเหนือ

ลมทพ่ี ัดพาความชน้ื จากมหาสมทุ ร การเคลื่อนท่ีของ ลมที่พัดพามวลอากาศเยน็ และแหง้ อนิ เดยี เข้าสู่บริเวณภาคตะวนั ตกและภาคใต้ของ ประเทศไทยในช่วงกลางเดือนพฤษภาคม อากาศใน 2 บรเิ วณกว้าง จากซกี โลกเหนือ บรเิ วณประเทศมองโกเลยี ถงึ กลางเดือนตลุ าคม สง่ ผลใหม้ เี มฆมากและ ฝนชกุ ทว่ั ไป โดยเฉพาะบรเิ วณชายฝง่ั ทะเล ที่มีอณุ หภมู ิแตกตา่ งกนั และจีนลงมาปกคลุมประเทศไทยในช่วง และเทือกเขาดา้ นรบั ลมจะมฝี นตกชุกมากกว่า กลางเดอื นตลุ าคมถงึ เดอื นกุมภาพนั ธ์ บริเวณอืน่ ๆ โดยภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ

จะมีทอ้ งฟ้าโปรง่ อากาศหนาวเยน็ และแห้งแลง้

ส่วนภาคใต้ โดยเฉพาะฝัง่ ตะวนั ออกจะมี

ฝนตกชกุ เน่ืองจากมรสมุ ตะวนั ออกเฉียงเหนือ

จะพัดพาเอาความช้ืนจากอา่ วไทยเข้ามา

ปกคลมุ ในพ้นื ท่ี

แผนภาพความคิด เปรียบเทยี บ ลกั ษณะของมรสุมตะวันตกเฉียงใต้กับมรสุมตะวนั ออกเฉียงเหนือ

11. นกั เรยี นแต่ละกลุ่มรว่ มกนั สรุปผลการทากิจกรรมและสรุปส่ิงทีเ่ ข้าใจเปน็ ความรรู้ ่วมกันเก่ียวกับมรสมุ ว่า มรสุมเปน็ ลมประจาฤดู เกิดบรเิ วณเขตร้อนของโลก ซึง่ เป็นบริเวณกวา้ งระดับภูมภิ าค ประเทศไทยไดร้ บั ผล จากมรสุมตะวันออกเฉยี งเหนือในช่วงประมาณกลางเดอื นตุลาคมจนถึงเดือนกุมภาพันธท์ าให้เกิดฤดูหนาว และ ได้รบั ผลจากมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ในช่วงประมาณกลางเดือนพฤษภาคมจนถึงกลางเดือนตุลาคมทาให้เกิดฤดูฝน ส่วนช่วงประมาณกลางเดือนกุมภาพันธ์จนถึงกลางเดือนพฤษภาคม เปน็ ช่วงเปลยี่ นมรสมุ และประเทศไทย อย่ใู กล้เสน้ ศูนย์สตู ร แสงอาทิตยเ์ กือบตั้งตรงและต้ังตรงประเทศไทยในเวลาเท่ยี งวัน ทาให้ได้รบั ความร้อนจาก ดวงอาทติ ย์อย่างเต็มท่ี อากาศจงึ รอ้ นอบอา้ วทาให้เกิดฤดูร้อน

12. นกั เรยี นคดิ ประเมินเพ่อื เพ่ิมคุณคา่ โดยร่วมกนั บอกประโยชนข์ องมรสุม (ตัวอย่างคาตอบ การเกดิ ฤดู เกิดฝนตก เกิดอากาศหนาวเย็น)

สอื่ การเรียนร้/ู แหลง่ การเรยี นรู้

1. หนงั สอื เรยี นรายวชิ าพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 6 ของสถาบนั พัฒนาคณุ ภาพวชิ าการ (พว.)

2. แบบฝกึ หัดรายวชิ าพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 6 ของสถาบนั พฒั นาคุณภาพวชิ าการ (พว.)

3. ชุดกจิ กรรมการเรยี นรู้พัฒนาการคิดวิเคราะหรายวิชาพ้นื ฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้ันประถมศึกษาปที ี่ 6 ของสถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.)

4. กระดาษฟลปิ ชาร์ต 5. ใบงานท่ี 32 เร่ือง อิทธิพลของมรสุมท่ีมตี ่อการเกดิ ฤดูของประเทศไทย 6. ใบกิจกรรม เรื่อง มรสุมกบั การเกิดฤดูของประเทศไทย 7. แหล่งการเรยี นรู้ทัง้ ภายในและภายนอกโรงเรียน

กจิ กรรมเสนอแนะ

นกั เรียนลองทากจิ กรรมต่อไปน้ี

กิจกรรม มรสุมกับการเกดิ ฤดขู องประเทศไทย

วธิ ที า 1. แบง่ กลุ่ม แตล่ ะกลุ่มร่วมกนั ศึกษา สืบคน้ ข้อมลู เกยี่ วกบั มรสุมกับการเกดิ ฤดูของประเทศไทย

จากแหล่งการเรยี นรู้ที่หลากหลาย แลว้ บันทกึ ข้อมูลในแผนภาพ 2. แตล่ ะกลมุ่ นาเสนอผลการทากิจกรรม

คาถามกอ่ นทากิจกรรม

1. คาถามสาคัญในการทากจิ กรรมคืออะไร (มรสุมมผี ลตอ่ การเกดิ ฤดูของประเทศไทยอยา่ งไร)

2. นักเรยี นคิดว่ามรสุมใดบ้างที่ทาใหเ้ กดิ ฤดใู นประเทศไทย (มรสมุ ตะวันออกเฉียงเหนือ และมรสุมตะวันตกเฉียงใต้)

บนั ทกึ ผลการทากจิ กรรม

มรสมุ

เกดิ จาก (การเคล่ือนทขี่ องอากาศจากบรเิ วณทม่ี อี ุณหภมู ติ า่ ไปยงั บริเวณที่มีอุณหภมู ิสูง ซง่ึ เปน็ บริเวณกว้างระดบั ภมู ิภาค)

การเกิดฤดูของประเทศไทยได้รบั อิทธิพลจาก

(มรสมุ ตะวันออกเฉียงเหนือ) (มรสมุ ตะวนั ตกเฉยี งใต้)

ช่วงเวลา ชว่ งเวลา (กลางเดือนตลุ าคมถงึ เดอื นกุมภาพันธ)์ (มรสมุ ตะวันตกเฉยี งใต้)

เกิดฤดู เกิดฤดู (ฤดหู นาว) (ฤดูฝน)

แผนภาพ มรสมุ กบั การเกดิ ฤดูของประเทศไทย

ส่วนช่วงประมาณกลางเดือนกุมภาพนั ธ์จนถงึ กลางเดอื นพฤษภาคม เปน็ ช่วงเปล่ียนมรสุม และประเทศไทยอยู่ใกล้เส้นศูนย์สตู ร แสงอาทิตยเ์ กือบต้ังตรง

และตง้ั ตรงประเทศไทยในเวลาเทยี่ งวนั ทาให้ไดร้ บั ความร้อนจากดวงอาทิตย์ อย่างเต็มท่ี อากาศจึงร้อนอบอ้าว ทาให้เกิด

คาถามหลังทากิจกรรม

1. มรสุมเกิดขึ้นได้อยา่ งไร (มรสุมเกิดจากการเคลอื่ นทขี่ องอากาศจากบรเิ วณทมี่ ีอุณหภูมติ า่ ไปยังบริเวณทมี่ ีอณุ หภูมสิ งู ซึง่ เปน็ บริเวณกว้างระดบั ภูมภิ าค)

2. มรสมุ ที่ประเทศไทยได้รบั ส่งผลตอ่ การเกิดฤดูอย่างไร (ประเทศไทยได้รบั ผลจากมรสุมตะวนั ออกเฉียงเหนอื ทาให้เกดิ ฤดูหนาว ผลจากมรสุมตะวันตกเฉยี ง ใตท้ าใหเ้ กดิ ฤดูฝน)

3. ฤดรู ้อนของประเทศไทยเกดิ ในช่วงเดอื นใด เพราะเหตุใด (ฤดูร้อนของประเทศไทย เกดิ ในช่วงประมาณกลางเดือนกุมภาพนั ธ์ จนถึงกลางเดือนพฤษภาคม เป็นชว่ งเปลีย่ นมรสุม และประเทศไทยอยใู่ กล้เสน้ ศูนย์สตู ร แสงอาทติ ยเ์ กือบต้งั ตรงและตง้ั ตรง ประเทศไทยในเวลาเท่ียงวัน ทาใหไ้ ด้รบั ความรอ้ นจากดวงอาทิตย์อยา่ งเต็มที่ อากาศจึงร้อนอบอ้าว ทาให้เกิดฤดูรอ้ น)

4. สรปุ ผลการทากจิ กรรมได้ว่าอย่างไร (ประเทศไทยอยใู่ กล้เสน้ ศนู ย์สูตร ทาให้ไดร้ ับพลงั งานความรอ้ นจากดวงอาทติ ย์ตลอดทั้งปี และไดร้ ับอทิ ธิพลจากมรสมุ 2 ชนดิ คือ มรสมุ ตะวนั ออกเฉียงเหนือและมรสุมตะวนั ตกเฉียงใต้ ทาใหป้ ระเทศไทยมีฤดูเพยี ง 3 ฤดู ไดแ้ ก่ ฤดูร้อน ฤดฝู น และฤดูหนาว)

จงทากจิ กรรมอย่างรวมพลงั ด้วยความใฝ่รู้และมุ่งมัน่

กจิ กรรมเสนอแนะ

นกั เรียนลองทากจิ กรรมต่อไปน้ี

กิจกรรม มรสุมกับการเกดิ ฤดขู องประเทศไทย

วธิ ที า 1. แบง่ กลุ่ม แตล่ ะกลุ่มร่วมกนั ศึกษา สืบคน้ ข้อมลู เกยี่ วกบั มรสุมกับการเกดิ ฤดูของประเทศไทย

จากแหล่งการเรยี นรู้ที่หลากหลาย แลว้ บันทกึ ข้อมูลในแผนภาพ 2. แตล่ ะกลมุ่ นาเสนอผลการทากิจกรรม

คาถามกอ่ นทากิจกรรม

1. คาถามสาคัญในการทากจิ กรรมคืออะไร (มรสุมมผี ลตอ่ การเกดิ ฤดูของประเทศไทยอยา่ งไร)

2. นักเรยี นคิดว่ามรสุมใดบ้างที่ทาใหเ้ กดิ ฤดใู นประเทศไทย (มรสมุ ตะวันออกเฉียงเหนือ และมรสุมตะวันตกเฉยี งใต้)

บันทึกผลการทากิจกรรม

มรสุม

เกดิ จาก (การเคล่ือนที่ของอากาศจากบริเวณทมี่ ีอุณหภมู ติ ่าไปยงั บริเวณท่ีมีอุณหภมู ิสงู ซงึ่ เปน็ บรเิ วณกวา้ งระดับภูมิภาค)

การเกิดฤดขู องประเทศไทยได้รบั อิทธพิ ลจาก

(มรสมุ ตะวันออกเฉยี งเหนือ) (มรสมุ ตะวันตกเฉียงใต้)

ชว่ งเวลา ชว่ งเวลา (กลางเดือนตุลาคมถงึ เดอื นกุมภาพนั ธ์) (กลางเดอื นพฤษภาคมถึงกลางเดือนตุลาคม)

เกดิ ฤดู เกิดฤดู (ฤดูหนาว) (ฤดฝู น)

แผนภาพ มรสมุ กบั การเกิดฤดูของประเทศไทย

สว่ นชว่ งประมาณกลางเดือนกุมภาพันธจ์ นถึงกลางเดือนพฤษภาคม เปน็ ช่วงเปลี่ยนมรสมุ และประเทศไทยอยู่ใกลเ้ สน้ ศูนยส์ ูตร แสงอาทิตย์เกือบตัง้ ตรง

และตง้ั ตรงประเทศไทยในเวลาเท่ียงวัน ทาใหไ้ ดร้ ับความร้อนจากดวงอาทิตย์ อยา่ งเตม็ ท่ี อากาศจึงร้อนอบอ้าว ทาให้เกิด (ฤดรู ้อน)

คาถามหลังทากจิ กรรม

1. มรสมุ เกดิ ขน้ึ ได้อย่างไร (มรสุมเกดิ จากการเคล่อื นทข่ี องอากาศจากบริเวณทม่ี ีอุณหภูมิตา่ ไปยังบรเิ วณท่มี ีอุณหภูมิสงู ซงึ่ เป็นบริเวณกวา้ งระดบั ภมู ิภาค)

2. มรสุมทปี่ ระเทศไทยไดร้ ับส่งผลต่อการเกิดฤดูอยา่ งไร (ประเทศไทยได้รับผลจากมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือทาให้เกิดฤดหู นาว ผลจากมรสมุ ตะวันตกเฉียงใต้ ทาใหเ้ กิดฤดฝู น)

3. ฤดูร้อนของประเทศไทยเกิดในช่วงเดอื นใด เพราะเหตุใด (ฤดูรอ้ นของประเทศไทย เกดิ ในช่วงประมาณกลางเดือนกุมภาพันธ์ จนถงึ กลางเดือนพฤษภาคม เปน็ ชว่ งเปล่ียนมรสมุ และประเทศไทยอยใู่ กลเ้ สน้ ศูนย์สูตร แสงอาทติ ย์เกือบตง้ั ตรงและตั้งตรง ประเทศไทยในเวลาเท่ยี งวัน ทาให้ได้รบั ความรอ้ นจากดวงอาทติ ย์อยา่ งเต็มท่ี อากาศจงึ ร้อนอบอ้าว ทาให้เกดิ ฤดรู อ้ น)

4. สรุปผลการทากิจกรรมได้ว่าอยา่ งไร (ประเทศไทยอยใู่ กลเ้ ส้นศูนย์สูตร ทาให้ไดร้ บั พลงั งานความร้อนจากดวงอาทิตยต์ ลอดทั้งปี และไดร้ ับอิทธิพลจากมรสมุ 2 ชนดิ คือ มรสุมตะวนั ออกเฉียงเหนอื และมรสมุ ตะวันตกเฉียงใต้ ทาใหป้ ระเทศไทยมีฤดูเพยี ง 3 ฤดู ได้แก่ ฤดูรอ้ น ฤดฝู น และฤดหู นาว)

จงทากจิ กรรมอยา่ งรวมพลงั ด้วยความใฝร่ ู้และมุ่งม่นั

การประเมนิ การเรยี นรู้

1. ประเมนิ ความรู้ เร่ือง มรสุม (K) ดว้ ยแบบทดสอบ 2. ประเมนิ การปฏบิ ตั ิการทากจิ กรรม และการสบื สอบข้อมูล (P) ดว้ ยแบบประเมนิ 3. ประเมินคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ ด้านซ่ือสัตย์สุจรติ ใฝเ่ รียนรู้ มุ่งม่ันในการทางาน (A)

ดว้ ยแบบประเมนิ

แบบประเมินตามสภาพจรงิ (Rubrics)

แบบประเมนิ การปฏบิ ตั กิ ารทากจิ กรรม

รายการการประเมนิ 4 ระดับคุณภาพ 1 32

1. การทากิจกรรม ทากิจกรรมตามวิธกี าร ทากจิ กรรมตามวิธีการ ทากิจกรรมตามวธิ ีการ ทากจิ กรรมไมถ่ กู ตอ้ ง

ตามแผนทกี่ าหนด และข้นั ตอนท่ีกาหนดไว้ และข้ันตอนท่กี าหนดไว้ และขั้นตอนทก่ี าหนดไว้ ตามวธิ ีการและขัน้ ตอน

อยา่ งถกู ตอ้ งด้วยตนเอง ดว้ ยตนเอง มกี ารปรบั ปรุง โดยมีครหู รือผูอ้ ่ืน ทก่ี าหนดไว้ ไมม่ ีการ

มีการปรับปรงุ แกไ้ ข แกไ้ ขบา้ ง เป็นผแู้ นะนา ปรับปรงุ แก้ไข

เปน็ ระยะ

2. การใชอ้ ปุ กรณ์ ใชอ้ ุปกรณ์และ/หรอื ใช้อุปกรณ์และ/หรือ ใชอ้ ุปกรณแ์ ละ/หรือ ใชอ้ ุปกรณ์และ/หรอื

และ/หรือเคร่ืองมอื เคร่ืองมอื ในการทา เคร่อื งมือในการทา เคร่ืองมือในการทา เครอ่ื งมือในการทา

กิจกรรมได้อยา่ งถูกต้อง กิจกรรมไดอ้ ย่างถูกตอ้ ง กจิ กรรมไดอ้ ย่างถูกต้อง กจิ กรรมไมถ่ ูกต้อง

ตามหลกั การปฏิบัติ ตามหลักการปฏิบตั ิ โดยมคี รหู รือผูอ้ ืน่ และไม่มคี วามคลอ่ งแคล่ว

และคล่องแคล่ว แต่ไม่คล่องแคลว่ เป็นผแู้ นะนา ในการใช้

3. การบันทกึ ผล บนั ทึกผลเปน็ ระยะ บนั ทึกผลเปน็ ระยะ บนั ทกึ ผลเป็นระยะ บันทกึ ผลไม่ครบ

การทากิจกรรม อยา่ งถกู ต้อง มีระเบยี บ อยา่ งถูกต้อง มีระเบยี บ แต่ไม่เป็นระเบียบ ไม่มกี ารระบหุ น่วย

มีการระบหุ นว่ ย มกี าร มีการระบุหนว่ ย ไม่มีการระบุหน่วย และไมเ่ ปน็ ไปตาม

อธบิ ายขอ้ มูลให้เห็น มีการอธิบายข้อมลู และไม่มีการอธิบายขอ้ มลู การทากจิ กรรม

ความเชือ่ มโยงเป็นภาพรวม ใหเ้ ห็นถงึ ความสมั พันธ์ ใหเ้ ห็นถึงความสมั พันธ์

เปน็ เหตเุ ป็นผล และเปน็ ไป เป็นไปตามการ ของการทากจิ กรรม

ตามการทากิจกรรม ทากิจกรรม

4. การจดั กระทาข้อมลู จดั กระทาข้อมลู จัดกระทาข้อมลู จัดกระทาขอ้ มลู จดั กระทาข้อมลู

และการนาเสนอ อย่างเป็นระบบ อย่างเปน็ ระบบ อย่างเปน็ ระบบ อย่างไม่เป็นระบบ

มกี ารเชอื่ มโยงใหเ้ หน็ มีการจาแนกขอ้ มลู มีการยกตวั อยา่ งเพ่มิ เตมิ และมกี ารนาเสนอ

เป็นภาพรวม และนาเสนอ ให้เห็นความสมั พันธ์ ใหเ้ ขา้ ใจงา่ ย และนาเสนอ ไม่ส่อื ความหมาย

ด้วยแบบต่าง ๆ อยา่ งชัดเจน นาเสนอด้วยแบบต่าง ๆ ดว้ ยแบบตา่ ง ๆ แตย่ ัง และไม่ชัดเจน

ถกู ตอ้ ง ได้ แต่ยังไมช่ ัดเจน ไมช่ ัดเจนและไม่ถกู ตอ้ ง

รายการการประเมิน 4 ระดับคณุ ภาพ 1 32

5. การสรปุ ผล สรปุ ผลการทากิจกรรมได้ สรุปผลการทากจิ กรรม สรุปผลการทากจิ กรรมได้ สรุปผลการทากิจกรรม การทากิจกรรม อย่างถกู ต้อง กระชับ ได้ถกู ต้อง แตย่ ัง โดยมีครูหรอื ผู้อ่นื แนะนา ตามความรทู้ พี่ อมีอยู่

ชดั เจน และครอบคลมุ ไมค่ รอบคลุมข้อมลู บา้ ง จึงสามารถสรปุ ได้ โดยไม่ใช้ข้อมลู

ขอ้ มูลจากการวเิ คราะห์ จากการวเิ คราะห์ทัง้ หมด ถูกต้อง จากการทากจิ กรรม

ท้ังหมด

6. การดูแลและการเกบ็ ดแู ลอปุ กรณ์และ/หรอื ดแู ลอุปกรณแ์ ละ/หรอื ดแู ลอปุ กรณ์และ/หรอื ไม่ดแู ลอปุ กรณ์และ/

อปุ กรณแ์ ละ/หรือ เครือ่ งมอื ในการทา เคร่อื งมอื ในการทา เคร่อื งมือในการทา หรอื เครื่องมอื ในการทา กจิ กรรม และมีการ กจิ กรรม มกี าร กิจกรรม และไม่สนใจ เครือ่ งมอื กจิ กรรม และมีการ

ทาความสะอาด ทาความสะอาด ทาความสะอาด ทาความสะอาด แตเ่ กบ็ ไม่ถูกต้อง รวมท้งั เกบ็ ไม่ถูกตอ้ ง และเกบ็ อย่างถูกต้อง อย่างถกู ต้อง แตเ่ ก็บ ต้องใหค้ รหู รอื ผู้อ่ืน แนะนา ตามหลักการ และแนะนา ไม่ถูกต้อง

ให้ผอู้ นื่ ดูแลและ

เกบ็ รักษาไดถ้ กู ตอ้ ง

แบบประเมนิ การสืบสอบขอ้ มลู

รายการการประเมนิ 4 ระดับคณุ ภาพ 1 32

1. การวางแผนคน้ คว้า วางแผนทจ่ี ะค้นควา้ ข้อมูล วางแผนที่จะค้นควา้ ข้อมูล วางแผนทจ่ี ะค้นควา้ ข้อมลู ไม่มีการวางแผนท่ีจะ

ขอ้ มลู จาก จากแหลง่ การเรยี นรู้ จากแหลง่ การเรียนรู้ จากแหลง่ การเรียนรู้ คน้ คว้าขอ้ มูลจาก

แหลง่ การเรียนรู้ ทห่ี ลากหลาย เช่ือถอื ได้ ท่หี ลากหลายและเหมาะสม โดยมีครูหรอื ผูอ้ น่ื แหลง่ การเรียนรู้

กระทู้ที่เกี่ยวข้อง

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

แปลภาษาไทย ไทยแปลอังกฤษ โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน lmyour แปลภาษา ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv แปลภาษาอาหรับ-ไทย แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip แอพแปลภาษาอาหรับเป็นไทย ค้นหา ประวัติ นามสกุล ห่อหมกฮวกไปฝากป้า หนังเต็มเรื่อง ไทยแปลอังกฤษ ประโยค Terjemahan เมอร์ซี่ อาร์สยาม ล่าสุด แปลภาษาจีน กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น ่้แปลภาษา Google Translate ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย พร บ ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 วิธีใช้มิเตอร์วัดไฟดิจิตอล สหกรณ์ออมทรัพย์กรมส่งเสริมการปกครอง ส่วนท้องถิ่น ห่อหมกฮวก แปลว่า Bahasa Thailand Thailand translate mu-x มือสอง รถบ้าน การวัดกระแสไฟฟ้า ด้วย แอมมิเตอร์ การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 4 ก่อนจะนิ่งก็ต้องกลิ้งมาก่อน เนื้อเพลง ก่อนจะนิ่งก็ต้องกลิ้งมาก่อน แคปชั่น พจนานุกรมศัพท์ทหาร ภูมิอากาศ มีอะไรบ้าง สถาบันพัฒนาบุคลากรท้องถิ่น อาจารย์ ตจต อเวนเจอร์ส ทั้งหมด เขียน อาหรับ แปลไทย ใบรับรอง กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน Google map Spirited Away 2 spirited away ดูได้ที่ไหน tor คือ จัดซื้อจัดจ้าง กินยาคุมกี่วัน ถึง ปล่อยในได้ ธาตุทองซาวด์เนื้อเพลง บช.สอท.ตำรวจไซเบอร์ ล่าสุด บบบย มิติวิญญาณมหัศจรรย์ ตอนจบ รหัสจังหวัด อําเภอ ตําบล ศัพท์ทางทหาร military words สอบ O หยน