กระบวนการ ใน การ สรรหา ม ก ข น ตอน

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) กระบวนการสรรหาผู้บริหารมหาวิทยาลัยของสภามหาวิทยาลัยของรัฐในประเทศไทย และ 2) ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อประสิทธิผลในการสรรหาผู้บริหารมหาวิทยาลัยของสภามหาวิทยาลัยของรัฐในประเทศไทย การวิจัยครั้งนี้เป็นวิจัยเชิงคุณภาพรูปแบบกรณีศึกษาพหุกรณี รวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์เชิงลึกผู้ให้ข้อมูลสำคัญจำนวน 43 คน ใช้วิธีการคัดเลือกแบบเจาะจง ประกอบด้วย กรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิ กรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้แทนคณาจารย์ ประธานสภาคณาจารย์ อาจารย์และเจ้าหน้าที่สำนักงานสภามหาวิทยาลัย ของหน่วยงานที่เลือกศึกษาวิจัย ได้แก่ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และมหาวิทยาลัยขอนแก่น ทำการวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การวิเคราะห์เนื้อหา

ผลการวิจัยพบว่า 1) กระบวนการสรรหาผู้บริหารมหาวิทยาลัย ประกอบด้วย 5 ขั้นตอน คือ (1) การแต่งตั้งคณะกรรมการสรรหา (2) กำหนดคุณสมบัติผู้เข้ารับการสรรหา (3) กำหนดวิธีการได้มาซึ่งรายชื่อผู้เข้ารับการสรรหา (4) คณะกรรมการสรรหาพิจารณากลั่นกรองรายชื่อและเสนอรายชื่อต่อสภามหาวิทยาลัย และ (5) สภามหาวิทยาลัยพิจารณาคัดเลือกผู้ที่เหมาะสม และ 2) ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อประสิทธิผลในการสรรหาผู้บริหารมหาวิทยาลัย ประกอบด้วย (1) องค์ประกอบของคณะกรรมการสรรหา ทั้งองค์ประกอบของคณะกรรมการสรรหานายกสภามหาวิทยาลัย องค์ประกอบของคณะกรรมการสรรหากรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิ และองค์ประกอบของคณะกรรมการสรรหาอธิการบดี ควรมีสัดส่วนของตัวแทนในหลาย ๆ กลุ่มเพื่อป้องกัน พิทักษ์ และรักษาผลประโยชน์ของมหาวิทยาลัยร่วมกัน อย่างไรก็ตาม องค์ประกอบของคณะกรรมการสรรหาที่มีความแตกต่างกันย่อมนำมาซึ่งประสิทธิผลในการสรรหาผู้บริหารมหาวิทยาลัยที่แตกต่างกัน (2) การมีส่วนร่วมของประชาคมมหาวิทยาลัยในกระบวนการสรรหา (3) หน่วยงานสนับสนุนการสรรหาผู้บริหาร (4) วัฒนธรรมการทำงาน และ (5) ทรัพยากรและทิศทางการพัฒนามหาวิทยาลัย

Downloads

Download data is not yet available.

Article Details

References

เกษม สุวรรณกุล. (2552). การรบริหารจัดการที่ดีมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐบาล. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

จูน เจริญเสียง และคณะ. (2563). ธรรมาภิบาลในการสรรหาแต่งตั้งกรรมการและผู้บริหารระดับสูงและการกำกับธรรมาภิบาลของสถาบันอุดมศึกษา: กรณีศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏและมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม.

ต่อพงศ์ กิตติยานุพงศ์. (2563). การปฏิรูปอุดมศึกษาไทยตามหลักการบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่: การปรับใช้ประสบการณ์ของประเทศเยอรมนีในประเทศไทย. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

ถนัด บุญชัย, อนุรักษ์ ปัญญานุวัฒน์, ชูชีพ พุทธประเสริฐ และประพันธ์ ธรรมไชย (2559). การกำกับดูแลมหาวิทยาลัยราชภัฏที่เหมาะสมโดยสภามหาวิทยาลัยราชภัฏ.วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยฟาร์อีสเทอร์น, 10(4), 19-34.

ทินพันธุ์ นาคะตะ. (2546). สภามหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ. ใน มหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐภายใต้ความรับผิดชอบต่อสังคมผู้รับบริการและประโยชน์สาธารณะ. กรุงเทพฯ: สำนักงานปลัดทบวงมหาวิทยาลัย.

ไทย ทิพย์สุวรรณกุล. (2561). ระบบการได้มาและการประเมินสภาสถาบันและผู้บริหารสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ. กรุงเทพฯ: สถาบันคลังสมองของชาติ.

บุญเชิด หนูอิ่ม. (2563). สถานภาพระบบโครงสร้างองค์กรและการดำเนินงานของสภามหาวิทยาลัยตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยบูรพา พ.ศ. 2550 ที่มีผลต่อธรรมาภิบาล. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 39(6), 21-34.

ปรีชา ช้างขวัญยืน. (2554). คุณธรรมจริยธรรมของสภามหาวิทยาลัย. กรุงเทพฯ: สถาบันคลังสมองของชาติ.

พีรเดช ทองอำไพ. (2559). ประมวลหลักสูตรธรรมาภิบาลเพื่อการพัฒนาอุดมศึกษา. กรุงเทพฯ: สถาบันคลังสมองของชาติ.

พีรสิทธิ์ คำนวณศิลป์ และธัชเฉลิม สุทธิพงษ์ประชา. (2559). พัฒนาการการบริหารรัฐของไทย: จากอดีตสู่อนาคต. ขอนแก่น: วิทยาลัยการปกครองท้องถิ่น มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

ภาวิช ทองโรจน์. (2553.). สภามหาวิทยาลัยกับหลักการบรรษัทภิบาล. กรุงเทพฯ: สภามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย.

รัตนะ บัวสนธ์. (2551). ธรรมาภิบาลของมหาวิทยาลัยของรัฐ: พหุกรณีศึกษา. วารสารวิจัยและวัดผลการ ศึกษา มหาวิทยาลัยบูรพา, 6(1), 47-67.

วิจิตร ศรีสอ้าน. (2554). การปฏิรูปสภามหาวิทยาลัย ปฏิรูปอุดมศึกษา. กรุงเทพฯ: สถาบันคลังสมองของชาติ.

สถาบันคลังสมองของชาติ. (2552). บทบรรณาธิการ. จดหมายข่าวธรรมาภิบาลมหาวิทยาลัย, 1(1), 2.

สุดสาคร สิงห์ทอง. (2560). ธรรมาภิบาลของผู้บริหารมหาวิทยาลัยในภาคใต้ของประเทศไทย. อินทนิลทักษิณสาร, 12(2), 131-158.

สำนักงานปลัดทบวงมหาวิทยาลัย. (2536). การพัฒนาระบบบริหารสถาบันอุดมศึกษาของรัฐที่มิใช่ส่วนราชการ. กรุงเทพฯ: สำนักงานปลัดทบวงมหาวิทยาลัย.

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2560). รายงานการวิจัยเรื่องประสิทธิภาพและการบริหารจัดการของมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ. กรุงเทพฯ: สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ.

สมหวัง พิธิยานุวัฒน์ และแทน พิธิยานุวัฒน์. (2556). การประเมินสภามหาวิทยาลัย. กรุงเทพฯ: สถาบันคลังสมองของชาติ.

Morse, J. M. & Field, P. A. (1995). Qualitative Research Methods for Health Professionals. Thousand Oaks: Sage Publications.

Patton, M. Q. (2002). Qualitative research and evaluation methods. (3rd ed.). CA: Thousand Oaks: Sage Publications.

Yin, R. K. (2013). Case study research: Design and methods. (5th ed.). Thousand Oaks, CA: Sage Publications.

กระบวนการสรรหามีกี่ขั้นตอน

1. จัดทำ Job Description. ... .

2. กำหนดทีมผู้สัมภาษณ์งาน ... .

3. เตรียมการสัมภาษณ์งาน ... .

4. ดำเนินการสัมภาษณ์งานอย่างมืออาชีพ ... .

5. อธิบายรายละเอียดงานให้ชัดเจน ... .

6. สื่อสารอย่างมืออาชีพ ... .

7. คัดเลือกผู้สมัครงาน ... .

8. รับเข้าทำงาน.

กระบวนการคัดเลือกพนักงานใหม่ต้องมีขั้นตอนอะไรบ้าง

กระบวนการคัดเลือกพนักงานใหม่.

การรับผู้สมัคร (Reception of Applicants).

การสัมภาษณ์เบื้องต้น (Preliminary Interview).

การให้กรอกใบสมัคร (Application Blank).

การทดสอบ (Employment Tests).

การสัมภาษณ์ (Interview).

การตรวจสอบคุณสมบัติพื้นฐาน (Background Investigation).

หลักการสำคัญของการสรรหาบุคลากรขององค์การมีอะไรบ้าง

หลักการสรรหาบุคลากรขององค์การ คือ ระบบการกลั่นกรองบุคลากรในขั้นต้น เริ่มจากเงื่อนไขการประกาศรับสมัคร ได้แก่ คุณสมบัติ คุณวุฒิการศึกษา และประสบการณ์การทำงาน และการคัดเลือกจากการสอบคัดเลือก ได้แก่ การสอบความรู้ทั้งภาคทฤษฎี และภาคปฏิบัติ ในขั้นสุดท้ายเป็นการสอบสัมภาษณ์ เพื่อคัดเลือกบุคลากร ที่มีความรู้ ความสามารถและ ...

วิธีการสรรหาทรัพยากรมนุษย์ มีกี่ประเภท

ประเภทของการสรรหาบุคลากร สามารถแบ่งได้ 2 ประเภท ดังนี้ 1. การสรรหาบุคลากรภายในองค์กร (Internal Recruitment) แหล่งทรัพยากรบุคคลอันดับแรกสุดที่เป็นตัวเลือกให้ฝ่าย HR สามารถเริ่มสรรหาได้ก่อนก็คือพนักงานภายในองค์กร 2. การสรรหาบุคลากรภายนอกองค์กร (External Recruitment)

กระทู้ที่เกี่ยวข้อง

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

แปลภาษาไทย ไทยแปลอังกฤษ โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน lmyour แปลภาษา ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv แปลภาษาอาหรับ-ไทย แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip แอพแปลภาษาอาหรับเป็นไทย ค้นหา ประวัติ นามสกุล ห่อหมกฮวกไปฝากป้า หนังเต็มเรื่อง ไทยแปลอังกฤษ ประโยค Terjemahan เมอร์ซี่ อาร์สยาม ล่าสุด แปลภาษาจีน กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น ่้แปลภาษา Google Translate ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย พร บ ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 วิธีใช้มิเตอร์วัดไฟดิจิตอล สหกรณ์ออมทรัพย์กรมส่งเสริมการปกครอง ส่วนท้องถิ่น ห่อหมกฮวก แปลว่า Bahasa Thailand Thailand translate mu-x มือสอง รถบ้าน การวัดกระแสไฟฟ้า ด้วย แอมมิเตอร์ การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 4 ก่อนจะนิ่งก็ต้องกลิ้งมาก่อน เนื้อเพลง ก่อนจะนิ่งก็ต้องกลิ้งมาก่อน แคปชั่น พจนานุกรมศัพท์ทหาร ภูมิอากาศ มีอะไรบ้าง สถาบันพัฒนาบุคลากรท้องถิ่น อาจารย์ ตจต อเวนเจอร์ส ทั้งหมด เขียน อาหรับ แปลไทย ใบรับรอง กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน Google map Spirited Away 2 spirited away ดูได้ที่ไหน tor คือ จัดซื้อจัดจ้าง กินยาคุมกี่วัน ถึง ปล่อยในได้ ธาตุทองซาวด์เนื้อเพลง บช.สอท.ตำรวจไซเบอร์ ล่าสุด บบบย มิติวิญญาณมหัศจรรย์ ตอนจบ รหัสจังหวัด อําเภอ ตําบล ศัพท์ทางทหาร military words สอบ O หยน