2024 ทำไม bacteria จ งเป นส งช ว ตท อย รอด

บนโลกเราเมื่ออุณหภูมิถึงจุดเยือกแข็ง(0°C)มีหิมะตก ทั้งคนและสัตว์ก็ยังดำรงชีวิตได้ตามปกติ เช่นในเขตประเทศโซนอบอุ่นโซนหนาวที่มีสัตว์นานาสปีชีส์อาศัยอยู่อย่างหลายสายพันธุ์ แม้กระทั่งอุณหภูมิลดต่ำไปถึง -40°C ก็ยังมีคนและสัตว์ทนอยู่ได้ แต่เมื่ออุณหภูมิถึงจุดเดือด(100°C) แทบไม่มีสิ่งมีชีวิตชนิดไหนสามารถทนอยู่ได้ ยกเว้นแต่พวกแบคทีเรียในน้ำพุมั๊ง แต่ก็มีน้อยมาก จะว่าไปบนโลกเราหาบริเวณที่มีอุณหภูมิสูงกว่า 50°C ค่อนข้างยาก ส่วนใหญ่จะเจอที่ทะเลทราย แต่บริเวณที่มีอุณหภูมิต่ำกว่า -50°C สามารถพบได้ทุกปีที่ขั้วโลก จากสถิติอุณหภูมิสูงสุดของโลก 58°C ที่ทะเลทรายสะฮารา ต่ำสุด -88°C ที่ขั้วโลกใต้ ก็เลยสงสัยว่าทำไมอุณหภูมิของโลกสามารเข้าใกล้จุดเยือกแข็ง 0°C ได้มากกว่าเข้าใกล้จุดเดือด(100°C) เข้าใจว่าอุณหภูมิมันวัดมาจากสถานะของน้ำ

โพรไบโอติก คือจุลินทรีย์มีชีวิตขนาดเล็กที่อาศัยอยู่ในร่างกาย ช่วยป้องกันหรือบรรเทาอาการเกี่ยวกับภาวะในลำไส้ได้ มักพบมากในบริเวณระบบทางเดินอาหาร จุลินทรีย์ชนิดนี้ทนทานต่อกรดและด่าง และนับเป็นจุลินทรีย์ประเภทที่มีประโยชน์ ทำหน้าที่คล้ายกับเกราะที่ยึดเกาะอยู่กับเยื่อบุลำไส้ คอยสร้างสารออกมาช่วยกำจัดจุลินทรีย์ชนิดอื่นๆ ได้ หากมีในปริมาณที่เพียงพอจะมีส่วนช่วยในการดูดซึมสารอาหาร สังเคราะห์วิตามินที่จำเป็นต่อร่างกาย และยังช่วยปรับภูมิคุ้มกันในร่างกายให้สมดุลได้อีกด้วย

โพรไบโอติก vs พรีไบโอติก เหมือนกันหรือไม่?

โพรไบโอติก (Probiotic) คือ

จุลินทรีย์ขนาดเล็ก นับเป็นจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ พบได้ในระบบทางเดินอาหาร อีกทั้งยังมีส่วนช่วยรักษาสมดุลในลำไส้ และป้องกันอาการผิดปกติต่างๆ ของลำไส้ได้อีกด้วย

พรีไบโอติก (Prebiotic) คือ

ใยอาหารที่พบมากในหัวหอม กระเทียม ถั่วเหลือง ถั่วแดง หรือไฟเบอร์ในผัก ผลไม้ต่างๆ ซึ่งร่างกายไม่สามารถย่อยและดูดซึมได้ แต่เป็นแหล่งอาหารสำคัญของโพรไบโอติก เรียกว่าจุดไหนที่มีพรีไบโอติกเยอะ จุลินทรีย์โพรไบโอติกก็จะเยอะตามไปด้วยนั่นเอง

แม้ว่าชื่อจะแตกต่างกัน แต่ทั้งโพรไบโอติกและพรีไบโอติกนั้นต่างทำงานสนับสนุนซึ่งกันและกัน หากร่างกายมีพรีไบโอติกหรือได้รับพรีไบโอติกจำนวนที่มากพอก็จะไปช่วยส่งเสริมการทำงานของโพรไบโอติกให้มีประสิทธิภาพขึ้นได้

โพรไบโอติก ช่วยอะไร?

โพรไบโอติกที่เรารู้จักกันเบื้องต้นนั้น มีคุณสมบัติและประโยชน์ที่แตกต่างกันออกไป ได้แก่

  • • ช่วยกระตุ้นระบบย่อยและระบบขับถ่าย ด้วยแลคโตบาซิลลัส (Lactobacillus) จุลินทรีย์ในกลุ่มโพรไบโอติกที่พบได้ตามธรรมชาติโดยเฉพาะบริเวณทางเดินอาหาร
  • • ช่วยกระตุ้นภูมิกันคุ้มกันต่างๆ ในร่างกาย
  • • ช่วยสร้างเอนไซม์ที่กระตุ้นการย่อยอาหาร
  • • ช่วยลดอาการอักเสบต่างๆ เช่น อาการอักเสบในช่องคลอด อาการอักเสบทางเดินปัสสาวะ
  • • ช่วยยับยั้งจุลินทรีย์และเชื้อบางชนิด

ไมโครไบโอม ชุมชนจุลินทรีย์ดูแลทางเดินอาหาร ที่ไม่ควรละเลย

อย่างที่รู้กันไปแล้วว่า หนึ่งในเรื่องสุขภาพที่โพรไบโอติกช่วยดูแล คือเรื่องของการย่อยอาหาร ซึ่งเป็นส่วนที่เกี่ยวข้องกับระบบทางเดินอาหาร โดยในระบบทางเดินอาหารนั้น อวัยวะสำคัญที่เกี่ยวข้องกับระบบนี้ ได้แก่ กระเพาะอาหาร ตับอ่อน และตับ

นอกจากนี้ ในระบบทางเดินอาหารยังมีจุลินทรีย์หลายล้านล้านตัว รวมตัวกันเป็นชุมชนที่เรียกว่า ไมโครไบโอม เข้ามาช่วยให้ร่างกายของเราสามารถแยกแยะจุลินทรีย์ที่ดี และสารต่างๆ ในร่างกายเราอย่างปลอดภัย ส่งผลอย่างมากต่อการย่อยอาหารและภูมิคุ้มกัน โดยสามารถแบ่งออกได้เป็น จุลินทรีย์ที่ดี และจุลินทรีย์ที่ไม่ดี

จุลินทรีย์ที่ดี มีหน้าที่สร้างกรด เพิ่มชั้นป้องกันให้กับลำไส้ ช่วยให้การย่อยอาหารทำงานได้ดี อีกทั้งยับยั้งการเติบโตของเชื้อโรคที่มากับทางอาหาร กำจัดจำนวนเชื้อโรคในลำไส้ให้ลดลง

จุลินทรีย์ไม่ดี เกิดจากโภชนาการ การบริโภคอาหารที่ไม่ดี รวมไปถึงสภาวะจิตใจ ความเครียด พฤติกรรมการพักผ่อนที่ไ่ม่เพียงพอ ส่งผลให้การทำงานของไมโครไบโอมบกพร่อง มีผลต่อสุขภาพและความแข็งแรงของระบบทางเดินอาหารได้

เมื่อสูญเสียสมดุลระหว่างจุลินทรีย์ดีและไม่ดี

อาจทำให้ไมโครไบโอมของคุณมีจุลินทรีย์ชนิดที่ไม่ดีมากเกินไป ส่งผลให้มีแก๊สเกิน ท้องอืด และท้องเสีย ซึ่งไม่ใช่เรื่องดีสำหรับคุณ

ซึ่งการเลือกกินพรีไบโอติกที่ดีนั้น จะช่วยสนับสนุนการทำงานของไมโครไบโอม ทำให้ระบบทางเดินอาหาร และการทำงานของลำไส้ให้สามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ

โพรไบโอติกมีแบบไหนบ้าง?

หลักๆ แล้ว โพรไบโอติกจะถูกแบ่งออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่ โพรไบโอติกธรรมชาติ และโพรไบโอติกในรูปแบบอาหารเสริม แล้วแตกต่างกันอย่างไร? แบบไหนถึงจะดี? ไปดูกัน

โพรไบโอติกแบบธรรมชาติ

โพรไบโอติกธรรมชาตินั้นสามารถพบได้ทั่วไปจากอาหารในชีวิตประจำวัน ซึ่งอาหารบางชนิดนั้นเราสามารถหาซื้อได้ง่ายตามท้องตลาด เช่น

  • • นมเปรี้ยว
  • • โยเกิร์ต
  • • อาหารหมักดอง
  • • ดาร์กช็อคโกแลต
  • • ชีสบางประเภท
  • • เทมเป้
  • • ชาหมัก
  • • ถั่วเน่า
  • • แอปเปิ้ลไซเดอร์
  • • ซุปมิโซะ

โพรไบโอติกแบบอาหารเสริม1

หากคุณต้องการรับโพรไบโอติกในปริมาณที่เพียงพอต่อร่างกายที่จะได้รับในแต่ละวัน การกินโพรไบโอติกแบบอาหารเสริมนับเป็นอีกหนึ่งทางเลือกที่สะดวก อีกทั้งยังมีหลากหลายรูปแบบให้คุณเลือกสรรได้ตามความต้องการ ไปดูกันว่ามีรูปแบบอะไรบ้างที่น่าสนใจ

โพรไบโอติกแบบผง

โพรไบโอติกแบบผง เป็นโพรไบโอติกที่ได้รับความนิยมมากในปัจจุบัน เพราะปริมาณต่อโดสที่เยอะทำให้ได้รับจุลินทรีย์ในปริมาณที่เหมาะกับความต้องการของร่างกาย โดยเฉพาะคนที่ต้องการจุลินทรีย์สายพันธุ์ Lactobacillus และ Bifidobacterium เป็นหลัก เพราะเป็นสายพันธุ์ที่สามารถทนต่อความเป็นกรดในกระเพาะอาหารได้ดี ข้อควรระวังคือ ต้องนำเจ้าจุลินทรีย์โพรไบโอติกแบบผงไปชงดื่มในน้ำเย็นหรือน้ำอุณหภูมิห้องเท่านั้น เพื่อให้จุลินทรีย์ยังคงประสิทธิภาพเต็มที่ แต่ก็อาจมีบางชนิดที่สามารถกินได้เลยโดยไม่ต้องทำการละลายน้ำก่อน

โพรไบโอติกแบบเม็ด

โพรไบโอติกในรูปแบบเม็ดทานง่าย เหมาะกับการบรรจุจุลินทรีย์สายพันธุ์ที่ไม่ทนต่อความเป็นกรดในกระเพาะอาหาร แต่อาจได้รับปริมาณจุลินทรีย์ที่น้อยกว่าแบบผง หากโพรไบโอติกแบบเม็ดนั้นมีขนาดบรรจุที่เล็กกว่า

โพรไบโอติกแบบเยลลี่

โพรไบโอติกแบบนี้ อาจจะเหมาะเป็นอาหารเสริมสำหรับเด็กๆ ที่ไม่ค่อยชอบทานผักผลไม้ นมเปรี้ยว หรือโยเกิร์ต แต่ ณ ปัจจุบัน อาจจะมีแบรนด์ให้เลือกได้อย่างจำกัดในท้องตลาด

จะเห็นได้ว่า มีอาหารเสริมโพรไบโอติกหลากหลายรูปแบบให้เลือกกิน ซึ่งแบบไหนจะดีที่สุดนั้น ขึ้นอยู่กับสายพันธุ์โพรไบโอติกที่ต้องการได้รับ และปริมาณโพรไบโอติกที่ต้องการ โดยจำนวนโพรไบโอติกมีชีวิตที่ร่างกายต้องการในแต่ละวันนั้น อยู่ที่ 100-1,000 ล้านตัว ผลิตภัณฑ์ส่วนใหญ่ จึงมักทำมาในปริมาณที่มากกว่านั้นหลายเท่า เพื่อส่งจุลินทรีย์ให้มีชีวิตรอดไปถึงลำไส้ในปริมาณที่เหมาะสม

1Source:

โพรไบโอติกสายพันธุ์ไหนใช่ที่สุด!

โพรไบโอติกแต่ละสายพันธุ์ ก็ให้ประโยชน์ที่ต่างกันไป การรู้ชื่อและคุณสมบัติของสายพันธุ์จุลินทรีย์ก่อนจะเลือกโพรไบโอติกมาเสริมการทำงานของร่างกายจึงมีความสำคัญมาก นอกจากนี้ ปริมาณที่เหมาะสมของสายพันธุ์ที่ถูกต้องยังเป็นสิ่งสำคัญ ผลิตภัณฑ์โพรไบโอติกที่ดีจึงควรให้ความสำคัญกับคุณภาพมากกว่าปริมาณ

Bifidobacterium animalis ssp. lactis HN019

  • เป็นจุลินทรีย์ดีของสายพันธุ์โพรไบโอติกที่ทนต่อน้ำดีและกรดทางเดินอาหาร เข้ามาช่วยเพิ่มจำนวนจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ในทางเดินอาหารมากยิ่งขึ้น เป็นหนึ่งในสายพันธุ์โพรไบโอติกที่มีการศึกษาและผลทางคลินิกรองรับสูงถึงประโยชน์ในการช่วยระบบย่อยอาหารและทางเดินอาหารโดยรวม

Lactobacillus acidophilus NCFM™

  • อีกหนึ่งสายพันธุ์ของโพรไบโอติกที่ได้รับรองจากผลการศึกษาและผลทางคลินิกเรื่องประโยชน์ที่จะช่วยในระบบย่อยและทางเดินอาหาร สายพันธุ์นี้จะเน้นช่วยบรรเทาอาการท้องผู้ที่เกิดขึ้นเป็นครั้งคราว โดยเฉพาะอย่างยิ่งในวัยสูงอายุ

Lactobacillus paracasei Lpc-37

  • เป็นสายพันธุ์จุลินทรีย์ที่เข้ามาช่วยสนับสนุนจุลินทรีย์ตัว Bifidobacterium animalis ssp. lactis HN019 และ Lactobacillus acidophilus NCFM™ มีคุณสมบัติทนน้ำดีและกรดในทางเดินอาหารได้ เข้ามาช่วยให้ลำไส้ทำงานได้ดียิ่งขึ้น

Lactobacillus acidophilus La-14

  • เป็นสายพันธุ์จุลินทรีย์ที่เข้ามาช่วยสนับสนุนการทำงานและประโยชน์ของจุลินทรีย์ Bifidobacterium lactis HN019 และ Lactobacillus acidophilus NCFM™ ในลำไส้ ช่วยให้ระบบทางเดินอาหารทำงานได้ดียิ่งขึ้น

Bifidobacterium animalis ssp. lactis BI-04

  • สายพันธุ์จุลินทรีย์ที่เข้ามาช่วยฟื้นฟูไมโครไบโอมในลำไส้ มีคุณสมบัติยึดเกาะผนังลำไส้อย่างดีเยี่ยม

โพรไบโอติกจะส่งจุลินทรีย์ไปสนับสนุนไมโครไบโอมยังไง?

ARRIVE ALIVE

เทคโนโลยีนำส่งสิ่งมีชีวิตถึงที่หมาย

ด้วยการคัดเลือกเฉพาะ เพื่อนำจุลินทรีย์ที่มีความแข็งแรง สามารถทนต่อสภาวะในกระเพาะอาหาร เข้าถึงลำไส้ได้ในขณะที่ตัวจุลินทรีย์ยังมีชีวิต ช่วยเสริมการทำงานของจุลินทรีย์ท้องถิ่นได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ

STICK TO THE GUT

ยึดเกาะกับผนังลำไส้

นอกจากทนทานสูงแล้ว จุลินทรีย์ที่คัดเลือกมายังมีความสามารถเกาะผนังลำไส้ได้อย่างดี สามารถเสริมประสิทธิภาพการทำงานของจุลินทรีย์ท้องถิ่นได้อย่างต่อเนื่อง

GOOD BACTERIA

จุลินทรีย์ดี

ผลิตภัณฑ์โพรไบโอติก คือส่วนหนึ่งที่ช่วยเสริมสมดุลจุลินทรีย์ที่ดีในลำไส้ ช่วยส่งเสริมสุขภาพระบบย่อยอาหารและทางเดินอาหารให้แข็งแรง รักษาสุขภาพของร่างกายได้อย่างมีประสิทธิภาพ

การบริโภคผลิตภัณฑ์โพรไบโอติกอย่างต่อเนื่องในทุกวันช่วยส่งเสริมการย่อยอาหารและการขับถ่ายที่เป็นปกติสำหรับทุกคนในครอบครัว

กินโพรไบโอติกตอนไหน ให้ได้ผลสูงสุด?

โพรไบโอติกควรกินตอนไหนจึงจะได้รับประโยชน์อย่างมีประสิทธิภาพ อีกทั้งยังปลอดภัยมากที่สุด?

โพรไบโอติก กินตอนไหน?2

โพรไบโอติกนั้นควรกินก่อนอาหารเล็กน้อยหรือพร้อมมื้ออาหาร เพื่อให้จุลินทรีย์โพรไบโอติกถูกส่งผ่านไปยังลำไส้ในขณะย่อยอาหาร แต่สิ่งสำคัญกว่าเรื่องเวลาคือความบ่อยครั้งในการรับโพรไบโอติกเข้าสู่ร่างกาย ดังนั้น ควรเติมจุลินทรีย์โพรไบโอติกให้กับร่างกายในเวลาเดิมทุกๆ วัน เป็นประจำ เพื่อให้ได้ประโยชน์สูงสุด

ควรกินโพรไบโอติกเยอะแค่ไหนต่อวัน?

ปริมาณที่พอเหมาะสำหรับการกินอาหารเสริมโพรไบโอติกจะอยู่ที่ 100-1,000 ล้านตัวต่อวัน หรือ 5,000 ล้าน CFU ต่อ 1.5 กรัม (หน่วยปริมาณจุลินทรีย์ที่อยู่ในผลิตภัณฑ์บริโภค) เป็นอย่างน้อย ในกรณีที่ได้รับโพรไบโอติกเกินจำนวนหรือมากจนเกินความจำเป็นต่อร่างกายในแต่ละวันก็สามารถส่งผลเสียต่อร่างกายได้ ไม่ว่าจะเป็น เวียนหัว ผื่นคัน แก๊สในกระเพาะอาหาร ดื้อยา เป็นต้น

2Source:

5 วิธีดูแลสุขภาพทางเดินอาหาร

การรักษาสมดุลที่เหมาะสมของจุลินทรีย์ในทางเดินอาหารสำคัญอย่างยิ่งต่อสุขภาพร่างกายและจิตใจ การย่อยอาหาร สุขภาพลำไส้ และระบบภูมิคุ้มกัน โดยคุณสามารถส่งเสริมสุขภาพทางเดินอาหารได้ดังต่อไปนี้

ควบคุมน้ำหนักตัวให้เหมาะสม

ลดการบริโภคน้ำตาล

เพิ่มผักและผลไม้

เพิ่มใยอาหาร คาร์โบไฮเดรตเชิงซ้อน และโปรตีนจากพืช

เพิ่มโพรไบโอติก

การกินโพรไบโอติกนับเป็นอีกหนึ่งทางเลือกสำหรับผู้ดูแลสุขภาพและผู้รักสุขภาพ เนื่องจากโพรไบโอติกมีคุณประโยชน์มากมายจากที่เกริ่นไว้ในเบื้องต้น อีกทั้งยังส่งผลดีต่อสุขภาพ นอกจากนั้นยังกินง่ายและหาซื้อได้ไม่ยาก แต่ทั้งนี้ก็จะต้องกินในปริมาณที่พอเหมาะและกินในระยะเวลาที่เหมาะสม เพื่อให้จุลินทรีย์โพรไบโอติกได้ทำงานอย่างมีประสิทธิภาพ

เพราะเหตุใดแบคทีเรียจึงเป็นสิ่งมีชีวิต

แบคทีเรีย เป็นสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวที่สามารถมีชีวิตอยู่ได้ด้วยตัวมันเอง เพราะสามารถสร้างอาหาร และสลายอาหารเป็นพลังงานเพื่อใช้ในเซลล์ได้ แบคทีเรียขยายพันธุ์ด้วยการแบ่งตัวทวีคูณ จากหนึ่งเซลล์เป็นสองเซลล์ จากสองเป็นสี่ จากสี่เป็นแปด เป็นอย่างนี้ต่อไปเรื่อยๆ โดยไม่จำเป็นต้องมีเพศผู้ เพศเมีย

ปัจจัยใดที่ทำให้แบคทีเรียตายในระยะ Death Phase

death phase แบคทีเรียจะมีการตายอย่างรวดเร็ว การตายเกิดเนื่องจากอาหารที่ใช้เลี้ยง เซลล์หมดไป และเกิดการสะสมของของเสียและสารพิษจากกระบวนการแมทาบอลิซึม Humber of Bacteria (log) G KHO Phase Log Phase wwwwww Stationary KLISTAINA.

ระยะการเจริญเติบโตของแบคทีเรียเป็นอย่างไร

การเจริญเติบโตของแบคทีเรียแบ่งเป็น 4 ระยะ คือ 1. Lag Phase : ระยะการปรับตัวให้เข้ากับอาหาร 2. Log Phase : ระยะเจริญเติบโต 3. Stationary Phase : ระยะอัตราการตาย เท่ากับอัตราการ เจริญ(death = growth rate) 4. Death Phase : ขาดอาหาร pH ลดลง

เชื้อแบคทีเรียกับเชื้อราเหมือนกันไหม

หากจะกล่าวถึงสิ่งมีชีวิตที่มีขนาดเล็กและให้ทั้งประโยชน์และโทษ หนึ่งในสิ่งที่คนเราจะนึกถึงนั้นคือ แบคทีเรียเป็นสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวขนาดเล็กที่เรามองไม่เห็นด้วยตาเปล่า เชื้อแบคทีเรียนั้นแตกต่างจากเชื้อราที่มีขนาดใหญ่กว่าและมีหลายเซลล์ และต่างจากเชื้อไวรัสที่เป็นเพียงสารพันธุกรรมซึ่งมีขนาดเล็กมาก แบคทีเรียชนิดที่ก่อโรค ...

กระทู้ที่เกี่ยวข้อง

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก

แปลภาษาไทย ไทยแปลอังกฤษ โปรแกรม-แปล-ภาษา-อังกฤษ พร้อม-คำ-อ่าน lmyour แปลภาษา ห่อหมกฮวกไปฝากป้าmv แปลภาษาอาหรับ-ไทย แปลภาษาอังกฤษเป็นไทย pantip แอพแปลภาษาอาหรับเป็นไทย ค้นหา ประวัติ นามสกุล ห่อหมกฮวกไปฝากป้า หนังเต็มเรื่อง ไทยแปลอังกฤษ ประโยค Terjemahan เมอร์ซี่ อาร์สยาม ล่าสุด แปลภาษาจีน กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น ่้แปลภาษา Google Translate ข้อสอบคณิตศาสตร์ พร้อมเฉลย พร บ ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 วิธีใช้มิเตอร์วัดไฟดิจิตอล สหกรณ์ออมทรัพย์กรมส่งเสริมการปกครอง ส่วนท้องถิ่น ห่อหมกฮวก แปลว่า Bahasa Thailand Thailand translate mu-x มือสอง รถบ้าน การวัดกระแสไฟฟ้า ด้วย แอมมิเตอร์ การ์ดแคปเตอร์ซากุระ ภาค 4 ก่อนจะนิ่งก็ต้องกลิ้งมาก่อน เนื้อเพลง ก่อนจะนิ่งก็ต้องกลิ้งมาก่อน แคปชั่น พจนานุกรมศัพท์ทหาร ภูมิอากาศ มีอะไรบ้าง สถาบันพัฒนาบุคลากรท้องถิ่น อาจารย์ ตจต อเวนเจอร์ส ทั้งหมด เขียน อาหรับ แปลไทย ใบรับรอง กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน Google map Spirited Away 2 spirited away ดูได้ที่ไหน tor คือ จัดซื้อจัดจ้าง กินยาคุมกี่วัน ถึง ปล่อยในได้ ธาตุทองซาวด์เนื้อเพลง บช.สอท.ตำรวจไซเบอร์ ล่าสุด บบบย มิติวิญญาณมหัศจรรย์ ตอนจบ รหัสจังหวัด อําเภอ ตําบล ศัพท์ทางทหาร military words สอบ O หยน