กราฟแสดงความส มพ นธ ปร มาตร อ ณหภ ม

Download

  • Publications :0
  • Followers :0

(คู่มือ) หนังสือเรียนสสวท พื้นฐาน ม.6 วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ

(คู่มือ) หนังสือเรียนสสวท พื้นฐาน ม.6 วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ คู่มือครู รายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6

ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!

Create your own flipbook

  • Follow
  • Upload
  • 0
  • Embed
  • Share

เมื่อเวลาผ่านไปความชันของกราฟลดลง แสดงว่า ปฏิกิริยา เกิดขนึ้ ไดช้ ้าลง)

10. นักเรียนรับความรู้เพิ่มเติมจนได้ข้อสรุปดังนี้ “การเกิด H2 จากปฏิกิริยาระหว่าง Mg กับ HCl ในช่วงแรกเกิดขึ้นเร็วและค่อย ๆ ช้าลงเมื่อเวลาผา่ นไป ซึ่งสัมพันธ์กับความชันของกราฟระหว่างปริมาตร H2 กับเวลา”

5

ข้ันท่ี 4 ขยายความเข้าใจ (Elaborate) 11. นกั เรียนรับความรู้เพิ่มเติมเกีย่ วกบั การติดตามการดำเนินไปของปฏิกริ ิยาเคมีซ่งึ ทำได้หลายวิธีแต่

ในทางปฏิบัตจิ ะเลือกการวัดปรมิ าณสารด้วยวิธีที่สะดวกท่ีสดุ โดยใชเ้ ครอ่ื งมือต่าง ๆ เชน่ - วดั ความเปน็ กรดเบสของสารละลายดว้ ย pH meter - วัดปริมาณสารมีสใี นสารละลายดว้ ย spectrophotometer - วดั การนำไฟฟ้าดว้ ย conductometer

pH meter spectrophotometer conductometer

12. ครูนำผลการเปลี่ยนแปลงความเข้มข้นของสารตั้งต้น ณ เวลาต่าง ๆ ที่อุณหภูมิ 300 องศา เซลเซยี ส ของปฏกิ ริ ิยา 2NO2 (g) → 2NO(g)+ O2(g)

เวลา (s) ความเข้มขน้ ของ 2NO2 (M) 1 4

2 2.87

32

4 1.72

5 1.3

6 0.94

7 0.78

8 0.55

9 0.43

13. นักเรียนนำข้อมูลไปเขียนกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างเวลากับความเข้มข้นของ 2NO2 14. นักเรียนและครูร่วมกนั เปรียบเทียบแนวโน้มของกราฟระหว่างกราฟแสดงความสัมพันธร์ ะหว่าง

ปริมาตรของแก๊สไฮโดรเจนกับเวลา และกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างความเข้มข้นของ 2NO2 กับเวลา จนได้ข้อสรุปว่า “ลกั ษณะของกราฟท้ังสองกราฟในตอนแรกจะมีความชนั มาก แสดงว่า ปฏกิ ริ ิยาเกิดได้เร็ว และ

เมื่อเวลาผ่านไปความชันของกราฟลดลง แสดงว่า ปฏิกิริยาเกิดขึ้นได้ช้าลง ซึ่งปฏิกิริยาเคมีเกิดขึ้นช้าหรือเร็ว มี

ความสัมพันธ์กับการเปลี่ยนแปลงปริมาณของสารในปฏิกิริยาเคมีต่อหนึ่งหน่วยเวลา ซึ่งเรียกว่า อัตราการ

เปล่ียนแปลงปรมิ าณสาร”

6

ข้นั ที่ 5 ตรวจสอบผล (Evaluate)

15. นักเรยี นสรุปสง่ิ ท่ีได้เรียนรู้ เก่ียวกบั ความหมายของอตั ราการเกิดปฏิกิริยาเคมลี งในสมุด

16. ใหน้ กั เรยี นตอบคำถามตรวจสอบความเขา้ ใจ หนา้ 60 ลงในสมดุ

4. ส่อื การเรียนการสอน/แหล่งเรยี นรู้

4.1 สื่อการเรียนการสอน

1. อุปกรณ์การทดลองต่อกลุ่มดังนี้

- โลหะแมกนเี ซียม - นาฬกิ าจับเวลา

- สารละลายกรดไฮโดรคลอริกเขม้ ขน้ 0.2 mol /L - กระดาษทราย

- บีกเกอร์ขนาด 100 cm3 - มีดคัดเตอร์

- ทีห่ นบี หลอดทอลองพรอ้ มขาต้งั - จุกคอรก์

- กระบอกตวงขนาด 10 cm3

2. หนังสือเรียนรายวิชาวิทยาศาสตร์เพิ่มเติมเคมี เล่ม 3 สสวท. (ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ัน

พืน้ ฐาน พ.ศ. 2551 ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. 2560)

3. ใบกิจกรรม เรื่อง ศึกษาการเกิดแก๊สไฮโดรเจนจากปฏิกิริยาระหว่างโลหะแมกนีเซียมกับกรดไฮโดร

คลอริก และใบรายงานผลการทดลอง

4.2 แหล่งการเรยี นรู้

1. หอ้ งสมดุ

2. หอ้ งคอมพิวเตอร์

7

5. การวัดและการประเมนิ ผล

จดุ ประสงค์ วิธีวัด เครื่องมือ เกณฑ์การประเมนิ

ดา้ นความรู้ (K)

1. นักเรยี นสามารถบอกความหมายของอัตรา -สังเกตการนำเสนอ -แบบประเมินการ -ได้คะแนนในระดับ

การเปลี่ยนแปลงปริมาณสารในปฏิกิริยาเคมี หนา้ ชั้นเรยี น นำเสนอผลงานหน้าช้ัน 3 (ด)ี ขนึ้ ไป

ได้ เรียน

2. นักเรียนสามารถอธิบายความสัมพันธ์ -การตอบคำถาม -ขอ้ คำถาม -ไดค้ ะแนนร้อยละ

ระหว่างค่าความชันกับอัตราการเกิดปฏิกิริยา 70 ขน้ึ ไป

เคมี

ดา้ นทักษะ/กระบวนการ (P)

3. นักเรียนสามารถทำการทดลองเร่ือง ศึกษา -สังเกตุการทำการ -แบบสงั เกตพฤติกรรม ได้คะแนนในระดับ 3

การเกิดแก๊สไฮโดรเจนจากปฏิกิริยาระหว่าง ทดลอง การทดลอง (ดี) ขึ้นไป

โลหะแมกนเี ซยี มกบั กรดไฮโดรคลอรกิ

4. นักเรียนสามารถเขียนกราฟแ ส ด ง -ตรวจใบรายงาน -ใบรายงานผลการ -ได้คะแนนร้อยละ

ความสัมพันธ์ระหว่างปริมาตรของแก๊ส ผลการทดลอง ทดลอง 70 ขึน้ ไป

ไฮโดรเจนกบั เวลาได้

ดา้ นคุณลักษณะ (A)

5. นักเรยี นมคี วามรบั ผดิ ชอบต่องานที่ไดร้ ับ -การสังเกต -แบบประเมิน -ไดค้ ะแนนในระดับ

มอบหมายและสามารถทำงานรว่ มกับผู้อื่นได้ คุณลกั ษณะอันพงึ 3 (ดี) ขน้ึ ไป

ประสงค์

8

9

แบบสงั เกตพฤตกิ รรมนักเรียน เพอ่ื การประเมินคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์

คำช้แี จง การบันทึกให้ทำเคร่ืองหมาย / ลงในชอ่ งทตี่ รงกบั พฤตกิ รรมท่ีเกดิ ขนึ้ จรงิ

เลข พฤตกิ รรมการแสดงออก

ที่ มีวนิ ยั ใฝเ่ รียนรู้ ม่งุ ม่นั ในการทำงาน คะแนน ผลการประเมิน

321032103210

1/ / / 9 ดเี ย่ยี ม

2/ / / 9 ดีเยย่ี ม

3/ / / 9 ดีเยย่ี ม

4 / / / 3 ผา่ น

5 / / / 6 ดีเย่ียม

6 / / / 6 ดีเยย่ี ม

7/ / / 9 ดเี ยย่ี ม

8/ / / 9 ดเี ยย่ี ม

9/ / / 9 ดเี ยย่ี ม

10 / / / 9 ดเี ยย่ี ม

11 / / / 9 ดเี ยย่ี ม

12 / / 9 ดเี ยย่ี ม

13 / / / 9 ดเี ยย่ี ม

14 / / / 9 ดีเยย่ี ม

15 / / / 9 ดีเยย่ี ม

16 / / / 9 ดีเย่ียม

17 / / / 9 ดเี ยี่ยม

18 / / / 9 ดเี ยี่ยม

19 / / / 9 ดเี ยี่ยม

20 / / / 6 ดีเยี่ยม

21 / / / 9 ดีเยี่ยม

22 / / / 9 ดีเยี่ยม

23 / / / 9 ดเี ยี่ยม

24 / / / 9 ดเี ยย่ี ม

25 / / / 6 ดี

26 / / / 9 ดเี ยี่ยม

10

เลข พฤติกรรมการแสดงออก

ท่ี มวี ินยั ใฝเ่ รียนรู้ มงุ่ มั่นในการทำงาน คะแนน ผลการประเมิน

321032103210

27 / / / 6 ดี

28 / / / 9 ดเี ย่ยี ม

29 / / / 6 ดี

30 / / / 9 ดีเยี่ยม

31 / / / 6 ดี

32 / / / 9 ดีเยีย่ ม

33 / / / 9 ดเี ยีย่ ม

34 / / / 3 ผา่ น

35 / / / 3 ผ่าน

ลงชอ่ื ................................................ผปู้ ระเมนิ (นางสาวพิชญา คำพรมมา)

11

เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน

มวี ินยั = ปฏิบัติตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อบังคับของครอบครัวและโรงเรียน ตรงตอ่ เวลาในการปฏิบตั กิ ิจกรรมต่าง ๆ ในชีวติ ประจำวนั และรับผิดชอบในการทำงาน ใฝ่เรยี นรู้ = แสวงหาข้อมูลจากแหล่งการเรียนรู้ต่าง ๆ มีการจดบันทึกความรู้อย่างเป็นระบบ สรุป ความรูไ้ ดอ้ ยา่ งมเี หตผุ ล มงุ่ มนั่ ใน = มคี วามตงั้ ใจและพยายามในการทำงานท่ไี ด้รับมอบหมาย มีความอดทนและไม่ การทำงาน ท้อแท้ตอ่ อุปสรรคเพื่อใหง้ านสำเรจ็

หมายเหตุ : ปฏบิ ัติหรอื แสดงพฤติกรรมอยา่ งสมำ่ เสมอ ให้ 3 คะแนน ปฏบิ ตั หิ รือแสดงพฤติกรรมอย่างบอ่ ยครงั้ ให้ 2 คะแนน ปฏบิ ตั ิหรือแสดงพฤตกิ รรมอยา่ งบางครง้ั ให้ 1 คะแนน ปฏบิ ัติหรอื แสดงพฤตกิ รรมอยา่ งน้อยครั้ง ให้ 0 คะแนน

เกณฑ์การตดั สินคณุ ภาพ

ระดบั ช่วงคะแนน คณุ ภาพ

ดเี ยย่ี ม ได้คะแนนรวมระหว่าง 7-9 คะแนน

ดี ได้คะแนนรวมระหวา่ ง 4-6 คะแนน

ผา่ น ได้คะแนนรวมระหว่าง 2-3 คะแนน

ไม่ผา่ น ได้คะแนนรวมระหว่าง 0-1 คะแนน

12

แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทดลอง

จดุ ประสงค์ : เพอ่ื วดั ความสามารถและทกั ษะในการปฏิบัติการทดลอง

………………………………………………………………………………………………………………………………………...

คำชี้แจง ให้กาเครื่องหมายถูก (√) ลงในช่องระดับคุณภาพ ที่ตรงกับระดับคุณภาพการปฏิบัตขิ องผู้เรียนตาม

แบบบนั ทกึ รายงานการปฏบิ ตั ทิ กั ษะการทดลอง

รายการท่ปี ระเมนิ ระดบั คุณภาพ 4321

1. เลือกใช้เครอื่ งมอื และอปุ กรณ์การทดลองได้อย่างถูกต้อง /

2. ตรวจเช็คเคร่ืองมือและอปุ กรณ์การทดลองก่อนการทดลอง /

3. ใช้เครื่องมือและอุปกรณ์การทดลองได้อย่างถูกต้องตรงตาม /

ประเภทของงาน

4. ปฏิบัติตามข้นั ตอนการทดลองได้อย่างถูกต้อง /

5. ผลการทดลองมีความถกู ต้องชัดเจน /

6. ปฏิบัติการทดลองไดแ้ ลว้ เสรจ็ ภายในเวลาที่กำหนด /

7. ทำความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ์การทดลองภายหลัง /

สิน้ สดุ การทดลอง

8. มกี ารบันทกึ ผลการทดลองทถี่ ูกตอ้ งและชดั เจน /

9. สรปุ และอภิปรายผลการทดลองได้อยา่ งถกู ตอ้ งและเหมาะสม /

10. มีการรายงานผลการทดลอง /

รวมคะแนน 36 ดมี าก

เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน เกณฑก์ ารตัดสินคุณภาพ

ปฏบิ ัติการทดลองถกู ตอ้ ง ครบถ้วน = 4 คะแนน ชว่ งคะแนน ระดับคุณภาพ ปฏบิ ัติการทดลองยังมีขอ้ บกพร่องเล็กน้อย = 3 คะแนน 31 - 40 ดมี าก ปฏิบตั ิการทดลองมขี ้อบกพร่องเปน็ สว่ นใหญ่ = 2 คะแนน 21 - 30 ดี ปฏบิ ัติการทดลองมขี ้อบกพร่องมาก = 1 คะแนน 11 - 20 พอใช้ 1 – 10 ปรับปรงุ

13

ภาคผนวก

14

ใบกิจกรรม ความหมายของอตั ราการเกิดปฏิกิริยาเคมี

ชื่อ - นามสกุล........................................................................................................เลขท่ี....................

1. ปฏิกิริยาเคมี คือ............................................................................................................................................. ...................................................................................................................................................................... ........ 2. ปฏกิ ิรยิ าเคมเี กดิ ข้ึนได้เร็วหรือช้า วัดไดอ้ ย่างไร................................................................................................. 3. ความเร็วที่ตัวทำปฏิกริ ิยาเปลี่ยนแปลงไปเป็นสารผลิตภณั ฑ์ต่อหน่วยเวลา โดยที่หน่วยความเข้มข้นของสาร เป็น mol/dm3 หมายถึง .................................................................................................................................. 4. การหาอัตราการเปลี่ยนแปลงปริมาณสาร สามารถเขียน แสดงความสัมพันธ์ได้อย่างไร .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 5. สาร A 2โมลาร์ ทำปฏิกิริยากับสาร B 1โมลาร์ ในหนึ่งหน่วยเวลา และเกิดสาร C 2โมลาร์ จงเขียนกราฟ แสดงความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งสาร A , B และ C

15

การทดลองศกึ ษาการเกิดแกส๊ ไฮโดรเจนจากปฏิกริ ยิ าระหวา่ งโลหะแมกนีเซยี มกบั กรด ไฮโดรคลอริก ชอ่ื ผ้รู ายงาน................................................................................................... เลขที่........................... ชอ่ื ผรู้ ่วมรายงาน 1......................................................................................... เลขท่ี.......................... ชือ่ ผู้รว่ มรายงาน 2......................................................................................... เลขที่.......................... ชือ่ ผ้รู ่วมรายงาน 3......................................................................................... เลขท่ี.......................... ชอ่ื ผ้รู ่วมรายงาน 4......................................................................................... เลขท่ี.......................... ชื่อผู้ร่วมรายงาน 5......................................................................................... เลขท่ี..........................

จดุ ประสงค์การทดลอง ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ผลการทดลอง

ปริมาณแกส๊ H2 (cm3) เวลา (s)

เขยี นกราฟแสดงความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งปรมิ าณของแก๊สไฮโดรเจนกับเวลา

16

สรุปและวิจารณผ์ ลการทดลอง ............................................................................................................................. ................................................. .................................................................................. ............................................................................................ ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .................................................................................. ............................................................................................ ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. .................................................

คำถำมทำ้ ยกำรทดลอง

1. การเกิดแกส๊ ไอโดรเจนในแตล่ ะชว่ งปรมิ าตรใชเ้ วลาเทา่ กันหรอื ไม่ อยา่ งไร

............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................................ .................................. ................................................................................................. ............................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .................................................................................................................................. ............................................ 2. ความชันของกราฟคงที่ตลอดทุกช่วงการทดลองหรือไม่ อย่างไร สัมพันธ์กับอัตราเร็วในการเกิด แก๊ส ไฮโดรเจนอย่างไร

............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ..............................................................................................................................................................................

17

แผนการจัดการเรยี นร้ทู ่ี 10

กลุม่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี โรงเรยี นโคกคอนวทิ ยาคม ภาคเรียนที่ 1 ปีกาศกึ ษา 2565 รายวชิ า เคมีเพ่ิมเติม 3 ว 32223 ช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี 5 เวลาเรียน 3 ชว่ั โมง หนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่ 8 เรื่อง การคำนวณอัตราการเกดิ ปฏิกริ ยิ าเคมี ผู้สอน นางสาวพชิ ญา คำพรมมา

สอนวนั ที่ .......... เดอื น .................................. พ.ศ. ..............

1. เปา้ หมายการเรยี นรู้ 1.1 สาระวทิ ยาศาสตร์เพิ่มเตมิ /ผลการเรยี นรู้ สาระเคมี 2 1. เข้าใจการเขียนและการดุลสมการเคมี ปริมาณสัมพันธ์ในปฏิกิริยาเคมี อัตราการเกิดปฏิกิริยา

เคมี สมดลุ ในปฏิกิริยาเคมี สมบัตแิ ละปฏิกริ ยิ าของกรด-เบส ปฏกิ ริ ิยารีดอกซแ์ ละเซลล์เคมีไฟฟ้า รวมทงั้ การนำ ความรู้ไปใช้ประโยชน์

ผลการเรยี นรู้ 1. คำนวณอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี และเขียนกราฟการลดลงหรือเพิ่มขึ้นของสารที่ไม่ได้วัดใน ปฏกิ ริ ยิ า 1.2 จดุ เน้นทีต่ อ้ งการพัฒนาผ้เู รยี นตามช่วงวัย

ทักษะการเรียนรใู้ นศตวรรษท่ี ทกั ษะการคิด คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ 21 1. การใช้จำนวน 1. มีวินยั 1. การคดิ อยา่ งมีวิจารณญาณ และการแก้ปญั หา 2. การจัดกระทำและสื่อความ 2. ใฝเ่ รยี นรู้

หมายข้อมูล 3. มงุ่ มัน่ ในการทำงาน

1.3 ความคิดรวบยอด

ปฏกิ ริ ยิ าเคมีแตล่ ะปฏิกิริยามีอตั ราการเกิดปฏิกิริยาเคมีต่างกนั โดยอาจวัดจากการลดลงของสารต้ังต้น หรือการเพิ่มขึ้นของผลิตภัณฑ์ต่อหนึ่งหน่วยเวลา และหารด้วยเลขสัมประสิทธิ์ของสารนั้น ๆ ในสมการเคมี เพื่อใหไ้ ดอ้ ัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีท่เี ทา่ กันไมว่ า่ จะเปน็ การวัดจากสารต้งั ต้นหรอื ผลิตภัณฑ์

ปฏิกิริยาเคมีเกิดขึ้นเร็วหรือช้า มีความสัมพันธ์กับการเปลี่ยนแปลงปริมาณของสารในปฏิกริ ยิ าเคมตี ่อ หนึ่งหน่วยเวลา ซึ่งเรียกว่า อัตราการเปล่ียนแปลงปริมาณสาร สามารถเขียนแสดงความสัมพันธไ์ ด้ดงั นี้ สาร A เปล่ียนไปเปน็ สาร B ดงั สมการตอ่ ไปนี้

AB

18

อัตราการเปลย่ี นแปลงปริมาตรของสาร A = - ปริมาณของสาร A ทเี่ ปลย่ี นแปลงไป ระยะเวลาทีเ่ กิดปฏิกิริยา ∆A \= - ∆t

-= A2- A1 t2- t1 ในทางกลบั กัน อตั ราการเปลี่ยนแปลงปรมิ าณของสารผลิตภัณฑจ์ ะมีคา่ เพิ่มข้นึ เมอื่ ปฏิกริ ิยาเคมีดำเนิน

ไป เขียนแสดงความสัมพนั ธ์ไดด้ ังน้ี

ปรมิ าณของสาร B ที่เปลี่ยนแปลงไป อัตราการเปล่ยี นแปลงปริมาตรของสาร B = ระยะเวลาทีเ่ กิดปฏิกิริยา ∆B \= ∆t

\= B2- B1 t2- t1 1.4 สาระการเรียนรู้

1. การคำนวณอตั ราการเปดิ ปฏิกิริยาเคมี

1.5 จดุ ประสงค์การเรยี นรู้

หลังจบกิจกรรมการจดั การเรยี นรู้ นกั เรียนสามารถ

ด้านความรู้ (K)

1. นักเรียนสามารถเปรียบเทยี บอัตราการเปล่ียนแปลงปริมาณของสารแต่ละชนิดในแตล่ ะช่วงเวลา

ได้

ด้านทักษะ/กระบวนการ (P)

2. นักเรียนสามารถคำนวณอัตราการเกิดปฏิกิริยาของสารแต่ละชนิดที่เวลาเดียวกันหรือแตกต่าง

กนั ได้

3. นกั เรียนสามารถเขียนกราฟการลดลงหรือเพ่มิ ขน้ึ ของสารท่ีไม่ไดว้ ดั ในปฏิกริ ิยาเคมีได้

ด้านคุณลักษณะ (A)

4. นกั เรยี นมีความรับผดิ ชอบต่องานที่ได้รบั มอบหมายและสามารถทำงานรว่ มกบั ผู้อ่ืนได้

2. หลักฐานการเรียนรู้

1. ใบรายผลการทำกิจกรรม เรื่อง การเขียนกราฟแสดงการเปลี่ยนแปลงปริมาณของสารที่ไม่ได้วัดใน

ปฏกิ ิรยิ าเคมี และการคำนวณอัตราการเกิดปฏกิ ริ ิยาเคมี-

19

3. กิจกรรมการเรียนรโู้ ดยใชก้ ระบวนการสืบเสาะแสวงหาความรู้ (5E) ขนั้ ท่ี 1 สร้างความสนใจ (Engagement) 1. นักเรียนศึกษากราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างปริมาตรของแก๊สไฮโดรเจนกับเวลาจากนั้นนักเรียน

ทบทวนความรู้เดมิ โดยตอบคำถาม ดงั นี้

- กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างปริมาตรของแก๊สไฮโดรเจนที่เกิดขึ้นกับเวลา

มีลักษณะเป็นอย่างไร (แนวคำตอบ คือ ในช่วงแรกเกิดขึ้นเร็วและค่อย ๆ ช้าลงเมื่อเวลาผ่านไป ซึ่งสัมพันธ์กับ

ความชันของกราฟระหวา่ งปริมาตร H2 กบั เวลา) - จากกราฟ สามารถแปลความหมายไดว้ ่าอย่างไร (แนวคำตอบ คอื ลักษณะของกราฟใน

ตอนแรกจะมีความชันมาก แสดงว่า ปฏิกิริยาเกิดได้เร็ว และเมื่อเวลาผ่านไปความชนั ของกราฟลดลง แสดงวา่

ปฏิกริ ยิ าเกดิ ข้นึ ได้ช้าลง)

- อตั ราการเกิดปฏกิ ิริยาเคมี สามารถหาได้จากวธิ กี ารใด (แนวคำตอบ คอื ปรมิ าณสารต้ัง

ตน้ ที่ลดลง หรือปรมิ าณสารผลติ ภัณฑท์ ่ีเกดิ ขน้ึ จากปฏิกิริยาใน 1 หนว่ ยเวลา)

ขนั้ ที่ 2 สำรวจค้นหา (Explore)

2. นกั เรยี นแต่ละกลุ่มและครรู ่วมกันอภิปรายความหมายของอตั ราการเปล่ียนแปลงปริมาณของสารโดย

ใช้ตัวอย่างการดำเนินไปของปฏิกิริยาจาก A B และใช้รูป 8.1 ประกอบการอธิบาย และแสดงสมการ

คำนวณอตั ราการเปลยี่ นแปลงปรมิ าณของสารท้งั ท่เี ป็นสารต้งั ต้นและผลติ ภณั ฑ์ จนได้ข้อสรุป ดังน้ี

“อัตราการเปลี่ยนแปลงของสารเคมีมีค่าเป็นบวก (+) เสมอ แต่เนื่องจากอัตราการ เปลย่ี นแปลงปรมิ าณสารตัง้ ต้นมคี ่าเปน็ ลบ (-) ดงั น้นั ในสมการจงึ ต้องมเี คร่อื งหลายลบ ดังนี้

อตั ราการเปลี่ยนแปลงปริมาตรของสาร A = - ปรมิ าณของสาร A ท่ีเปล่ียนแปลงไป ระยะเวลาท่ีเกดิ ปฏกิ ิรยิ า ∆A \= - ∆t

20

-= A2- A1 t2- t1 ในทางกลบั กนั อัตราการเปลี่ยนแปลงปริมาณของสารผลิตภณั ฑจ์ ะมีค่าเพิม่ ขนึ้ เมอื่ ปฏิกริ ิยาเคมดี ำเนิน

ไป เขียนแสดงความสัมพนั ธไ์ ด้ดังน้ี

ปริมาณของสาร B ที่เปล่ยี นแปลงไป อตั ราการเปลยี่ นแปลงปรมิ าตรของสาร B = ระยะเวลาทีเ่ กิดปฏกิ ริ ิยา ∆B \= ∆t

\= B2- B1 ” t2- t1 3. นักเรียนศึกษาตัวอย่างปฏิกิริยาการสลายตัวของแก๊สไนโตรเจนไดออกไซด์ได้ผลิตภัณฑ์เป็นแก๊ส

ไนโตรเจนออกไซด์กบั แก๊สออกซเิ จน ซ่งึ มคี วามเขม้ ข้นของสารชนิดตา่ ง ๆ ในแตล่ ะชว่ งเวลาหนึง่ ๆ

ดังตาราง

เวลา (s) [NO2] (M) [NO] (M) [O2] (M)

0 4.00 x 10-3 0 0

100 2.83 x 10-3 1.18 x 10-3 0.59 x 10-3

240 2.00 x 10-3 2.00 x 10-3 1.00 x 10-3

320 1.72 x 10-3 2.28 x 10-3 1.14 x 10-3

500 1.30 x 10-3 2.70 x 10-3 1.35 x 10-3

780 0.94 x 10-3 3.06 x 10-3 1.53 x 10-3

1000 0.78 x 10-3 3.22 x 10-3 1.61 x 10-3

1500 0.55 x 10-3 3.46 x 10-3 1.73 x 10-3

2000 0.43 x 10-3 3.56 x 10-3 1.78 x 10-3

2500 0.32 x 10-3 3.67 x 10-3 1.83 x 10-3

4. นักเรียนศึกษาวิธีการคำนวณอัตราการเปลี่ยนแปลงปริมาณของแก๊สแต่ละชนิดในช่วงเวลา 0 – 100 วินาทีจากครู

5. นักเรียนแต่ละกลุ่มลงมือปฏิบัติกิจกรรม 8.2 การคำนวณอัตราการเปลี่ยนแปลงปริมาณของสารที่เวลา ต่าง ๆ โดยให้นักเรียนแต่ละกลุ่มส่งตัวแทนมาจับสลากช่วงเวลาท่ีจะทำการคำนวณอัตราการเปลี่ยนแปลงปริมาณ ของสาร ณ ช่วงเวลาที่กลุ่มตัวเองได้รับ จากนั้นแสดงการคำนวณลงในกระดาษที่ครูแจกให้ จากนั้นนักเรียนนำ คำตอบมาเขยี นท่ีหน้ากระดาน

21

ข้นั ที่ 3 อธิบายความรู้ (Explain) 6. นักเรยี นและครูรว่ มกนั อภิปรายผลการทำกจิ กรรม โดยใชค้ ำถามตอ่ ไปนี้ - อัตราการเปลีย่ นแปลงปริมาณของสารแตล่ ะชนดิ ในชว่ งเวลาเดียวกันมคี ่าเทา่ กันหรือไม่ (แนวคำตอบ คอื มที ั้งเท่ากันและไม่เทา่ กัน) - อัตราการเปลี่ยนแปลงปริมาณของสารใดบ้างที่มีค่าใกล้เคียงกัน (แนวคำตอบ คือ อัตราการ เปลีย่ นแปลงปริมาณของแก๊สไนโตรเจนไดออกไซด์กับแก๊สไนโตรเจนมอนอกไซด์) - จากกิจกรรมนี้ สามารถสรุปได้อย่างไร (แนวคำตอบ คือ จากการคำนวณพบว่า อัตราการ เปลี่ยนแปลงปริมาณของสารแต่ละชนิดในช่วงเวลาเดียวกันมีทั้งเท่ากันและไม่เท่ากัน โดยอัตราการ เปลี่ยนแปลงปริมาณของแก๊สไนโตรเจนไดออกไซด์มีค่าใกล้เคียงกับแก๊สไนโตรเจนมอนอกไซด์ และมีค่า มากกว่าแกส๊ ออกซิเจนประมาณ 2 เทา่ ) 7. นักเรียนพิจารณาเลขสัมประสิทธิ์จำนวนโมลหน้าสมการปฏิกิริยาการสลายตัวของแก๊สไนโตรเจนได ออกไซด์ จากนั้นถามว่า “จากปฏิกิริยาปริมาณสารที่เปลี่ยนแปลงไปจะมีความสัมพันธ์กับเลขสัมประสิทธิ์ใน สมการท่ีดลุ แลว้ หรอื ไม่ (แนวคำตอบ คอื ขน้ึ อยู่กับผู้เรยี น)” 8. นกั เรยี นทุกกลุ่มนําข้อมูลทก่ี ลมุ่ ตัวเองคาํ นวณไดจ้ ากการทำกจิ กรรม 8.2 หารดว้ ยเลขสัมประสทิ ธิ์ของ สารนั้นตามสมการ 2NO2(g) 2NO(g) + O2(g) จากนั้นให้นักเรียนออกมาเขียนคำตอบที่หน้ากระดาน จากนั้นครสู รุปว่า จากการนำเลขสมั ประสทิ ธิ์ของสารนัน้ มาหาร พบว่าอัตราการเปลี่ยนแปลงความเขม้ ข้นจะมี ค่าเทา่ กันในชว่ งเวลาเดยี วกนั ซึ่งอัตราท่ีเทา่ กันน้ีเรยี กวา่ อัตราการเกดิ ปฏิกิริยาเคมี ขั้นที่ 4 ขยายความเขา้ ใจ (Elaborate) 9. นักเรียนรับความรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับความสัมพันธ์ของอัตราการเปลี่ยนแปลงปริมาณของ NO2 NO และ O2 เพื่อนําเข้าสู่การคำนวณหาอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีแล้วใช้ตัวอย่าง 1 อธิบายประกอบการคํานวณ เกี่ยวกบั อัตราการเกิดปฏิกริ ิยาเคมีตามรายละเอียดในหนงั สอื เรียน 10. นกั เรยี นตอบคำถามตรวจสอบความเข้าใจหนา้ 67 ลงในสมดุ 11. นกั เรียนรับความรู้เพิม่ เตมิ เกีย่ วกับความหมายของอัตราการเกิดปฏิกริ ยิ าเคมีเฉล่ีย โดยเน้นให้เห็นว่า เป็นอัตราการเปลีย่ นแปลงปรมิ าณของสารจากจุดเริ่มต้นจนถงึ จุดส้ินสดุ ในช่วงเวลาที่กำหนด ซึ่งอาจเปน็ ตั้งแต่ เริ่มต้นจนสิ้นสุดปฏิกิริยาเคมีหรือในแต่ละช่วงเวลาก็ได้จากนั้นอธิบายเกี่ยวกับการคำนวณอัตราการ เกิดปฏิกิริยาเคมี ณ ขณะหนึ่ง โดยใช้รูป 8.2 ประกอบการอธิบาย โดยชี้ประเด็นให้นักเรียนเห็นว่าในการหา อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี ณ ขณะหนึ่ง จะหาจากค่าความชันของกราฟหารด้วยเลขสัมประสิทธิ์ของสารใน สมการเคมี 12. นักเรียนและครูอภิปรายเพิ่มเติมเกี่ยวกับค่าความชันของกราฟว่า การลากเส้นสัมผัสของกราฟนั้น ไม่ วา่ จะลากเสน้ สมั ผัสยาวเท่าใดก็จะได้ความชันเท่ากันเสมอ เน่ือง

22

จากเป็นการหาความชันของเส้นตรงเส้นเดียวกัน ทั้งนี้นักเรียนอาจหาอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี ณ ขณะหนึ่งได้ แตกต่างกันเนอื่ งจากลากเสน้ สัมผสั กราฟที่มีความชันแตกต่างกนั

ขนั้ ที่ 5 ตรวจสอบผล (Evaluate) 13. นักเรียนลงมือทำกิจกรรม 8.3 เพื่อเขียนกราฟแสดงการเปลี่ยนแปลงปริมาณอื่นที่ไม่ได้วัดใน ปฏิกิริยาเคมีพร้อมทั้งคำนวณอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีลงในใบรายผลการทำกิจกรรมที่ 8.3การเขียนกราฟ แสดงการเปล่ยี นแปลงปรมิ าณของสารท่ไี มไ่ ด้วดั ในปฏกิ ริ ิยาเคมี และการคำนวณอตั ราการเกิดปฏิกริ ิยาเคมี 14. นักเรยี นสรปุ ส่ิงท่ีไดเ้ รียนรู้ เกย่ี วกบั การคำนวณอัตราการเปดิ ปฏกิ ริ ยิ าเคมีลงในสมดุ 4. ส่อื การเรียนรู้ / แหลง่ การเรยี นรู้ 4.1 ส่ือการเรียนรู้ 1. หนงั สอื เรยี นรายวิชาวทิ ยาศาสตรเ์ พิม่ เตมิ เคมี เลม่ 3 สสวท. (ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้ัน พน้ื ฐาน พ.ศ. 2551 ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560) 4.2 แหลง่ การเรยี นรู้ 1. ห้องสมุด 2. ห้องคอมพวิ เตอร์

23

5. การวดั และการประเมินผล

จดุ ประสงค์ วิธวี ัด เครื่องมอื เกณฑก์ ารประเมิน ได้คะแนนร้อยละ 70 ดา้ นความรู้ (K) ขน้ึ ไป

1. นักเรียนสามารถเปรียบ -การตอบคำถาม -ข้อคำถาม ไดค้ ะแนนรอ้ ยละ 70 ข้ึนไป เทียบอัตราการเปลี่ยนแปลง -ต ร ว จ ก ิ จ ก ร ร ม -กิจกรรมตรวจสอบความ -ไดค้ ะแนนในระดบั ปริมาณของสารแต่ละชนิดใน ตรวจสอบความเขา้ ใจ เขา้ ใจ 3 (ด)ี ขนึ้ ไป

แต่ละชว่ งเวลาได้

ด้านทักษะ/กระบวนการ (P)

2. นักเรียนสามารถคำนวณ -การตอบคำถาม -ข้อคำถาม

อัตราการเกิดปฏิกิริยาของสาร

แต่ละชนิดที่เวลาเดียวกันหรือ

แตกต่างกันได้

3. นักเรียนสามารถเขียนกราฟ -ตรวจกิจกรรม -กจิ กรรมตรวจสอบความ

การลดลงหรือเพิ่มขึ้นของสารท่ี ตรวจสอบความเขา้ ใจ เขา้ ใจ

ไม่ได้วดั ในปฏกิ ริ ิยาเคมไี ด้

ดา้ นคณุ ลักษณะ (A)

4. นักเรียนมคี วามรบั ผดิ ชอบ -การสังเกต -แบบประเมินคุณลักษณะ

ต่องานท่ีได้รับมอบหมายและ อันพงึ ประสงค์

สามารถทำงานร่วมกับผู้อืน่ ได้

24

25

แบบสังเกตพฤติกรรมนักเรียน เพอื่ การประเมนิ คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์

คำชี้แจง การบนั ทกึ ใหท้ ำเครอ่ื งหมาย / ลงในช่องท่ตี รงกบั พฤติกรรมท่เี กิดขนึ้ จรงิ

เลข พฤติกรรมการแสดงออก

ที่ มีวนิ ยั ใฝ่เรียนรู้ มงุ่ มั่นในการทำงาน คะแนน ผลการประเมิน

321032103210

1/ / / 9 ดีเย่ยี ม

2/ / / 9 ดีเยย่ี ม

3/ / / 9 ดเี ยย่ี ม

4 / / / 3 ผ่าน

5 / / / 6 ดเี ยีย่ ม

6 / / / 6 ดเี ยี่ยม

7/ / / 9 ดีเยี่ยม

8/ / / 9 ดีเยี่ยม

9/ / / 9 ดเี ยี่ยม

10 / / / 9 ดเี ยี่ยม

11 / / / 9 ดเี ยี่ยม

12 / / 9 ดีเยี่ยม

13 / / / 9 ดเี ยย่ี ม

14 / / / 9 ดีเยย่ี ม

15 / / / 9 ดีเยย่ี ม

16 / / / 9 ดีเยย่ี ม

17 / / / 9 ดเี ยย่ี ม

18 / / / 9 ดเี ยย่ี ม

19 / / / 9 ดเี ยี่ยม

20 / / / 6 ดีเยี่ยม

21 / / / 9 ดีเยี่ยม

22 / / / 9 ดเี ยี่ยม

23 / / / 9 ดเี ยี่ยม

24 / / / 9 ดเี ยย่ี ม

25 / / / 6 ดี

26 / / / 9 ดีเยี่ยม

26

เลข พฤติกรรมการแสดงออก

ท่ี มวี ินยั ใฝเ่ รียนรู้ มงุ่ มั่นในการทำงาน คะแนน ผลการประเมิน

321032103210

27 / / / 6 ดี

28 / / / 9 ดเี ย่ยี ม

29 / / / 6 ดี

30 / / / 9 ดีเยี่ยม

31 / / / 6 ดี

32 / / / 9 ดีเยีย่ ม

33 / / / 9 ดเี ยีย่ ม

34 / / / 3 ผา่ น

35 / / / 3 ผ่าน

ลงชอ่ื ................................................ผปู้ ระเมนิ (นางสาวพิชญา คำพรมมา)

27

เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน

มวี ินยั = ปฏิบัติตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อบังคับของครอบครัวและโรงเรียน ตรงตอ่ เวลาในการปฏบิ ตั ิกจิ กรรมต่าง ๆ ในชีวติ ประจำวนั และรับผิดชอบในการทำงาน ใฝ่เรยี นรู้ = แสวงหาข้อมูลจากแหล่งการเรียนรู้ต่าง ๆ มีการจดบันทึกความรู้อย่างเป็นระบบ สรุป ความรูไ้ ดอ้ ยา่ งมเี หตุผล มงุ่ มนั่ ใน = มคี วามตงั้ ใจและพยายามในการทำงานท่ไี ด้รับมอบหมาย มีความอดทนและไม่ การทำงาน ท้อแท้ตอ่ อุปสรรคเพือ่ ใหง้ านสำเร็จ

หมายเหตุ : ปฏบิ ัติหรอื แสดงพฤตกิ รรมอย่างสมำ่ เสมอ ให้ 3 คะแนน ปฏบิ ตั หิ รือแสดงพฤตกิ รรมอยา่ งบอ่ ยครงั้ ให้ 2 คะแนน ปฏบิ ตั ิหรือแสดงพฤตกิ รรมอยา่ งบางครง้ั ให้ 1 คะแนน ปฏบิ ัติหรอื แสดงพฤติกรรมอยา่ งน้อยครั้ง ให้ 0 คะแนน

เกณฑ์การตดั สินคณุ ภาพ

ระดบั ช่วงคะแนน คณุ ภาพ

ดเี ยย่ี ม ได้คะแนนรวมระหว่าง 7-9 คะแนน

ดี ได้คะแนนรวมระหวา่ ง 4-6 คะแนน

ผา่ น ได้คะแนนรวมระหว่าง 2-3 คะแนน

ไม่ผา่ น ได้คะแนนรวมระหว่าง 0-1 คะแนน

28

แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทดลอง

จดุ ประสงค์ : เพอ่ื วดั ความสามารถและทกั ษะในการปฏิบัติการทดลอง

………………………………………………………………………………………………………………………………………...

คำชี้แจง ให้กาเครื่องหมายถูก (√) ลงในช่องระดับคุณภาพ ที่ตรงกับระดับคุณภาพการปฏิบัตขิ องผู้เรียนตาม

แบบบนั ทกึ รายงานการปฏบิ ตั ทิ กั ษะการทดลอง

รายการท่ปี ระเมนิ ระดบั คุณภาพ 4321

1. เลือกใช้เครอื่ งมอื และอปุ กรณ์การทดลองได้อย่างถูกต้อง /

2. ตรวจเช็คเคร่ืองมือและอปุ กรณ์การทดลองก่อนการทดลอง /

3. ใช้เครื่องมือและอุปกรณ์การทดลองได้อย่างถูกต้องตรงตาม /

ประเภทของงาน

4. ปฏิบัติตามข้นั ตอนการทดลองได้อย่างถูกต้อง /

5. ผลการทดลองมีความถกู ต้องชัดเจน /

6. ปฏิบัติการทดลองไดแ้ ลว้ เสรจ็ ภายในเวลาที่กำหนด /

7. ทำความสะอาดเครื่องมือและอุปกรณ์การทดลองภายหลัง /

สิน้ สดุ การทดลอง

8. มกี ารบันทกึ ผลการทดลองทถี่ ูกตอ้ งและชดั เจน /

9. สรปุ และอภิปรายผลการทดลองได้อยา่ งถกู ตอ้ งและเหมาะสม /

10. มีการรายงานผลการทดลอง /

รวมคะแนน 34 ดมี าก

เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน เกณฑก์ ารตัดสนิ คณุ ภาพ

ปฏบิ ัติการทดลองถกู ตอ้ ง ครบถ้วน = 4 คะแนน ชว่ งคะแนน ระดับคุณภาพ ปฏบิ ัติการทดลองยังมีขอ้ บกพร่องเล็กน้อย = 3 คะแนน 31 - 40 ดมี าก ปฏิบตั ิการทดลองมขี ้อบกพร่องเปน็ สว่ นใหญ่ = 2 คะแนน 21 - 30 ดี ปฏบิ ัติการทดลองมขี ้อบกพร่องมาก = 1 คะแนน 11 - 20 พอใช้ 1 – 10 ปรับปรงุ

29

ภาคผนวก

30

กำรเขียนกรำฟแสดงกำรเปลี่ยนแปลงปริมำณของสำรทีไ่ มไ่ ดว้ ดั ในปฏิกิรยิ ำเคมี และ คำนวณอตั รำกำรเกิดปฏิกิริยำเคมี

ชอื่ ผูร้ ายงาน............................................................................................เลขท่ี...............ช้นั ...............

จดุ ประสงค์การทดลอง........................................................................................................................................ ..............................................................................................................................................................................

คำนวณความเข้มข้นของสารอื่นๆ ในปฏิกริ ิยาเคมจี ากความสัมพนั ธ์ของเลขสัมประสิทธใิ์ นสมการเคมี

เวลา (s) [A] (M) [B] (M) [C] (M)

0 100 200 300 400 500 600 กราฟแสดงการเปลย่ี นแปลงของสารท่ไี ม่ไดว้ ดั ในปฏิกิรยิ าเคมี (สารAและสารB)

31

แสดงวธิ ีการคำนวณอตั ราการเกดิ ปฏิกริ ิยาเคมใี นช่วง 0-600 จากสาร A

.............................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................ .............................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ...................................................................................................................................... ........................................ .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. . ..............................................................................................................................................................................

แสดงวิธีการคำนวณอตั ราการเกดิ ปฏกิ ริ ยิ าเคมีในช่วง 340 จากสาร B

............................................................................................................................................... ............................... .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ..................................................................................................................................... ......................................... .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ..............................................................................................................................................................................

32

แผนการจดั การเรียนร้ทู ี่ 11

กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนโคกคอนวิทยาคม ภาคเรยี นท่ี 1 ปีกาศกึ ษา 2565 รายวชิ า เคมี 3 ว 32223 ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 5 เวลาเรยี น 3 ชว่ั โมง หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 8 เรือ่ ง แนวคิดเก่ยี วกบั การเกดิ ปฏกิ ิรยิ าเคมี ผูส้ อน นางสาวพิชญา คำพรมมา

สอนวนั ที่ .......... เดือน .................................. พ.ศ. ..............

1. เป้าหมายการเรยี นรู้

1.1 สาระวทิ ยาศาสตร์เพิ่มเติม/ผลการเรยี นรู้

สาระเคมี 2

เข้าใจการเขียนและการดุลสมการเคมี ปริมาณสัมพันธ์ในปฏิกิริยาเคมี อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี

สมดุลในปฏิกิริยาเคมี สมบัติและปฏิกิริยาของกรด-เบส ปฏิกิริยารีดอกซ์และเซลล์เคมีไฟฟ้า รวมทั้งการนำ

ความรู้ไปใชป้ ระโยชน์

ผลการเรยี นรู้

1. เขียนแผนภาพ และอธิบายทิศทางการชนกันของอนุภาคและพลังงานที่ส่งผลต่ออัตราการ

เกิดปฏกิ ริ ยิ าเคมี

1.2 จดุ เน้นทตี่ ้องการพฒั นาผูเ้ รยี นตามชว่ งวยั

ทกั ษะการเรียนร้ใู นศตวรรษที่ ทักษะการคดิ คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ 21

- - 1. มวี นิ ัย

2. ใฝเ่ รียนรู้

3. มงุ่ ม่ันในการทำงาน

1.3 ความคดิ รวบยอด

นักวิทยาศาสตร์เชื่อว่าในการเกิดปฏิกิริยาเคมี อนุภาคของสาตั้งต้นซึ่งอาจเป็นโมเลกุล อะตอมหรือ ไอออนจะต้องชนกัน ถ้าการชนกันทกุ คร้ังทำให้เกิดปฏิกริ ยิ าเคมี จะเป็นผลใหป้ ฏิกิรยิ าเคมเี กดิ ข้ึนอย่างรวดเร็ว แต่จากการทดลองพบว่าการชนกันของอนุภาค ไม่สามารถทำให้เกิดปฏิกิริยาเคมีได้ทุกครั้ง มีเพียงบางครั้ง เทา่ น้นั ท่ีมปี ฏกิ ริ ยิ าเคมเี กดิ ขน้ึ

ในการเกิดปฏิกิริยาเคมีจะมีพลังงานเข้ามาเกี่ยวข้องคือพลังงานก่อกัมมันต์ คือ (พลังงานกระตุ้น = Activation energy) ย่อว่า Ea คือ พลังงานจำนวนน้อยที่สุดที่เกิดจากการชนของอนุภาคของสารตั้งต้น แล้วทำให้เกดิ ปฏกิ ิรยิ าเคมี ใช้หนว่ ยเป็น kJ/mol หรือ kcal/mol มลี ักษณะสำคัญคอื 1) ปฏกิ ริ ยิ าเคมที ่ีต่าง

33

ชนิดกันพลังงานก่อกัมมันต์ต่างกัน 2) ปฏิกิริยาที่มีพลังงานก่อกัมมันต์ต่ำปฏิกิริยาจะเกิดง่ายหรือเร็วกว่า ปฏกิ ริ ิยาทมี่ ีพลังงานก่อกมั มันต์สูง 3) พลงั งานก่อกมั มันต์ไม่เกีย่ วข้องกบั อัตราการเกิดปฏิกิริยา คือ ปฏิกิริยาที่ มีพลังงานก่อกัมมันต์ต่ำปฏิกิริยานั้นอาจจะมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเร็วหรือสูงก็ได้ 4) พลังงานก่อกัมมันต์ไม่ เกย่ี วขอ้ งกบั พลังงานของปฏิกริ ยิ า

1.4 สาระการเรยี นรู้ 1. แนวคดิ เก่ยี วกบั การเกิดปฏกิ ิรยิ าเคมี

1.5 จุดประสงค์การเรยี นรู้ หลังจบกจิ กรรมการจัดการเรียนรู้ นักเรยี นสามารถ ดา้ นความรู้ (K) 1. นักเรยี นสามารถอธบิ ายแนวคดิ เก่ียวกบั อัตราการเกิดปฏิกิรยิ าเคมโี ดยใชท้ ฤษฎีการชนได้ 2. นักเรียนสามารถแปลความหมายจากกราฟแสดงการเปลี่ยนแปลงพลงั งานกับการดำเนินไปของ

ปฏกิ ิรยิ า และระบไุ ด้วา่ เป็นปฏิกริ ยิ าประเภทดดู พลงั งานหรือคายพลงั งานได้ ดา้ นทักษะ/กระบวนการ (P) 3. นักเรียนสามารถเขียนแผนภาพนำเสนอทฤษฎีการชนในการเกิดปฏกิ ิรยิ าเคมไี ด้ 4. นักเรยี นสามารถหาค่าพลังงานท่ีดดู กลืน พลงั งานท่ีคายออก และพลงั งานรวมของปฏิกิริยาจาก

กราฟได้ ด้านคุณลกั ษณะ (A) 3. นกั เรยี นมคี วามรบั ผดิ ชอบต่องานทไี่ ด้รับมอบหมายและสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้

2. หลกั ฐานการเรียนรู้ 1. ใบรายผลการทำกิจกรรม เรื่อง การเขียนกราฟแสดงการเปลี่ยนแปลงปริมาณของสารที่ไม่ได้วัดใน

ปฏิกิริยาเคมี และการคำนวณอตั ราการเกดิ ปฏกิ ิรยิ าเคมี 3. กจิ กรรมการเรยี นรโู้ ดยใช้กระบวนการสบื เสาะแสวงหาความรู้ (5E)

ข้นั ที่ 1 สร้างความสนใจ (Engagement) 1.นักเรยี นและครูอธบิ ายและทบทวนความรูเ้ ดมิ เกีย่ วกบั ทฤษฎจี ลน์ของแก๊ส ทว่ี ่า “แก๊สมอี นุภาค

ที่อยู่ไม่เป็นระเบียบและมีการเคลื่อนที่ตลอดเวลา โมเลกุลของแก๊สเคลื่อนที่อย่างรวดเร็วในแนวเส้นตรง เป็น อิสระด้วยอัตราเร็วคงที่และไม่เป็นระเบียบจนกระทั่งชนกับโมเลกุลอื่นหรือช นกับผนังภาชนะจึงจะเปลี่ยน ทศิ ทางและอัตราเรว็ ”

2. จากนั้นนักเรียนตอบคำถามนำว่า การชนกันของอนุภาคสารตั้งต้นสามารถนำไปสู่การเกิด ผลติ ภณั ฑไ์ ด้หรือไม่ และมผี ลตอ่ อตั ราการเกดิ ปฏิกิริยาเคมีอยา่ งไร (แนวคำตอบ คอื ขึ้นอยกู่ บั ผูเ้ รียน)

34

ขนั้ ท่ี 2 สำรวจคน้ หา (Explore)

3. นักเรียนศึกษาเกี่ยวกบั ผลการชนกันของรถยนต์ ระหว่างการชนกันทีม่ ีความเร็วสูงและการชน

กันของรถยนต์ที่ขับช้า ๆ แล้วเปรียบเทียบผลกระทบที่เกิดขึ้นจากนั้นให้นักเรียนศึกษาทฤษฎีการชนของแก๊ส

แลว้ เปรยี บเทียบกบั การชนของรถยนต์ว่าเหมอื นหรือแตกตา่ งกันอยา่ งไร

4. หลังจากศึกษาทฤษฎีการชนของแก๊สแล้ว ให้นักเรียนวิเคราะห์ว่าการชนกันของอนุภาคของ

แก๊สส่งผลใหเ้ กดิ ปฏกิ ริ ิยาเคมีขน้ึ ทุกคร้งั ทีเ่ กิดการชนหรอื ไม่

5. นักเรียนพิจารณาปฏิกิริยาระกว่างแก๊สไนโตรเจนมอนอกไซด์ กับแก๊สไนโตรเจนไตรออกไซด์

ไดผ้ ลติ ภณั ฑ์เป็นแก๊สไนโตรเจนไดออกไซด์ ดงั สมการเคมี

NO(g)+ NO3(g) 2NO2(g)

ปฏิกิริยาเคมจี ะเกิดขึน้ ได้โมเลกุลของ NO กับ NO3 ตอ้ งมีการชนกนั โดยอาจจัดตวั ขณะชนกันได้ดงั รปู 8.3

กระทู้ที่เกี่ยวข้อง

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

แปลภาษาไทย ไทยแปลอังกฤษ โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน lmyour แปลภาษา ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv แปลภาษาอาหรับ-ไทย แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip แอพแปลภาษาอาหรับเป็นไทย ค้นหา ประวัติ นามสกุล ห่อหมกฮวกไปฝากป้า หนังเต็มเรื่อง ไทยแปลอังกฤษ ประโยค Terjemahan เมอร์ซี่ อาร์สยาม ล่าสุด แปลภาษาจีน กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น ่้แปลภาษา Google Translate ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย พร บ ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 วิธีใช้มิเตอร์วัดไฟดิจิตอล สหกรณ์ออมทรัพย์กรมส่งเสริมการปกครอง ส่วนท้องถิ่น ห่อหมกฮวก แปลว่า Bahasa Thailand Thailand translate mu-x มือสอง รถบ้าน การวัดกระแสไฟฟ้า ด้วย แอมมิเตอร์ การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 4 ก่อนจะนิ่งก็ต้องกลิ้งมาก่อน เนื้อเพลง ก่อนจะนิ่งก็ต้องกลิ้งมาก่อน แคปชั่น พจนานุกรมศัพท์ทหาร ภูมิอากาศ มีอะไรบ้าง สถาบันพัฒนาบุคลากรท้องถิ่น อาจารย์ ตจต อเวนเจอร์ส ทั้งหมด เขียน อาหรับ แปลไทย ใบรับรอง กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน Google map Spirited Away 2 spirited away ดูได้ที่ไหน tor คือ จัดซื้อจัดจ้าง กินยาคุมกี่วัน ถึง ปล่อยในได้ ธาตุทองซาวด์เนื้อเพลง บช.สอท.ตำรวจไซเบอร์ ล่าสุด บบบย มิติวิญญาณมหัศจรรย์ ตอนจบ รหัสจังหวัด อําเภอ ตําบล ศัพท์ทางทหาร military words สอบ O หยน